Http //www.pec9.com ฟิสิกส์ เฉลย บทที่12

100% found this document useful (2 votes)

5K views

19 pages

Original Title

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์.pdf

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Did you find this document useful?

100% found this document useful (2 votes)

5K views19 pages

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์ PDF

Original Title:

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์.pdf

Jump to Page

You are on page 1of 19

You're Reading a Free Preview
Pages 7 to 17 are not shown in this preview.

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

Http //www.pec9.com ฟิสิกส์ เฉลย บทที่12

Download บทที่ 12 แสง...

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ 12.1 การแทรกสอดของแสง

เมื่อฉายแสงอาพันธ์ผา่ นแผ่นทึบแสงที่มีช่องแคบคู่อยู่ ( สลิตคู่ ) แสงที่ลอดผ่านช่องแคบ คู่ไปนั้นจะสร้างคลื่นแสงใหม่ข้ ึนมา 2 แสง แล้วคลื่นแสงทั้งสองนั้นจะเกิดการแทรกสอดกัน หลังแผ่นทึบแสงนั้น โดยจะมีแนวบางแนวแสงทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีความสว่าง มากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode,A) หรื อแถบสว่าง ซึ่ งจะมีอยูห่ ลายแนว กระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แถบสว่างที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยก เป็ นแถบสว่างที่ 0 ( A0) หรื อแถบสว่างกลาง ถัดออกไปจะเรี ยกแถบสว่างที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป แนวระหว่างแถบสว่าง คลื่นแสงจะเกิดการหักล้างกันทาให้มีความสว่างน้อยกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) หรื อแถบมืด แถบมืดแรกที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง ( A0 ) จะเรี ยกแถบมืดที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแถบมืดที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป หากนาฉากรับแสงไปรองรับแสงบริ เวณหลังสลิต เมื่อแสงที่เกิดการแทรกสอดแล้วมาตก กระทบบนฉากจะทาให้เกิดเป็ นแถบสว่างและแถบมืดสลับกันไปบนฉากรับแสงนั้นดังรู ป 1

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการแทรกสอดแสง สาหรับแนวปฏิบัพ (An) (แถบสว่าง) S1P – S2P = n  d sin  = n   = nd Dx สาหรับแนวบัพ (Nn) (แถบมืด) S1P – S2P = (n – 12 ) d sin  = (n – 12 )  = d 1x (n  2 ) D เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแถบสว่างหรื อแถบมืดลาดับที่ n S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 (ช่องแคบที่ 1 ) S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 (ช่องแคบที่ 2) S1P คือระยะจาก S1 ถึง P ( เมตร ) S2P คือระยะจาก S2 ถึง P ( เมตร )  คือความยาวคลื่น ( เมตร ) d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร ) D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )  คือมุมที่วด ั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร ) n คือลาดับที่ของแถบสว่างหรื อแถบมืดซึ่ งจุด P อยูบ่ นนั้น หรื อที่วดั มุม  ไปถึง หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง 1. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่างกัน 0.2 มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 10 ทั้งสองด้านจะทามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035) 1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 4 องศา 4. 8 องศา

2

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

2. สลิตคู่ห่างกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่า แถบสว่างลาดับที่ 5 อยูห่ ่างจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเป็ นกี่ นาโนเมตร 1. 320 2. 380 3. 420 4. 480

3. สลิตคู่มีระยะห่ างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อส่ องด้วยแสงสี เดียวและเป็ น แสงอาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่างจากสลิต 2.50 เมตร วัดระยะระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่ เมตร 1. 2.60 x 10–7 2. 3.20 x 10–7 3. 4.80 x 10–7 4. 5.60 x 10–7

4. สลิตคู่ห่างกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผ่านในแนวตั้งฉาก จงหามุมที่แถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง 1. sin–1 0.275 2. sin–1 0.375 3. sin–1 0.460 4. sin–1 0.500

