ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ICSPFT

                       

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
สมรรถภาพทางกาย ที่ดีเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต และประกอบภารกิจประจำวันหรือออกกำลังกาย เล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่จะทำให้ร่างกายมีสมรรถภาพที่ดีได้นั้น ต้องอาศัยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นประจำสม่ำเสมอ  นอกจากนั้นควรมีโภชนาการที่ดีด้วย

                       

          การทดสอบสมรรถภาพทางกาย เป็นวิธีที่จะบ่งบอกถึงสภาพความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายหรือการมีสมรรถภาพทางกายแต่ละด้านดีมากน้อยเพียงใด ในปี ค.ศ.1964 (พ.ศ.2507) ที่นครโตเกียว ในระหว่างที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 19 ได้มีการตั้งคณะกรรมการนานาชาติ   เพื่อจัดมาตรฐานการทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย (ICSPFT : International Committee for Standardization of Physical  Fitness  Test)        เพื่อทำการศึกษาหาแบบทดสอบความสมบูรณ์ทางกายที่จะใช้เป็นมาตรฐานทั่วโลก คือ ทั่วโลกมีการทดสอบไปในแนวเดียวกัน  เพื่อจะได้นำมาเปรียบเทียบกันระหว่างชาติต่าง ๆ ได้ ซึ่งในสมัยนั้นมี ศ.นพ.อวย  เกตุสิงห์  เป็นกรรมการร่วมอยู่ด้วย  ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ได้ศึกษาวิจัยรวบรวมข้อมูลนาน 8 ปี จึงได้นำข้อยุติของการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เป็นมาตรฐานออกมาใช้ ในปี ค.ศ.1972 (พ.ศ.2515) ได้นำไปทดสอบทั่วโลก โดยถือเป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน (Basic physical performance) จากกิจกรรมของคณะกรรมมีการศึกษาวิจัยมากมาย และมีการรวมกันเป็นกลุ่ม  จึงมีความคิดเห็นร่วมกันว่าควรร่วมมือวิจัยกันอย่างต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนชื่อคณะกรรมการภายหลังเป็นคณะกรรมการนานาชาติเพื่อวิจัยความสมบูรณ์ทางกาย (ICPFR : International Committee on Physical Fitness Research)

                        สำหรับประเทศไทยการทดสอบแบบ ICSPFT ได้ทำการทดสอบครั้งแรกประมาณปี พ.ศ.2515 โดยช่วงแรกทำการทดสอบที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย และโรงเรียนสวนบัว รวมทั้งทำการทดสอบในนักกีฬาไทยด้วย  ซึ่งวิธีการดังกล่าวถูกนำมาใช้ทดสอบและประเมินสมรรถภาพทางกาย เด็ก เยาวชน และประชาชนอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้ เพราะวิธีการ อุปกรณ์ทดสอบ ไม่ยุ่งยาก สามารถทำได้กับกลุ่มคนเป็นจำนวนมาก แต่มีข้อจำกัด คือ ควรทดสอบในคนที่มีสุขภาพดี อายุระหว่าง 6-32 ปี ( ICSPFT การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2543. )

ICSPFT ได้จำแนกสมรรถภาพทางกายพื้นฐานออกเป็น 7 ประเภท คือ

ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่สามารถทำงาน หรือเคลื่อนที่ซ้ำ ๆ กัน ได้อย่างรวดเร็ว

2.           

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
พลังกล้ามเนื้อ  (Muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่หดตัวได้แรง และทำให้วัตถุหรือร่างกายเคลื่อนที่ออกไปเป็นระยะทางมากที่สุดภายในเวลาจำกัด

3.            ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle strength)หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่หดตัว เพื่อเคลื่อนที่น้ำหนักหรือต้านน้ำหนักเพียงครั้งเดียวโดยไม่จำกัดเวลา

4.            ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่ทำงานได้นาน โดยไม่เสื่อมประสิทธิภาพ

5.            ความแคล่วคล่องว่องไว (Agility)< หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการควบคุมการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย

