หน่วย การ เรียน รู้ ที่ 3 บทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

            บทบาทสำคัญของรัฐบาล คือ การช่วยเหลือประชาชนในประเทศจัดการแก้ไขปัญหาภาวะความขาดแคลน เสริมสร้างกลไกตลาดในการจัดการทรัพยากรที่มีจำกัดให้ทั่วถึง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

           ตัวชี้วัด

                    ส 3.2 ม.3/1 อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ

          จุดประสงค์การเรียนรู้

                   1. นักเรียนสามารถบอกบทบาทหน้าที่การพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาลได้อย่างถูกต้อง

                   2. นักเรียนสามารถใช้กระบวนการกลุ่มวิเคราะห์บทบาทการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ของรัฐบาลได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล

                   3. นักเรียนตระหนักถึงประโยชน์และความสำคัญจากการพัฒนาประเทศของรัฐบาลได้

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์

1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน

ผ่านเกณฑ์ในระดับพอใช้ ขึ้นไป

2. ทำกิจกรรมประจำบทเรียน และใบงานที่ 21 เรื่อง บทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ

กิจกรรมประจำบทเรียน และใบงานที่ 21 เรื่อง บทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ

3. ถาม – ตอบ

คำถาม

ตอบคำถามถูกต้อง

วิดีโอ YouTube


วิดีโอ YouTube


มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

        ส 3.2      ม.3/1        อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ

                         ม.3/2        แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่มีต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ

                            ม.3/4        อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด

                            ม.3/5        วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา

2      สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

       รัฐบาลมีบทบาทหน้าที่สำคัญในการกำหนดนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ ปัจจุบันมีปัญหาสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด และว่างงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ

3      สาระการเรียนรู้

        3.1    สาระการเรียนรู้แกนกลาง

            1)  บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ

            2)  บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่น การผลิตสินค้าและบริการสาธารณะที่เอกชน  ไม่ดำเนินการ เช่น ไฟฟ้า ถนน โรงเรียน

                 -   บทบาทการเก็บภาษีเพื่อพัฒนาประเทศของรัฐในระดับต่างๆ

                 -   บทบาทการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา เพื่อการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ

            3)  บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจในสังคมไทย

            4)  นโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล

            5)  ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด ความหมาย สาเหตุ และแนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ  เงินฝืด

            6)  สภาพและสาเหตุปัญหาการว่างงาน

            7)  ผลกระทบจากปัญหาการว่างงาน

            8)  แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน

        3.2    สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

             (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4      สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

        4.1  ความสามารถในการคิด

        4.1    ความสามารถในการคิด

                1)  ทักษะการสร้างความรู้                          2)  ทักษะการเชื่อมโยง 

                3)  ทักษะการสังเคราะห์                            4)  ทักษะการสรุปความ

                5)  ทักษะการให้ข้อมูล                              6)  ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

        4.2    ความสามารถในการแก้ปัญหา

        4.3   ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5      คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.             มีวินัย      2.             ใฝ่เรียนรู้3.             มุ่งมั่นในการทำงาน

       1.   มีวินัย                            2.   ใฝ่เรียนรู้                         3.   มุ่งมั่นในการทำงาน