3

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

5. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D จงหาระยะระหว่างแถบสว่างกลางกับแถบมืดที่สอง 1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง เมื่อฉายแสงผ่านแผ่นทึบแสงซึ่ ง มี 1 ช่องแคบ ( สลิตเดี่ยว ) เมื่อแสง ลอดผ่านช่องแคบไปแล้ว จะเกิดการ เลี้ยวเบนโดยแถบสว่างกลางจะมีความ กว้างมากและถัดออกไป จะมีแถบมืด กับแถบสว่างสลับกันไป แถบมืดแรก ที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง จะเรี ยก แถบมืดที่ 1 ( N1 ) ถัดไปจะเป็ นแถบ มืดที่ 2 ( N2 ) , 3 ( N3 ) ไปเรื่ อยๆ สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับแนวบัพของการเลีย้ วเบน d sin  = n  x และ  = nd D เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )  คือความยาวคลื่น ( เมตร )  คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร ) x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร ) n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง 4

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

6. เมื่อให้แสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบเดี่ยว และต้องการให้แถบมืดแรก เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกว้างของช่องแคบนี้ในหน่วยไมโครเมตร 1. 0.64 2. 1.28 3. 640 4. 1280

7. แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากผ่านสลิ ตเดี่ยวที่มีความกว้าง 0.01 เซนติเมตร จงหาระยะห่ างระหว่างแถบมืดลาดับที่ 1 ซึ่ งอยู่สองข้างของแถบสว่างที่ปรากฏบน ฉากซึ่ งอยูห่ ่างออกไป 1.5 เมตร 1. 0.75 x 10–2 เมตร 2. 1.5 x 10–2 เมตร 3. 3.0 x 10–2 เมตร 4. 6.0 x 10–2 เมตร

8. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตเดี่ ยว จะปรากฏภาพการ แทรกสอดบนฉากที่ห่างออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสว่างกลางกว้าง 2 เซนติเมตร จงหาความกว้างของสลิตนี้ในหน่วยไมโครเมตร 1. 10 2. 30 3. 60 4. 90

5

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

12.3 เกรตติง เกรตติงเป็ นแผ่นทึ บแสงซึ่ งประกอบด้วยช่ องขนาดเล็กจานวนมากมายที่ เล็กจนมอง ด้วยตาเปล่าไม่เห็น จานวนช่องของเกรตติงอาจมีต้ งั แต่ 1000 ถึง 10000 ช่องในช่วงความยาว 1 เซนติเมตร โดยช่องมีขนาดแคบมากและอยูห่ ่างเท่าๆ กัน ปกติแล้วเมื่อแสงผ่านเกรตติงออกไป จะทาให้เกิดทั้งการแทรกสอดและเลี้ยวเบนขึ้น ควบคู่กนั ไป โดยแถบสว่างของการเลี้ยวเบนจะมีความกว้างมาก ส่ วนแถบสว่างและแถบมืดของ การแทรกสอดจะมีขนาดเล็กแทรกอยูภ่ ายในแถบสว่างของการเลี้ยวเบนนั้น ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ เลีย้ วเบนโดยสลิตเดีย่ ว

ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ แทรกสอดโดยสลิตคู่

การคานวณเกี่ยวกับแถบสว่าง ( An ) ของการแทรกสอด ยังคงใช้สมการเดิมคือ d sin  = n   = nd Dx เมื่อ  คือความยาวคลื่น ( เมตร ) d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร ) เราหาค่า d ได้จาก ความยาวเกรตติง d= จานวนช่องในความยาวนัน D คือระยะจากเกรตติงถึงฉากรับแสง ( เมตร )  คือมุมที่วด ั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร ) n คือลาดับที่ของแถบสว่างที่วดั มุม  ไปถึง หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง การคานวณเกี่ยวกับแถบมืด ( Nn ) ของการเลี้ยวเบนใช้สมการ d sin  = n  x  = nd D 6