ความอ่อนตัว (Flexibility) >หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนไหวให้ได้มุมของการเคลื่อนไหวอย่างเต็มที่ของข้อต่อแต่ละข้อ

            ความอดทนทั่วไป (General endurance)> หมายถึง ความสามารถของระบบหายใจและไหลเวียนเลือดที่ทำงานได้นานต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ร่างกายมีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย พื้นฐานตามแบบของคณะกรรมการนานาชาติเพื่อจัดมาตรฐาน

การทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย(ICSPFT)

แบบทดสอบ

วิ่งเร็ว 50 เมตร

2.ยืนกระโดดไกล

3.แรงบีบมือ

4.ลุก-นั่ง 30 วินาที

5            ก. ดึงข้อ (ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

ข. งอแขนห้อยตัว (ชายอายุต่ำกว่า 12 ปี และหญิงทุกอายุ)

6.'>วิ่งเก็บของ

7.            ความอ่อนตัว

8.           

วิ่งระยะไกล ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

หญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป ระยะ 800 เมตร

ชายและหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี ระยะ

แบบทดสอบเหล่านี้ใช้กับบุคคลชายหญิง อายุระหว่าง 6 ถึง 32 ปี ผู้รับการทดสอบต้องมีสุขภาพดีให้ความร่วมมือและตั้งใจปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ

                        ควรแบ่งการทดสอบเป็น 2 วัน หรือวันเดียว 2 ระยะ ในตอนเช้าและตอนบ่าย ถ้าแบ่งเป็น 2 วัน วันแรกทำแบบทดสอบ 1, 2, 8  วันที่ 2 ทำแบบทดสอบที่ 3, 4, 5, 6, 7 แต่ถ้าเป็นการทดสอบวันเดียวต้องทดสอบเรียงตามลำดับ

                        ผู้รับการทดสอบต้องแต่งกายให้เหมาะสม และควรมีการอบอุ่นร่างกาย ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (กางเกงกีฬาขาสั้น เสื้อยืดแขนสั้นหรือเสื้อกล้าม สวมรองเท้าผ้าใบหรือเท้าเปล่า ห้ามสวมรองเท้าตะปู)

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานระหว่างประเทศ (ICSPFI)

                                                การชั่งน้ำหนัก

                               การวัดส่วนสูง

            1) วิ่ง ใช้วัดความเร็ว

            ยืนกระโดดไกลใช้วัดพลังของกล้ามเนื้อขา

แรงบีบมือที่ถนัด     ใช้วัดพลังของกล้ามเนื้อแขน

                                                                            
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

            4) ลุก-นั่ง 30 วินาที      ใช้ความแข็งแรงและความทนทานของ

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
กล้ามเนื้อหน้าท้อง

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

            5) ดึงข้อราวเดี่ยว                     ใช้วัดความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อแขนและไหล่

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

6.วิ่งเก็บของ  ใช้วัดความว่องไวในการวิ่งกลับตัวระยะทาง 10 เมตร

นั่งงอตัวข้างหน้า  ใช้วัดความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่นของ

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ข้อต่อ

8. วิ่ง 1,000 เมตร

ใช้วัดความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด และระบบหายใจ

1. วิ่งเร็ว 50 เมตร (50-Meter Sprint)

อุปกรณ์

                       

1.นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที

2. ลู่วิ่ง 50 เมตร มีเส้นเริ่ม และเส้นชัย

3. ธงปล่อยตัวสีแดง, นกหวีด

เจ้าหน้าที่                     ผู้ปล่อยตัว 1 คน ผู้จับเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                   เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ เข้าที่ให้ผู้รับการทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มย่อตัวเล็กน้อย แต่ไม่ใช่การย่อตัวในท่าออกวิ่ง) เมื่อได้ยินสัญญาณปล่อยตัว ให้ออกวิ่งเต็มที่จนผ่านเส้นชัย

การบันทึก                    จับเวลาตั้งแต่เริ่มวิ่งจนถึงเส้นชัย บันทึกผลถึงทศนิยม  ตำแหน่งของวินาที

