หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

ไม่ว่าใครก็อยากที่จะได้ครอบครัวที่สุขสันต์อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา แต่ใครจะไปรู้ว่าปัญหาครอบครัวมันจะเกิดขึ้นกับครอบครัวของตัวเอง เมื่อความสัมพันธ์ในชีวิตคู่มาถึงทางตัน แต่สิ่งที่พ่อแม่มักจะคิดหนักก็คงจะหนีไม่พ้นเรื่องลูกซึ่งมันไม่ง่ายเลยจริงไหมคะ

การหย้าร้างของพ่อแม่ ทำให้มีผลตามมาในหลายๆ อย่าง เช่นเดียวกับเรื่อง “นามสกุล” ซึ่งคุณแม่ๆ บางคนหลังจากจดทะเบียนหย่าแล้วก็อยากที่จะให้ลูกกลับมาใช้นามสกุลของตัวแม่เอง วันนี้ Parents One จะมาบอกวิธีและสิ่งที่ควรเตรียมพร้อมกันค่ะ

สามารถเปลี่ยนนามสกุลลูกให้กลับมาใช้นามสกุลแม่ได้ยังไงบ้าง

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

กรณีที่ 1 : ถ้าอำนาจปกครองบุตรอยู่ที่บิดา การขอใช้นามสกุลมารดา ต้องให้บิดายินยอมด้วยเช่นกัน

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

กรณีที่ 2 : ถ้าอำนาจปกครองบุตรอยู่ที่มารดา การขอใช้นามสกุลมารดาต้องได้รับการยื่นขอใช้นามสกุล ณ สำนักทะเบียนอำเภอหรือเขตที่บุตรของตนมีชื่ออยู่นั่นเอง

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

กรณีที่ 3 : หากบิดามีการให้ค่าเลี้ยงดูบุตรอยู่หลังจดทะเบียนหย่า แต่อำนาจปกครองเป็นของมารดาแต่เพียงผู้เดียว สามารถไปขอเปลี่ยนได้ทันทีที่สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอโดยไม่ต้องให้บิดาให้ความยินยอมค่ะ ที่สำคัญต้องนำใบหย่าติดตัวไปด้วยนะคะ

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

กรณีที่ 4 : หากไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่ในใบแจ้งเกิดมีชื่อบิดาเป็นพ่อของเด็กแต่ไม่สามารถติดต่อบิดาได้แล้ว ให้มารดาติดต่อพนักงานสอบสวนเพื่อออกเอกสารยืนยันว่าไม่สามารถติดตามตัวได้ เพื่อยื่นขอเปลี่ยนนามสกุลต่อไปนั่นเอง

เอกสารในการใช้ในการขอเปลี่ยนนามสกุลบุตร

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร

  1. สูติบัตรของบุตร
  2. สำเนาทะเบียนบ้านที่บุตรมีชื่ออยู่
  3. หลักฐานการจดทะเบียนหย่า
  4. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำขอ
  5. สำเนาทะเบียนบ้าน
  6. ใบสำคัญการเปลี่ยนชื่อสกุล (ขอที่เจ้าหน้าที่เพิ่มเติม)

แต่หากเด็กอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์แล้ว สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอเปลี่ยนนามสกุลได้ด้วยตนเองเลย สามารถตัดสินใจเองได้ว่าต้องการจะใช้นามสกุลพ่อหรือแม่ ไม่จำเป็นต้องดูว่าอำนาจปกครองนั้นอยู่ที่ใครค่ะ

ตอบข้อสงสัย หากหย่ากันแล้วอยากให้ลูกกลับมาใช้นามสกุลของแม่ หรือ ยังไม่จดทะเบียนแต่อยาก เปลี่ยนนามสกุลลูก จากเดิมเป็นนามสกุลพ่อให้กลับมาเป็นนามสกุลแม่ทำได้ไหม อย่างไร?

เปลี่ยนนามสกุลลูก กลับมาใช้นามสกุลของแม่ทำอย่างไร?

การ เปลี่ยนนามสกุลลูก จากเดิมที่ใช้นามสกุลของบิดาอยู่ ให้กลับมาใช้นามสกุลเดิมของมารดานั้น สามารถทำได้และไม่ใช่เรื่องยุ่งยาก ทีมงาน Amarin Baby & Kids จึงได้รวบรวมกรณีต่าง ๆ ในการ เปลี่ยนนามสกุลลูก และวิธีการเปลี่ยนดังต่อไปนี้

กรณีที่ 1 การเปลี่ยนนามสกุลลูกหลังจดทะเบียนหย่า

ในกรณีที่มีการจดทะเบียนสมรสกัน ต่อมาได้หย่าร้างกัน หลังจากจดทะเบียนหย่าแล้ว คุณแม่ต้องการเปลี่ยนนามสกุลลูกจากเดิมเป็นนามสกุลของบิดา ให้กลับมาเป็นนามสกุลเดิมของมารดา สามารถทำได้หรือไม่?