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )  คือความยาวคลื่น ( เมตร )  คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n D คือระยะจากเกรตติงถึงฉากรับแสง ( เมตร ) x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร ) n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง 9(En 31) แสงสี ขาวที่ผา่ นเกรตติงที่มีจานวนช่ องเท่ากับ 120 ช่ องต่อความยาว 1 เซนติเมตร ถ้าต้องการให้แสงสี เขียว ( ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ) เลี้ ยวเบนห่ างจากแถบสี ขาว 0.6 เซนติเมตร จะต้องวางฉากรับให้ห่างจากเกรตติงอย่างน้อยเป็ นระยะทางกี่เซนติเมตร 1. 50.0 2. 60.0 3. 66.7 4. 100.0

10. ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ส่ องผ่านเกรตติงอันหนึ่ งทาให้แถบสว่างที่ 2 เบนไปเป็ นมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจานวนช่อง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้ 1. 2500 2. 3000 3. 4500 4. 5000

11. เกรตติงอันหนึ่ งชนิด 4000 ช่อง/เซนติเมตร ถ้าให้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ส่ องผ่านจะเห็นแถบสว่างทั้งหมดกี่แถบ 1. 4 2. 5 3. 8 4. 9

7

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

เฉลยบทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ 1. ตอบข้ อ 3. 5. ตอบข้ อ 2. 9. ตอบข้ อ 4.

2. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4.

3. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 4.

4.

ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.



ตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ ชุดที่ 2 12.1 การแทรกสอดของแสง 1(แนว Pat2) เมื่อฉายคลื่นแสงผ่านสลิตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิต 2 x 10–4 เมตร ทาให้เกิด แถบสว่างบนฉากที่วางอยูห่ ่างจากสลิต 80 เซนติเมตร โดยตาแหน่งของแถบสว่างลาดับที่ 2 อยูห่ ่างจากกึ่งกลางฉาก 4.0 มิลลิเมตร ความยาวคลื่นแสงนี้มีค่ากี่นาโนเมตร 1. 400 2. 500 3. 600 4. 700 2(แนว 9 สามัญ) ฉายแสงตกกระทบสลิตคู่ (double slit) มีระยะห่างระหว่างช่อง 0.05 มิลลิเมตร สังเกตเห็นการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป 1.5 เมตร พบว่าริ้ วสว่างที่ 2 ห่ างจากริ้ ว สว่างกลาง 3 เซนติเมตร แสงที่ใช้มีความยาวคลื่นเท่ากับกี่นาโนเมตร 1. 300 2. 400 3. 500 4. 550 5. 600 3(แนว Pat2) นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทด 4.0 cm ลองการแทรกสอดของยัง ถ้าแสงที่ แถบสว่าง ใช้มีความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร (ส่วนที่แรเงา) และระยะห่างระหว่างช่องแคบคู่กบั ฉากเป็ น 2.0 เมตร วัดระยะห่างของ แถบมืด แถบสว่างจากแนวกลางบนฉากได้ผล ดังรู ป ช่องแคบคู่ที่ใช้มีระยะห่างระหว่างช่องเป็ นกี่มิลลิเมตร 1. 0.13 2. 0.26 3. 0.33 4. 0.65

8

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

4(En44 มี.ค.) จากการทดลองหาความยาวคลื่นของแสงสี หนึ่ง โดยวางฉากรับริ้ วการแทรกสอด ไว้ห่างจากแผ่นสลิตคู่เป็ นระยะทาง 120 เซนติเมตร และระยะห่างระหว่างสลิตทั้งสองเป็ น 0.03 มิลลิเมตร พบว่ามีแถบสว่าง-มืด เกิดขึ้นบนฉากหลายแถบ ถ้าวัดจากแถบสว่างที่หนึ่ง ไปยังแถบสว่างที่หา้ พบว่ามีระยะห่างกัน 9.0 เซนติเมตร แสงสี น้ ีมีความยาวคลื่นเท่าใด ใน หน่วยนาโนเมตร 1. 119.6 2. 256.6 3. 366.5 4. 562.5 5(En43 มี.ค.) ให้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ในแนวตั้งฉาก เกิดลวดลาย การแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหว่างกึ่งกลางของแถบสว่าง 2 แถบที่ถดั กันได้ 5 มิลลิเมตร สลิตคู่น้ ีมีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร 1. 0.15 2. 0.25 3. 0.50 4. 0.75 6(En 37) แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 590 ความเข้ม นาโนเมตร เป็ นลาขนานฉายผ่านสลิตคู่ x มีระยะระหว่างสลิต 250 ไมโครเมตร แสงที่ตกบนฉากหลังสลิต ซึ่ งอยูห่ ่าง สลิต 50 เซนติเมตร มีความเข้มดังรู ป ระยะ x จะเป็ นเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร 1. 1.00 2. 1.12 3. 1.18 4. 2.00 7(En48 มี .ค.) สลิ ตคู่ ที่ มี ระยะระหว่างสลิ ตเป็ น 0.10 เซนติ เมตร ฉากอยู่ห่ างจากสลิ ตเป็ น ระยะทาง 1.0 เมตร ระยะระหว่างแถบมืดที่อยูต่ ิดกันมีค่าเป็ น 0.5 มิลลิเมตร ความยาวคลื่น แสงที่ใช้เป็ นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร 1. 100 2. 300 3. 400 4. 500 8. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D จงหาระยะระหว่างแถบสว่างแถบแรกกับแถบมืดที่สาม 1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

