ผู้ที่ไปปกครองเมืองลูกหลวงคือใคร

          3. ��û�Ѻ��ا��û���ͧ��ǹ��ͧ��� ��кҷ���稾�Ш�Ũ���������������Ƿç�Ѵ����ա�ú����çҹ�Ҫ�����ǹ��ͧ�����ٻ�آ��Ժ�� �����˹�ҷ�������Ⱥ��㹻Ѩ�غѹ �����á����� �.�. 2440 ���ô����� ����� �.�.�.�آ��Ժ�š�ا෾� �.�. 116 (�.�. 2440) ��鹺ѧ�Ѻ��㹡�ا෾� �����������价���ҩ��� ��кҷ���稾�����خ���������������ô��������� �.�.�.�آ��Ժ�� �.�. 2448


��èѴ����º��û���ͧ������ظ��

��èѴ����º��û���ͧ���͡�� 3 ����
1. ������ظ�ҵ͹�� (�.�.1893-1991)
2. ������ظ�ҵ͹��ҧ (�.�.1991-2231)
3. ������ظ�ҵ͹���� (�.�. 2231-2310)
������ظ�ҵ͹���������¡���ҧ�ҡ�ҹ��û���ͧ �觡�û���ͧ�͡�� 2 ��ǹ
1. ��û���ͧ��ǹ��ҧ�����Ҫ�ҹջ���ͧẺ���ʴ��� ���ʹҺ�� 4 ���˹�
1.1 ���§ �բع���§�����˹�Ҵ��ŷء���آ�ͧ��ɮ�
1.2 �ѧ �բع�ѧ�����˹�� ���šԨ�����������Ǣ�ͧ�麾���Ҫ�ӹѡ��оԨ�ó�Ծҡ�Ҥ��
1.3 ��ѧ �բع��ѧ�����˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
1.4 �� �բع�������˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ������ǹ������ͧ
2.1 ���ͧ�١��ǧ�������ͧ˹�Ҵ�ҹ�����ͺ�Ҫ�ҹ� 4 ��� ��ҧ�ҡ�Ҫ�ҹ��������Թ�ҧ 2 �ѹ �����ҡ�ѵ�����觵�駾���Ҫ����������ҹ�ª���٧任���ͧ
2.2 ������ͧ���� ������ͧ�����������ͺ��й�� ���� ��Ҩչ���� �Ҫ���� ྪú��� ��� �բع�ҧ�ҡ���ͧ��ǧ任���ͧ
2.3 ������ͧ��鹹͡�������ͧ�������ҹ�� ���ͧ��Ҵ�˭�������ҧ�Ũҡ�Ҫ�ҹ�
2.4 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���Ҷ��µ����˹� 3 �յ�ͤ���

������ظ�ҵ͹��ҧ �������¡�û�Ѻ��ا��û���ͧ ���������¾�к�����š�Ҷ ��û�Ѻ��ا��û���ͧ �ִ��ѡ�������ӹҨ�������ٹ���ҧ ����ǹ�Ҫ����͡��
1. ��û���ͧ���ǹ��ҧ������ǹ�Ҫ�ҹ� �觡�û���ͧ�͡�� 2 ����
1.1 ���·��� �����ˡ����������˹�� ���ŷ��÷����Ҫ�ҳҨѡ�
1.2 ���¾����͹ �����˹�¡�����˹�� ����Ѻ�Դ�ͺ���ʴ��� 4 �������¹�������¡���� ��� ���§ �� ��ú��
�ѹ �� ����Ҹԡó�
�� �� �ɵ�Ҹ��Ҫ
��ѧ �� ��ҸԺ��

2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ �ô���¡��ԡ���ͧ�١��ǧ �Ѵ��û���ͧ�͡��
2.1 ������ͧ���� ����¹��������ͧ�ѵ�� �ռ�黡��ͧ��ͼ�����
2.2 ������ͧ��鹹͡ ����¹������ͧ��� �͡ � ��� ����ӴѺ�����Ӥѭ ��Т�Ҵ�ͧ���ͧ
2.3 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���ҵ����˹�

������ظ�ҵ͹���� �������¶�ǧ����ӹҨ ���������¾��ྷ�Ҫ� ���¹���ִẺ���ҧ��û���ͧẺ������稾�к�����š�Ҷ�ç��Ѻ��ا �������¡�ӹҨ���ˡ�����������˹�¡�������� ���
���ˡ����� - ����������ͧ�������������駷���繽��·�����о����͹
���˹�¡ - ����������ͧ�����˹�ͷ���������繽��·�����о����͹
�ٻẺ��û���ͧ�ͧ��ظ�� ������ͧ�Ҩ��֧�Ѫ��ŷ�� 5 �֧���ա�û���ٻ��û���ͧ��������


(����Ȣͧ��� � 204 ������԰ �Է���Ѱ ��Ф��)

พัฒนาการเมืองการปกครองของไทย 

การเมืองการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย
                     กรุงสุโขทัย เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อราว  พ.ศ. 1780  เมื่อ  พ่อขุนผาเมืองเจ้า เมืองราด  และพ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง ได้รวมกำลังกันขับไล่ขอมสมาดโขลญลำพงออกจากกรุงสุโขทัยได้สำเร็จและได้ปราบดาภิเษกพ่อขุนบางกลางหาว เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรสุโขทัย  ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์  นับเป็นกษัตริย์พระองค์แรก แห่งกรุงสุโขทัย และเป็นต้นราชวงศ์พระร่วง หรือราชวงศ์สุโขทัย
                    ในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กรุงสุโขทัยแม้จะเป็นอิสระแต่ก็มีอาณาเขตไม่กว้างขวางนัก จนมาถึงสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง  ทางทิศเหนือขยายขึ้นไปจนจดอาราจักรล้านนา  ทางทิศตะวันออกไป เมืองแพร่ น่าน เวียงจันทน์ เวียงคำ   ทิศตะวันตก ได้หัวเมืองมอญ  และด้านทิศใต้ขยายลงไปตลอดแหลมมลายู  พ่อขุนรามคำแหงมหาราช  ทรงสร้าง กรุงสุโขทัยให้เป็นปึกแผ่นเข้มแข็ง  มีการทำนุบำรุงวัฒนธรรมไทยด้านต่างๆ  ด้านการปกครองลูก โดยถือว่าผู้ปกครองเสมือนพ่อ ต้องให้ความคุ้มครอง ดูแลลูกที่อยู่ในปกครองให้มีความสุข และยุติธรรม การปกครองหัวเมือแยกเป็น เมืองลูกหลวง  เมืองพญามหานคร  และเมืองประเทศราช ซึ่งเป็นรูป  ของการปกครองแบบกระจายอำนาจ ทำให้บ้านเมืองเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
                     ในสมัยพระมหาธรรมราชาลิไท กรุงสุโขทัยมีความเจริญด้าน วัฒนธรรมและอารยธรรมสูงสุด  โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้าน พระพุทธศาสนา และศิลปกรรม  แต่ในทางการเมือง อำนาจของกรุงสุโขทัยเริ่มเสื่อมลง  ซึ่งการเสื่อมของกรุงสุโขทัย มีสาเหตุ ดังต่อไปนี้
                    1.)  การควบคุมหัวเมืองแบบกระจายอำนาจการปกครอง ทำให้หัวเมืองต่างๆ มีโอกาสสะสมกำลัง และตั้งตนเป็นอิสระ
                    2.)  การแย่งชิงราชสมบัติระหว่างเชื้อพระวงศ์ของกรุงสุโขทัย  ทำให้อำนาจปกครองอ่อนแอลง และเป็นเป้าหมายในการขยายอาณาเขต ของกรุงศรีอยุธยา
                    3.)  กรุงศรีอยุธยา ซึ่งสถาปนาขึ้นทางตอนใต้ เมื่อ พ.ศ. 1893 มีความเข้มแข็งมากขึ้น  สามารถขยายอาณาจักรออกไปได้อย่างกว้างขวาง ในพ.ศ. 1921  กรุงสุโขทัยยอมอ่อนน้อมต่อกรุงศรีสอยุธยา  และเมื่อถึง  พ.ศ. 1981  ก็ถูกผนวกเป็นอาณาจักรเดียวกันกับกรุงศรีอยุธยา
                        3.2   การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยามีความเป็นปึกแผ่นมากที่สุดในพุทธ ศตวรรษที่ 21  อาณาจักรแผ่ขยายอย่าง กว้างขวาง  ดังนี้   ทิศเหนือ    ขยายเข้าไปในดินแดนสุโขทัยและล้านนา  ทิศใต้ ขยายเข้าไปในดินแดนนครสรี ธรรมราชและมลาายู    ทิศตะวันออก   ขยายเข้าไปในดินแดนเขมรและดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยปัจจุบัน     ทิสตะวันตก ขยายเข้าไปใน ดินแดนมอญ