ตอบ  หากมีการหย่าต้องรู้ว่าอำนาจปกครองอยู่ที่ใคร

  • ถ้าอำนาจปกครองอยู่ที่บิดา การขอใช้นามสกุลมารดาก็ต้องให้บิดามาให้ความยินยอมด้วย
  • ถ้าอำนาจปกครองอยู่ที่มารดา การขอใช้นามสกุลของมารดาให้มารดายื่นขอใช้นามสกุลได้ ณ สำนักทะเบียนอำเภอ/เขต ที่บุตรมีชื่ออยู่
หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร
เปลี่ยนนามสกุล

กรณีที่ 2 การเปลี่ยนนามสกุลลูกหลังจดทะเบียนหย่า อำนาจปกครองบุตรเป็นของมารดา แต่บิดาสลักหลังให้ค่าเลี้ยงดูบุตรอยู่

ตอบ  กรณีที่บันทึกท้ายการหย่าระบุให้มารดามีอำนาจปกครองบุตรแต่ผู้เดียวนั้น มารดาสามารถไปติดต่อสำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอใกล้บ้านเพื่อขอเปลี่ยนนามสกุลบุตรได้ทันที โดยไม่ต้องให้บิดาเด็กให้ความยินยอมแต่อย่างใด และไม่ต้องสนใจว่าบิดาเด็กจะส่งเสียเลี้ยงดูบุตรอยู่หรือไม่ ในวันไปเปลี่ยนควรนำใบหย่าติดตัวไปด้วย 

กรณีที่ 3 การเปลี่ยนนามสกุลลูกในกรณีที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ในใบเกิดมีชื่อบิดาเป็นพ่อของเด็ก แต่ติดต่อบิดาไม่ได้แล้ว

ตอบ หากติดต่อไม่ได้แนะนำให้เข้าพบพนักงานสอบสวนเพื่อออกเอกสารยืนยันว่าไม่สามารถติดตามตัวได้ เพื่อยื่นขอเปลี่ยนนามสกุลต่อไป

 

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

Amarin Baby & Kids

 

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร
เปลี่ยนนามสกุลลูก

เอกสารที่ใช้ในการเปลี่ยนนามสกุลลูก

เอกสารที่ใช้ในการขอเปลี่ยนนามสกุลบุตร ได้แก่

  1. สูติบัตรของบุตร
  2. สำเนาทะเบียนบ้านที่บุตรมีชื่ออยู่
  3. หลักฐานการจดทะเบียนหย่า
  4. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำขอ
  5. สำเนาทะเบียนบ้าน
  6. ใบสำคัญการเปลี่ยนชื่อสกุล (ช.2) หรือใบเปลี่ยนชื่อสกุล (ช.5) หรือบันทึกข้อตกลงในการใช้ชื่อสกุล โดยให้นำใบเกิดของลูกไปยืนยันตัวตนกับเจ้าหน้าที่เพิ่มเติม

ค่าธรรมเนียม : ฉบับละ 100 บาท กรณีการออกใบแทน  ฉบับละ 25 บาท

ยื่นคำร้องได้ที่ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตที่ผู้ยื่นคำขอมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

หนังสือยินยอม เปลี่ยน นามสกุล บุตร
เปลี่ยนนามสกุลบุตร

เอกสารที่ใช้ในการขอเปลี่ยนนามสกุล (ภรรยา) ในกรณีสิ้นสุดการสมรส

เอกสารที่ใช้ในการขอเปลี่ยนนามสกุล กรณีสิ้นสุดการสมรส ได้แก่

  1. บัตรประจำตัวประชาชนผู้ยื่นคำขอ
  2. สำเนาทะเบียนบ้าน
  3. บันทึกข้อตกลงการใช้ชื่อสกุล กรณีคู่สมรสประสงค์จะใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่ง หรือหลักฐานสิ้นสุดการสมรส หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น สูติบัตร, สำเนาทะเบียนรับบุตรบุญธรรม, สำเนาทะเบียน  รับรองบุตร ฯลฯ

ค่าธรรมเนียม

  1. การเปลี่ยนชื่อสกุลครั้งแรกเมื่อจดทะเบียนสมรส ไม่เสียค่าธรรมเนียม
  2. การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะการสมรสสิ้นสุด ไม่เสียค่าธรรมเนียม
  3. การเปลี่ยนชื่อสกุลภายหลังการจดทะเบียนสมรสครั้งต่อๆ ไป ฉบับละ 50 บาท
  4. การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะเหตุอื่นๆ ฉบับละ 100 บาท

ยื่นคำร้องได้ที่ฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตที่ผู้ยื่นคำขอมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

และสำหรับกรณีที่บุตรบรรลุนิติภาวะแล้ว คืออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ สามารถตัดสินใจได้เองว่าต้องการที่จะใช้นามสกุลพ่อหรือแม่ จึงสามารถยื่นคำร้องเพื่อขอเปลี่ยนนามสกุลได้ด้วยตนเองเลย ไม่จำเป็นต้องดูว่าอำนาจการปกครองอยู่ที่ใคร

อ่านต่อบทความดี ๆ คลิก

แจ้งเกิดลูก ไม่มีพ่อ ไม่ระบุชื่อพ่อได้ไหม? อนาคตจะมีปัญหาหรือไม่?

8 เคล็ดลับ สู่การเป็น Single Momอย่างมืออาชีพ!

คุณแม่ควรรู้ไว้!! ประโยชน์ของ ทะเบียนสมรส ที่คุณอาจไม่เคยรู้

ไม่จดทะเบียนสมรส ลูกเป็นของใคร ถ้าพ่อแม่เลิกกัน?

 

ขอบคุณข้อมูลจาก : สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, www.decha.com, สำนักงานเขตบางกะปิ, ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐฯ สายด่วน 1111

 

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

Amarin Baby & Kids

ครอบครัว สิทธิประโยชน์เพื่อครอบครัว

เปลี่ยนนามสกุล เปลี่ยนนามสกุล กลับไปใช้นามสกุลเดิม เปลี่ยนนามสกุลบุตร เปลี่ยนนามสกุลลูก เอกสารเปลี่ยนนามสกุลลูก