ระเบียบการทดสอบ     ใช้สัญญาณนกหวีดในการปล่อยตัว

                                    2. อนุญาตให้วิ่งได้ 2 ครั้ง แล้วบันทึกเวลาที่ดีที่สุดไว้

                                    3. ทางวิ่งควรเรียบตรงอยู่ในภาพที่ดี  

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

ยืนกระโดดไกล (Standing Broad Jump)

อุปกรณ์

                        1. แผ่นยางกระโดดไกล มีขีดบอกระยะทาง และแท่นยืนติดแผ่นยางพร้อมเบาะรอง

            เจ้าหน้าที่                     ผู้อ่านระยะทาง 1 คน ผู้จัดท่าจุดเริ่มกระโดด 1 คน

วิธีทดสอบ                   ให้ผู้รับการทดสอบเหยียบผงปูนขาว      ด้วยส้นเท่าและยืนปลายเท้าทั้งสองชิดด้านหลังของเส้นเริ่ม เหวียงแขนทั้งสองไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข้าและก้มตัว เมื่อได้จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างหน้าอย่างแรงพร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด

การบันทึก                    บันทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร บันทึกระยะที่ไกลที่สุดจากการทดสอบ 2 ครั้ง<

ระเบียบการทดสอบ     ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกระยะทางของครั้งที่ดีที่สุด<

                                    2. ให้วัดระยะจากเส้นเริ่มไปยังรอยส้นเท้าข้างที่ใกล้ที่สุด

3. เท้าทั้งสองต้องพ้นพื้นขณะที่กระโดดออกไป

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

แรงบีบมือ (Grip Strength)

อุปกรณ์                                    เครื่องมือวัดแรงบีบมือ (Grip dynamometer)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้แนะนำและอ่านผล 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้ผู้รับการทดสอบเช็ดมือให้แห้งเพื่อกันลื่น แล้วใช้มือข้างที่ถนัดจับเครื่องวัดให้เหมาะมือที่สุด โดยข้อนิ้วที่ 2 รับน้ำหนักของเครื่องวัด (ผู้แนะนำช่วยปรับระดับเครื่องวัดให้พอเหมาะ) ยืนตรงปล่อยแขนห้อยห่างลำตัวเล็กน้อย กำมือบีบเครื่องวัดจนสุดแรง ระหว่างบีบห้ามไม่ให้มือหรือเครื่องวัดถูกส่วนหนึ่งส่วนใดของลำตัว และห้ามเหวี่ยงเครื่องโถมตัวอัดแรง ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง

การบันทึก                                บันทึกผลการวัดเป็นกิโลกรัม บันทึกค่ามากที่สุด ความละเอียดถึง 0.5 กิโลกรัม

ระเบียบการทดสอบ                 อ่านผลจากมือที่ถนัด

                                                2. ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลครั้งที่ดีที่สุด

                                                3. ระหว่างทดสอบห้ามไม่ให้มือหรือเครื่องมือวัดถูกร่างกาย และไม่อนุญาตให้เหวี่ยงหรือกระโจนโถมตัวไปข้างหน้า

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (30-Second Sit-Ups)

            อุปกรณ์                                    1. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

                                                           เบาะยูโดหรือที่นอน<

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและจับเวลา 1 คน ผู้นับจำนวนครั้ง 1 คน

วิธีทดสอบ                               จัดผู้รับการทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะ เข่างอตั้งเป็นมุมฉาก ปลายเท้าแยกห่างกันประมาณ 30 ซม. ประสานนิ้วมือรองท้ายทอยไว้ ผู้ทดสอบคนที่ 2 คุกเข่าที่ปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ (หันหน้าเข้าหากัน) มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าของผู้รับการทดสอบไว้ให้หลังติดพื้น เมื่อผู้ให้สัญญาณบอก “เริ่ม” พร้อมเริ่มจับเวลา ผู้รับการทดสอบลุกขึ้นนั่ง ก้นและเท้าติดพื้น ให้ศอกทั้งสองแตะเข่าทั้งสอง แล้วกลับนอนลงในท่าเดิมจนนิ้วจรดเบาะ จึงกลับลุกนั่งขึ้นใหม่ ทำเช่นนี้ติดต่อกันไปอย่างรวดเร็วจนครบ 30 วินาที