ความกว้างใหญ่ของกรุงศรีอยุธยา  ทำให้ลักษณะการเมืองการปกครองของกรุงศรีอยุธยาแตกต่างไปจากกรุงสุโขทัย  พอสรุปได้ดังนี้  กรุงศรีอยุธยาปกครองด้วยระบบราชาธิปไตยหรือที่เรียกว่า  ระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์  พระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ  แต่ทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตรและจักรวรรดิวัตร  แนวคิดเทวราชานี้กรุงศรีอยุธยาได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์  ส่วนการสืบสันติวงศ์ก็เป็นไปตามจารีตธรรมเนียม ประเพณี

รูปแบบการปกครอง
                     รูปแบบการปกครองของกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็น  3  สมัย  คือ
            1.  สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 - สมเด็จเจ้าสามพระยา  การปกครองของกรุงศรีอยุธยาสมัยนี้เป็นนแบบการกระจายอำนาจ แบ่งเขตการปกครองเป็น 4 เขต ดังนี้
                 1.1)  ราชธานี  ได้แก่ กรุงศรีอยุธยา  ปกครองแบบ จตุสดมภ์  หมายถึงหลักทั้ง 4  ได้แก่ เวียง  วัง  คลัง  นา
                 1.2 ) เมืองเล็กๆ ที่รายรอบราชธานี  เช่น นครนายกและปราจีนบุรี  ราชธานีจะส่งขุนนางไปปกครอง และขึ้นตรงต่อราชธานี
                 1.3)  เมืองต่างๆ  ในดินแดนแกนกลางของอาณาจักร  ซึ่งต่อมาคือเมือง ลูกหลวง ได้แก่  เมืองสุพรรณบุรี  ลพบุรี  สรรค์  และชัยนาท  ส่วนเมืองหลานหลวง ได้แก่ เมืองอินทบุรี  และพรหมบุรี  ผู้ที่จะปกครองเมืองเหล่านี้ขึ้นอยู่กับ ลักษณะเมือง  ถ้าเมืองไหนมีความสำคัญมาก  ราชธานีจะส่ง เจ้านายชั้นสูงไปปกครอง  เมืองลูกหลวงและหลานหลวงมีอำนาจในการปกครองตนเอง เกือบเป็นอิสระ
                 1.4)   เมืองประเทศราช  อยู่ถัดจากเมืองลูกหลวงและ หลานหลวงออกไป  ให้เจ้านายเชื้อสายเดิมปกครองแต่ต้องส่ง เครื่องราชบรรณาการ ให้กรุงศรีอยุธยา ตามที่กำหนดไว ้
             2. สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองใน  พ.ศ. 1998 รูปแบบการปกครองเป็นการรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง   ซึ่งพอสรุปสาระสำคัญของการปฏิรูป ได้ดังนี้
                  2.1  การปกครองส่วนกลาง  แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ
                            1)  กรมกลาโหมมีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่งสมุหพระกลาโหมซึ่งเป็นผู้ดูแลฝ่ายทหารทั้งหมด                             2)  กรมมหาดไทย มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่งสมุหนายกหรือตำแหน่งพระยาจักรีเป็นผู้ดูแลฝ่ายพลลเรือน และจตุสดมภ์ ทั้งหมด  นอกจากนี้ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เปลี่ยนชื่อจตุสดมภ์ทั้ง 4 ฝ่าย  คือ เวียง วัง คลัง นาเป้นนครบาลธรรมาธิกรณ์ โกษาธิบดี และเกษตราธิการ