9

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

x = 6 mm

9(En42 ต.ค.) ใช้แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร N1 N1 ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้างของช่องเท่า กับ 50 ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลี้ยวเบน บนฉาก พบว่าแถบมืดแถบแรกอยูห่ ่างจากกึ่งกลาง แถบสว่างกลาง 6.0 มิลลิเมตร ระยะระหว่าง d สลิตเดี่ยวกับฉากเป็ นเท่าใดในหน่วยเซนติเมตร 1. 25 2. 50 3. 75 4. 100 10(En47 มี.ค.) แสงความยาวคลื่ น 600 นาโนเมตร ผ่านสลิ ตเดี่ ย วกว้าง 0.55 มิ ล ลิ เมตร ไป ปรากฏเป็ นลวดลายการเลี้ยวเบนบนฉาก อยากทราบว่าจะต้องวางฉากทางด้านหลังสลิตห่ าง จากสลิตกี่เซนติเมตร จึงจะทาให้แถบมืดแถบแรกบนฉากห่ างจากจุดกึ่ งกลางเป็ นระยะ 2.4 มิลลิเมตร 1. 110 2. 220 3. 330 4. 440 11(แนว A–Net) แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวในแนวตั้งฉากไปปรากฏ เป็ นแถบสว่างมืดบนฉากที่ห่างออกไป 1 เมตร ถ้าแถบมืดสองข้างสว่างตรงกลางห่ าง 4.0 มิลลิเมตร ถามว่าสลิตเดี่ยวกว้างกี่ไมโครเมตร 1. 100 2. 200 3. 300 4. 400 12(แนว Pat2) แสงมี ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับ สลิ ตเดี่ ยวที่ มี ความกว้าง 2 ไมโครเมตร ปรากฏภาพช่ องแคบที่ระยะห่ างออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกว้าง ของแถบสว่างตรงกลางที่เกิดขึ้นในหน่วยเซนติเมตร 1. 2 2. 5 3. 7 4. 10 13(En 40) ถ้าต้องการให้ตาแหน่ งมืดแรกของการเลี้ ยวเบนผ่านสลิ ตเดี่ ยวเกิ ดตรงกับตาแหน่ ง มื ดที่ ส ามของริ้ วจากการแทรกสอดของสลิ ตคู่ อยากทราบว่าจะต้องให้ระยะห่ างระหว่าง ช่องสลิตคู่เป็ นกี่เท่าของความกว้างของสลิตเดี่ยว 1. 23 2. 25 3. 72 4. 92

10

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

12.3 เกรตติง 14(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของก๊าซไฮโดรเจน โดยใช้เกรตติงซึ่ งมีจานวน x ช่อง/เซนติเมตร เท่ากับ 4500 ดังรู ป พบว่าเมื่อ O ระยะ D เท่ากับ 1 เมตร จะมีแถบสว่างสี เดียว กันบนไม้เมตรห่ างจากจุด O ทั้งทางด้านซ้ายและ D ขวาเท่ากันคือ 0.3 เมตร จงหาว่าแถบสว่างนั้น เกรตติง มีความยาวคลื่นประมาณ 1. 464 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร 3. 632 นาโนเมตร 4. 667 นาโนเมตร

15(En 38) ในการทดลองเพื่อหาความยาวคลื่นของแสงโดยใช้เกรตติง เมื่อใช้แสงสี เดี ยวส่ อง ผ่านเกรตติง จะสังเกตเห็ นแถบสว่างลาดับที่ 1 อยู่ ณ ตาแหน่ ง 10 และ 90 เซนติเมตร บนไม้เมตร แถบสว่างทั้งสองนี้ ต่างก็อยูห่ ่ างจากเกรตติงเป็ นระยะทาง 1 เมตร ถ้าเกรตติงที่ ใช้มีจานวน 104 ช่องต่อความยาว 1 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นของแสง 1. 550 นาโนเมตร 2. 500 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 400 นาโนเมตร 16(แนว A–net) ฉายลาแสงเลเซอร์ ความยาวคลื่น 625 นาโนเมตร ผ่านเกรตติงในแนวตั้งฉาก เพื่อต้องการให้จุดสว่างอันดับที่หนึ่ งเบนจากแนวกลางประมาณ 30 องศา จะต้องเลือกใช้ เกรตติงซึ่ งมีจานวนกี่ช่องต่อมิลลิเมตร 1. 500 2. 650 3. 800 4. 940 17(แนว A–Net) แสงความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกกระทบเกรตติงอันหนึ่ งในแนวตั้งฉาก พบว่าเส้นสเปกตรัมลาดับแรกเบนจากแนวกลางไป 30 องศา ถามว่าเส้นสเปกตรัมลาดับ แรกเบนจากแนวกลางไป 45 องศา มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร 1. 333 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร 3. 707 นาโนเมตร 4. 750 นาโนเมตร 18(En41 เม.ย.) แสงขาวตกตั้งฉากกับเกรตติง สเปกตรัมอันดับที่ 3 ของแสงสี ม่วงตรงกับ สเปกตรัมลาดับที่ 2 ของแสงสี แดง ถ้าความยาวคลื่นของแสงสี ม่วงเป็ น 440 นาโนเมตร ความยาวคลื่นของแสงสี แดงเป็ นกี่นาโนเมตร 1. 450 2. 500 3. 600 4. 660 11

ติวสบายฟิสิกส์เล่ม 2

http://www.pec9.com

บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

19(มช 39) ในการทดลองเรื่ องแทรกสอดของแสง โดยใช้สลิตคูส่ าหรับแสงสี เดียว A และสี เดียว B พบว่าแถบมืดที่ 5 นับจากแถบสว่างกลางออกไปด้านข้างของแสง A ตกทับแถบ สว่างอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาค่าอัตราส่ วนของความยาวคลื่นแสง A ต่อความ ยาวคลื่นแสง B ได้เท่ากับ 1. 4/5 2. 9/8 3. 5/4 4. 8/9 20(En47 ต.ค.) การแทรกสอดของแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ที่ตกกระทบตั้งฉากกับ เกรตติงแบบ 4000 เส้นต่อเซนติเมตรจะให้แถบสว่างบนฉากทั้งหมดกี่แถบ 1. 5 แถบ 2. 7 แถบ 3. 8 แถบ 4. 9 แถบ 21(แนว 9 สามัญ ) ฉายแสงเลเซอร์ ค วามยาวคลื่ น 600 nm ตกกระทบเกรตติ ง อย่างตั้ง ฉาก 25,000 ช่ องโดยมี ความยาว 2.5 เซนติเมตร แล้วผ่านไปกระทบฉาก จงหาว่าจะเกิ ดจุ ด สว่างขึ้นบนฉากขึ้นกี่จุด 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5 

เฉลยตะลุยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์ ชุดที่ 2 1. ตอบข้ อ 2. 5. ตอบข้ อ 1. 9. ตอบข้ อ 3. 13. ตอบข้ อ 2. 17. ตอบข้ อ 2. 21. ตอบข้ อ 3.

2. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 4.

3. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 4.



12

4. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.

12. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.