ข้อควรระวัง นิ้วมือต้องประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา เข่างอเป็นมุมฉาก ขณะนอนลงหลังจากลุกนั่งแล้ว หลังและคอต้องกลับไปอยู่ที่ตั้งต้น

การบันทึก                                บันทึกจำนวนครั้งที่ทำถูกต้องใน 30 วินาที

ระเบียบการทดสอบ                 ผู้ทดสอบร้องให้นิ้วมือทั้งสองสอดประสานกันอยู่ที่

    ท้ายทอยตลอดเวลาในการทดสอบ

2. เข่าอยู่ในท่างอเป็นมุมฉากตลอดการทดสอบ

3. หลังและคอจะต้องกลับไปอยู่ในตำแหน่งที่เริ่มต้นทุกครั้ง

    โดยให้หลังมือสัมผัสพื้น

4. ไม่อนุญาตให้เด้งตัวขึ้นโดยใช้ศอกดันพื้น

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

5. ความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อ

    ก. ดึงข้อ (Pull-Ups)                         สำหรับชายอายุ  12  ปีขึ้นไป

            อุปกรณ์                                    1. ราวเดี่ยวเลื่อนระดับได้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าทอประปาขนาด

                                                            2. ม้าสำหรับรองเท้าเวลายืนขึ้นจับราว                       

                                                            3. ผ้าเช็ดมือ                            

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและนับจำนวนครั้ง 1 คน

วิธีทดสอบ                              จัดระดับราวเดี่ยวให้สูงพอเหมาะสม เมื่อผู้รับการทดสอบห้อยตัวจนสุดแล้วเท้าไม่ถึงพื้น ให้ผู้รับการทดสอบขึ้นยืนบนม้ารอง จับราวในท่าคว่ำมือห่างกันเท่าช่วงไหล่ เอาม้ารองออกแล้วให้รับการทดสอบปล่อยตัวจนแขน ลำตัวและขาเหยียดตรงเป็นท่าตั้งต้น ออกแรงงอแขนดึงตัวขึ้นจนคางพ้นราว แล้วหย่อนตัวลงกลับมาในท่าตั้งต้น งอแขนดึงตัวขึ้นมาใหม่ ทำให้ได้มากครั้งที่สุด ห้ามแกว่งเท้าหรือเตะขา ถ้าหยุดพักระหว่างครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นให้คางพ้นราวได้ 2 ครั้งติดกัน ให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก                                บันทึกจำนวนครั้งที่ดึงขึ้นได้อย่างถูกต้องและคางพ้นราว

ระเบียบการทดสอบ                 ถ้าผู้รับการทดสอบหยุดพักนานเกินไป หรือไม่สามารถดึงข้อมือให้คางพ้นราวติดกัน 2 ครั้ง ให้ยุติการทดสอบ

                                               
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

  ข. งอแขนห้อยตัว (Flexed-Arm Hang) สำหรับชายอายุต่ำกว่า 12 ปี และหญิง

            อุปกรณ์                                    เหมือนข้อ ก. และนาฬิกาจับเวลา 1 เรือน                               

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและจับเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                               จัดม้าที่ใช้รองเท้าให้สูงพอที่เมื่อผู้รับการทดสอบยืนตรงบนม้า คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย ผู้รับการทดสอบจับราวด้วยท่าคว่ำมือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่และแขนงอเต็มที่ เมื่อให้สัญญาณ เริ่ม (พร้อมกับเอาม้าออก) ผู้รับการทดสอบต้องเกร็งข้อแขน และดึงตัวไว้ในท่าเดิมให้นานที่สุด ถ้าคางต่ำลงถึงราวให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก                                บันทึกเวลาเป็นวินาทีจาก เริ่ม จนคางต่ำลงกว่าราว

ระเบียบการทดสอบ                 1. ค้างต้องอยู่เหนือราวหรือไม้พาด แต่ถ้าคางลงไปติดราวหรือต่ำกว่าราวให้ยุติการทดสอบ