                  2.2  การปกครองส่วนภูมิภาค  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ยกเลิกการปกครองแบบเมืองลูกหลวงหลานหลวง  ที่เคยใช้ในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนต้นเป็น ดังนี้
                           1)  หัวเมืองชั้นใน จัดเป็นเมืองจัตวามีผู้ปกครองเรียกว่า ผู้รั้ง เขตเมืองจัตวาได้แก่ ทิศเหนือจดชัยนาท ทิศตะวันออกจด ปราจีนบุรี  ทิศตะวันตก จดสุพรรณบุรี  และทิศใต้จดกุยบุรี
                           2)  หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร คือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนต้น  หัวเมืองชั้นนอกที่สำคัญ ได้แก่พิษณุโลก นครศรีธรรมราช สุโขทัย  และกำแพงเพชร  ผู้ปกครองเมืองเหล่านี้คือเข้านายหรือขุนนางจากกรุงศรีอยุธยา
                           3)  หัวเมืองประเทศราช คือเมืองต่างชาติต่างภาษา เช่น เขมร มอญ และมลายูให้เจ้านายเชื้อสายเดิมปกครองตนเอง
                              การปฏิรูปการเมืองการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถส่งผลให้กรุงศรีอยุธยากลายเป็นศูนย์กลางมีอำนาจ   ในการปกครองเมืองต่างๆ  เพิ่มมากขึ้นและทำให้เกิดระบบราชการที่มีขุนนางเป็นกลไกลที่สำคัญ
              3. สมัยสมเด็จพระเพทราชา - สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์   การปกครองในสมัยนี้ยึดตามแบบสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นส่วนใหญ่  แต่ในสมัยนี้ได้รวมทหารพลเรือนเข้าด้วยกัน  และให้สมุหพระกลาโหมดูแลการทหารและพลเรือนในหัวเมืองฝ่ายใต้ สมุหนายกดูแลการทหาร และพลเรือน ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ และพระคลังหรือโกษาธิบดีดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก
                   3.3  การเมืองการปกครองสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
          ชาวยุโรปเดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายและเผยแผ่ศาสนากับชาวเอเชียมาตั้งแต่ พุทธศตวรรษที่ 21   ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม  ทำให้ความต้องการสินค้าและตลาดการค้ามากขึ้น  พ่อค้าชาวโปรตุเกส  ฮอลันดา  ฝรั่งเศส  เดินทางมามีสัมพันธ์ไมตรีกับกรุงสยามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  ระยะนั้นชาติตะวันตกไม่ได้มุ่งที่จะยึดครองจนเป็นเมืองขึ้น  ลัทธิจักรวรรดินิยมหรือลัทธิ ล่าอาณานิคม  กลายเป็นนโยบายสำคัญของชาติตะวันตกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24  และประเทศต่างๆในทวีปเอเชียพากันได้รับผลกระทบรวมทั้งประเทศ ไทยด้วย
          ในรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 3)  อังกฤษ ฝรั่งเศส มีอำนาจมาก อังกฤษทำสงครามชนะพม่า  ชนะจีนในสงครามฝิ่น และขยายอิทธิพลเข้าไปในมลายู  โดยเจรจาขอให้ไทยยอมรับฐานะของอังกฤษในปีนัง  และขอแก้ไขการค้าที่ไทยผูกขาด  อยู่ต่อมาส่ง  ร.อ.เฮนรี่  จอห์นเบาริ่ง  เป็นผู้นำ  รัชกาลที่ 4  ทรงทราบสภาวการณ์ขณะนั้นและทรงพิจารณาอย่างรอบคอบจึงทรงเตรียมต้อนรับคณะทูตอย่างสมเกียรติ  การเจรจาบรรลุข้อตกลง เมื่อวันที่ 18  เมษายน  พ.ศ. 2398  สนธิสัญญาเบาริง มีสาระสำคัญสรุปว่า