                                                2. เท้าต้องไม่สัมผัสกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

วิ่งเก็บของ (Shuttle Run)

            อุปกรณ์                                    1. นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที   

ทางวิ่งเรียบระหว่างเส้นขนาน 2 เส้นห่างกัน10 เมตร   ชิดด้านนอกของเส้นทั้งสองมีวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 ซม. (หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส 50 ซม.) ถัดออกไปจากเส้นเริ่มควรมีทางให้วิ่งต่อไปได้อีกอย่างน้อย 10 เมตร

3. ท่อนไม้ 2 ท่อน (3 x 3 x5 ซม.หรือ <>(5 x 5 x10 ซม.)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้ปล่อยตัวและจับเวลา 1 คน  ผู้วางไม้ 1 คน

วิธีทดสอบ                               >วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวง (ห่างกันประมาณ 20 ซม. ) ที่ชิดเส้นตรงข้ามเส้นเริ่มผู้รับการทดสอบยืนให้เท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม เมื่อพร้อมแล้วผู้ปล่อยตัวส่ง “ไป”ให้ผู้รับการทดสอบวิ่งไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน วิ่งกลับมาวางไว้ในวงกลมหลังเส้นเริ่ม กลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่ง แล้ววิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่มแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าในวงต้องเริ่มใหม่

การบันทึก                                บันทึกเวลาตั้งแต่ “ lไป” จนถึงวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 อย่างถูกต้อง ละเอียดถึงทศนิยม 2 ตำแหน่งของวินาที ให้ทดสอบ 2 ครั้ง เอาเวลาที่ดีที่สุด

ระเบียบการทดสอบ                 ให้มีผู้ช่วยทดสอบ ดูแลว่าผู้รับการทดสอบได้วางท่อนไม้ลงในวงกลมหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัสถูกต้องหรือไม้ และทางที่วิ่งต้องเป็นพื้นเรียบและอยู่ในสภาพที่ไม่ลื่น

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

7. ความอ่อนตัว (Flexibility)

            อุปกรณ์                                    1. เครื่องมือวัดความอ่อนตัว 1 ตัว สามารถอ่านค่า (+) และลบ (-)     

2. เสื่อหรือพรม หรือกระดานสำหรับรองพื้นนั่ง

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้วัดระยะและบันทึก 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า นั่งเหยียดขาตรงสอดเท้าเข้าใต้ม้าวัดโดยเท้าทั้งสองตั้งฉากกับพื้นและชิดกัน ฝ่าเท้าจรดแนบกับที่ยันเท้า เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้าให้มืออยู่บนม้าวัด จนไม่สามารถก้มตัวได้ต่อไป ให้ปลายนิ้วมือเสมอกัน และรักษาระยะทางไว้ได้ 2 วินาทีขึ้นไป อ่านระยะจากจุด 0 ถึงปลายมือ (ห้ามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ)

การบันทึก                                บันทึกระยะเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น + ถ้าไม่ถึงปลายเท้าค่าเป็น ใช้ค่าที่ดีกว่าจากการทดสอบ 2 ครั้ง

ระเบียบการทดสอบ                 1. ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้าก่อนทำการทดสอบ

                                                2. เข่าตึงเสมอกันไม่งอ และเอียงแขนใดแขนหนึ่งไม่ได้ ให้มือทั้งสองเสมอกัน

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

8. วิ่งระยะไกล (Distance Run)

            อุปกรณ์                                    1. สนามวิ่ง วัดระยะทางให้ถูกต้อง

                                                                ชายอายุ        12  ปีขึ้นไป     1,000  เมตร

                                                                หญิงอายุ      12  ปีขึ้นไป        800  เมตร

                                                                ชายและหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี            600  เมตร