         1.  ไทยกับอังกฤษจะเป็นมิตรต่อกัน
         2.  ไทยยอมให้อังกฤษตั้งสถานกงสุลในกรุงเทพฯได้
         3.  คนอังกฤษตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยได้ตามที่ต้องการ
         4. ให้เลิกภาษีปากเรือแล้วเก็บภาษีขาเข้าร้อยละ 3 แทน
         5. อังกฤษต้องได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ ที่ไทยให้แก่ประเทศอื่น
         6. สนธิสัญญานี้ไม่มีกำหนดเวลา
              ผลของสนธิสัญญานี้ทำให้ไทยต้องเปิดประตูการค้ากับยุโรป  อำนาจรัฐที่เคยผูกขาดการค้าหมดไปที่สำคัญคือ ไทยต้องสูญเสียสิทธิ ิสภาพนอกนอกอาณาเขตให้แก่อังกฤษ  ในระยะเวลาเดียวกันนี้ฝรั่งเศสก็เข้าไปมีอิทธิพลในเขมรจนไทยต้องยอมรับว่าเขมรอยู่ในอาณัติของฝรั่งเศส และยกเลิก ข้อตกลงที่ว่าเขมรเป็นเมืองขึ้นของไทย
            ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5)  อังกฤษผนวกพม่าเป็นของตน  ฝรั่งเศสขยายอำนาจเหนือดินแดนลาว  และเสนอให้ไทยเป็นรัฐกันชนระหว่างเมืองขึ้นของอังกฤษกับฝรั่งเศส  ระหว่างยึดดินแดนลาวเจ้าหน้าที่ไทยขัดขวาง  ฝรั่งเศสจึงส่งเรือรบมาปิดปากอ่าวไทย และเกิดสู้รบกัน  ฝรั่งเศสเรียกร้องขอดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง  ขอค่าปรับ 3 ล้านฟรังค์ และยึดจันทรบุรีไว้เป็นประกัน  ไทยไม่อาจต้านทานได้  รัชกาลที่ 5 จำต้องยอมรับข้อเรียกร้องโดยไม่มีเงื่อนไข  เรียกเหตุการณ์นี้ว่า  วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112  ทรงพยายามสร้างความมั่นคงให้ประเทศโดยเสด็จประพาสยุโรปเพื่อ ผูกมิตรไมตรีเพื่อแสดงท่าทีเป็นกลางโดยเคร่งครัด  จนนานาชาติสรรเสริญพระปรีชาสามารถและให้เกียรติไทยเสมอนานาอารยประเทศ  ยุโรปยุติความคิด จะยึดครองไทย  อย่างไรก็ตามไทยยังต้องสูญเสียดินแดนอีกในปี  พ.ศ. 2450  คือเสียพระตะบอง  เสียมราฐให้ฝรั่งเศส  และ พ.ศ. 2452 เสียกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี  ปะลิส ให้อังกฤษ  ประเทศไทยยังคงรักษาเอกราชไว้ได้  สาเหตุสำคัญเนื่องจาก
              1.  มีความมั่นคงภายในประเทศทั้งด้านกำลังทหาร  การเมือง  และเศรษฐกิจ
              2. พระมหากษัตริย์ทรงมีพระปรีชาสามารถ อาทิ รัชกาลที่ 3  มีพระปรีชาด้านการบริหาร  รัชกาลที่ 4 ทรงแตกฉาน วิทยาการของ ตะวันตก และทรงมีความสามารถทางการทูต รัชกาลที่ 5ทรงเป็นผู้นำคนรุ่นใหม่ที่ศึกษาวิทยาการตะวันตกและสามารถผูกมิตรกับตะวันตก ได้
              3. มหาอำนาจแข่งขันกันเอง โดยตกลงให้ไทยเป็นรัฐกันชนการคุกคามของจักวรรดินิยมตะวันตกทำให้ไทยปรับปรุง
  ประเทศครั้งใหญ่เพื่อให้ทันสมัย

การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินและพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
                       รัชกาลที่ 5  ทรงตั้ง สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน  ขึ้นในปี พ.ศ. 2417  เพื่อถวายคำปรึกษางานราชการแผ่นดินและยับยั้งหากพระมหากพระราช
ดำริของพระองค์ไม่เหมาะสม   และทรงตั้งสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ขึ้นด้วย  เรียกว่า  สภาองคมนตรี  ต่อมาได้มีกลุ่มบุคคลกราบบังคมทูลเสนอแนวคิด ประชาธิปไตยแบบตะวันตกและขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ  แต่ทรงพิจารณาว่าในขณะนั้นยังไม่เหมาะสม  การเปลี่ยนแปลงไม่อาจทำในทันทีได้  แต่ทรงมี ีพระราชดำริปรับปรุงการบริหารราชการแผ่นดินก่อน  ด้วยการยกเลิกการปกครองแบบจตุสดมภ์และหัวเมืองแบบเดิม  มาเป็นการจัดระเบียบบริหารราชการ แผ่นดินส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นแทน  โดย ส่วนกลาง  จัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม   ครั้งแรก มี 12 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย กลาโหม การต่างประเทศ  นครบาล  เกษตรพนิชการ  พระคลังมหาสมบัติ  วัง  ยุติธรรม  ยุทธนาธิการ  โยธาธิการ  ธรรมการ  และมุรธาธร    ส่วนภูมิภาค จัดปกครอง แบบเทศาภิบาล รวมหลายเมืองเป็นมณฑลแยกย่อยเป็นเมือง  อำเภอ  ตำบล  และหมู่บ้าน   ส่วนท้องถิ่น ทรงจัดตั้งสุขาภิบาลแห่งแรก ที่ตำบลท่าฉลอม  สมุทรสาคร  โดยให้กรรมการในท้องถิ่นรับผิดชอบกันเอง
                      ไทยได้รับอิทธิพลแนวความคิดแบบประชาธิปไตยจากตะวันตก มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 และได้มีการเรียกร้องให้กษัตริย์อยู่ภาใต้รัฐธรรมนูญ จากกลุ่ม ร.ศ. 103  ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเห็นว่าขณะนั้นยังไม่พร้อม ความคิดประชาธิปไตยนี้แพร่ขยายไปสู่ข้าราชการและสามัญชน  ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 6)  ก็ยังมิได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแต่ทรงสร้างเมืองจำลองดุสิตธานี  ขึ้นเพื่อทดลองรูปแบบประชาธิปไตย ต่อมาเกิดการ รวมตัวของทหารและพลเรือนเพื่อจะลดอำนาจกษัตริย์ และเปลี่ยนแปลงการปกครอง  คือ กลุ่ม ร.ศ. 130  แต่ถูกจับกุมก่อน  ระยะนี้หนังสือพิมพ์มีเสรีภาพมาก และเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2  ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ  ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 7  ความต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครองทวีความรุนแรงขึ้น  ทรงมีพระราชดำริ ิพระราชทานรัฐธรรมนูญ  แต่พระบรมวงศานุวงศ์คัดค้าน  ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภาขึ้นเป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์  สภาวะทางเศรษฐกิจตกต่ำทหให้ ต้องปลดข้าราชการออกและลดรายจ่ายส่วนพระองค์   ซึ่งไม่เป็นที่พอใจของราษฎรและเกิดการรวมตัวกันของ  คณะราษฎร  ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ  พลเรือน  ทหารบกและทหารเรือ   เมื่อวันที่  24  มิถุนายน  พ.ศ.  2475  คณะราษฎรได้เข้ายึดสถานที่สำคัญของราชการ แล้วประกาศเปลี่ยนแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย  มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎสูงสุดและพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ  การยึดอำนาจครั้งนี้ไม่มีการต่อต้าน  รัฐกาลที่ 7  ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้  และในวันที่ 27  มิถุนายน  2475  ทรงลงประปรมาภิไธย ใน พระราช บัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วชคราว  และทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบัยถาวร  เมื่อวันที่  10  ธันวาคม  พ.ศ. 2475  การเปลี่ยนแปลง ครั้งนี้ก่อให้เกิดระบบการเมืองแบบใหม่ที่มีรัฐสภาทำหน้าที่ฝ่านนิติบัญญัติ  คณะรัฐมนตรีทำหน้าที่  ฝ่ายบริหาร  และศาลทำหน้าที่ด้านตุลาการ

Ref : http://www.kr.ac.th/ebook/sunthon/b1.htm 19/02/2008

เมืองลูกหลวงหัวเมืองชั้นในผู้ปกครองคือใคร

หัวเมืองชั้นใน หมายถึง เมืองหน้าด่านที่ล้อมราชธานีไว้ทั้ง 4 ด้าน ใช้ระยะเวลาเดินทางจากราชธานี ภายในระยะเวลา 2 วัน หัวเมืองชั้นในเป็นเมืองที่มีความสำคัญโดยพระมหากษัตริย์จะส่ง “ลูกหลวงคือพระราชโอรสหรือขุนนางที่เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยไปปกครอง

เมืองลูกหลวงที่สําคัญสมัยกรุงสุโขทัย คือเมืองใด

1.3) เมืองต่างๆ ในดินแดนแกนกลางของอาณาจักร ซึ่งต่อมาคือเมือง ลูกหลวง ได้แก่ เมืองสุพรรณบุรี ลพบุรี สรรค์ และชัยนาท ส่วนเมืองหลานหลวง ได้แก่ เมืองอินทบุรี และพรหมบุรี ผู้ที่จะปกครองเมืองเหล่านี้ขึ้นอยู่กับ ลักษณะเมือง ถ้าเมืองไหนมีความสำคัญมาก ราชธานีจะส่ง เจ้านายชั้นสูงไปปกครอง เมืองลูกหลวงและหลานหลวงมีอำนาจในการปกครอง ...

ผู้มีคุณสมบัติที่จะปกครองเมืองพระยามหานคร คืออะไร

3. เมืองพระยามหานคร (หัวเมืองชั้นนอก) เป็นเมืองที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงออกไป พระมหาษัตริย์จะทรงแต่งตั้งขุนนางชั้นสูงหรือผู้ที่มีความสามารถไปปกครองดูแล เมืองพระยามหานครในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมีหลายเมือง เช่น เมืองพระบาง เมืองเชียงทอง เมืองบางพาน เมืองบางฉลัง เป็นต้น เมืองเหล่านี้มีลักษณะการปกครองเหมือนกับหัวเมืองชั้นใน

เมืองลูกหลวงมีลักษณะอย่างไร

3.2.1 เมืองลูกหลวง เมืองลูกหลวงนี้ บางทีก็ เรียกว่าเมืองอุปราชหรือเมืองหน้าด่าน โดยถือเอา ตาแหน่งของเจ้าผู้ปกครองเมืองนั้น ๆ เป็นสาคัญ เมืองใด ที่ผู้ปกครองเป็นอุปราช ซึ่งราชเป็นพระราชโอรสของ พระมหากษัตริย์ที่ปกครองกรุงสุโขทัย หรืออาจเป็นพระ เชษฐาหรือ พระอนุชาก็ได้ เรียกว่า เมืองอุปราช ส าหรับ เมืองที่ผู้ปกครองเป็นพระ ...