                                                            2. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

                                                            3. เบอร์ติดเสื้อ 1-20 (ถ้ามีผู้วิ่งหลายคน)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้ปล่อยตัวและผู้จับเวลา 1 คน ผู้บันทึกตำแหน่งและเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้สัญญาณ เข้าที่ ผู้รับการทดสอบยืนปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มเมื่อให้สัญญาณ ไป ให้ออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กำหนด พยายามใช้เวลาน้อยที่สุด และควรรักษาความเร็วให้คงที่ ถ้าไปไม่ไหวอาจหยุดเดินแล้ววิ่งต่อไปจนครบระยะทางผู้จับเวลาจะขานเวลาผู้ที่วิ่งถึงเส้นชัยทีละคน ให้ผู้บันทึกเวลาบันทึกไว้  ผู้ช่วยผู้บันทึกจะจดหมายเลขผู้รับการทดสอบที่เข้าถึงสั้นชัยเรียงตามลำดับ

การบันทึก                                บันทึกเวลาละเอียดถึงจุดทศนิยม 2 ตำแหน่งของวินาที

ระเบียบการทดสอบ                 เส้นทางที่ใช้ในการวิ่งควรเป็นพื้นเรียบและอยู่ในสภาพดี

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย
ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

ตารางที่ 1  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.77 ลงมา

7.78-8.31

8.32-9.38

9.39-9.91

9.92 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

196 ขึ้นไป

185-195

163-184

152-162

151 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

30.8 ขึ้นไป

27.6-30.7

20.9-27.5

17.6-20.8

17.5 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

28 ขึ้นไป

26-27

20-25

18-19

17 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

7

6

2-5

1

0

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.97 ลงมา

10.98-11.48

11.49-12.50

12.51-13.01

13.02 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

11.6 ขึ้นไป

9.1-11.5

3.9-9.0

1.3-3.9

1.2 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.33 ลงมา

4.34-5.00

5.01-5.57

5.58-6.25

6.26 ขึ้นไป

ตารางที่ 2  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 14 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.39 ลงมา

7.40-7.94

7.95-9.05

9.06-9.60

9.61 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

207 ขึ้นไป

195-206

171-194

159-170

158 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

36.8 ขึ้นไป

33.2-36.7

25.9-33.1

22.3-25.8

22.2 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

28 ขึ้นไป

26-27

21-25

19-20

18 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

8 ขึ้นไป

7

3-6

2

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.85 ลงมา

10.86-11.34

11.35-12.33

12.34-12.82

12.83 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

13.1 ขึ้นไป

10.3-13.0

4.6-10.2

1.8-4.5

1.7 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.21 ลงมา

4.22-4.48

4.49-5.42

5.43-6.08

6.09 ขึ้นไป

ตารางที่ 3  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 15 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.10 ลงมา

7.11-7.64

7.65-8.72

8.73-9.25

9.26 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

221 ขึ้นไป

208-220

183-207

170-182

169 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

41.0 ขึ้นไป

37.4-40.9

30.3-37.3

26.8-30.2

26.7 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

29 ขึ้นไป

27-28

22-26

20-21

19 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

9 ขึ้นไป

8

4-7

2-3

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.55 ลงมา

10.56-11.03

11.04-12.00

12.01-12.48

12.49 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

14.7 ขึ้นไป

11.09-14.6

6.0-11.8

3.1-5.9

3.0 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.15 ลงมา

4.16-4.40

4.41-5.32

5.33-5.57

5.58 ขึ้นไป

ตารางที่ 4  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 16 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

6.68 ลงมา

6.69-7.32

7.33-8.61

8.62-9.25

9.26 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

228 ขึ้นไป

216-227

192-215

180-191

179 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

43.5 ขึ้นไป

40.2-43.4

33.7-40.1

30.5-33.6

30.4 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

29 ขึ้นไป

27-28

22-26

20-21

19 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

9 ขึ้นไป

7-8

4-6

2-3

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.27 ลงมา

10.28-10.82

10.83-11.86

11.87-12.38

12.39 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

16.5 ขึ้นไป

13.5-16.0

6.0-13.0

3.0-5.5

2.5 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.14 ลงมา

4.15-4.40

4.41-5.33

5.34-5.59

6.00 ขึ้นไป

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย

          1. http://www.youtube.com/watch?v=Wc7RGg6-1m8

          2.  http://www.youtube.com/watch?v=b_yUmj78X8c

ถ้าต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย