บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ล.1: โทรทัศน์เบื้องต้น -- หลักการทำงานของเครื่องรับโทรทัศน์ขาวดำ -- ระบบสายอากาศโทรทัศน์ -- จูนเนอร์เครื่องรับโทรทัศน์ -- วงจรขยายสัญญาณไอเอฟภาพรวม -- วงจรดีเทกเตอร์สัญญาณภาพ -- วงจรขยายสัญญาณภาพ -- วงจรหลอดภาพ -- วรจรเอจีซี -- วงจรแยกสัญญาณซิงก์ -- วงจรหักแหทางแนวตั้ง -- วงจรหักเหทางแนวนอน -- ระบบเสียงของเครื่องรับโทรทัศน์ -- วงจรจ่ายกำลังไฟฟ้าของเครื่องรับโทรทัศน์ -- เครื่องมือและการปรับแต่งเครื่องรับโทรทัศน์ -- หลักการซ่อมเครื่องรับโทรทัศน์ -- ตัวอย่างการซ่อมเครื่องรับโทรทัศน์ -- ล.2: สีแสงที่ใช้ในเครื่องรับโทรทัศน์ -- สัญญาณและการส่งโทรทัศน์สี -- มาตรฐานและระบบโทรทัศน์สี -- กระบวนการดิจิตอล -- ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ในเครื่องรับโทรทัศน์ -- บล็อกไดอะแกรมและการทำงานของเครื่องรับโทรทัศน์สี -- หลอดภาพสีและการควบคุมลำอิเล็กตรอน -- การเตรียมสัญญาณภาพสี RGB -- การขยายสัญญาณภาพสี RGB และการขับหลอดภาพ -- วงจรเครื่องรับโทรทัศน์สีแบบรวมระบบ PAL/NTSC/SECAN -- มาตรฐานระบบโทรทัศน์และความถี่

หน้าจอ LED (Light Emitting Diode)ใช้ระบบการฉายภาพด้วยหลอดไฟขนาดเล็ก ซึ่งได้มีการนำเทคโนโลยีของหลอดไฟ LED ไปใช้กับการทำเป็นไฟท้ายรถของรถยนต์ชื่อดังอย่าง Honda อีกด้วย โดยต้นกำเนิดของการใช้การฉายภาพแบบนี้ก็คือ หลอด LED จะทำหน้าที่เป็นตัวกำเนิดแสง และมีผลึกคริสตัลที่เป็นของแข็งกึ่งเหลว 3 สีคือสีแดง น้ำเงินและเขียว คอยบิดตัวกันเป็นองศาและเพื่อให้แสงไฟจากหลอด LED ส่องผ่านมาเพื่อทำให้ฉายออกไปเป็นภาพสีสันที่สวยงามบนหน้าจอได้นั่นเอง

เทคโนโลยีจอแสดงผล LED Screen

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

จอ LED เป็นระบบจอแสดงภาพขนาดใหญ่โดยใช้หลักการทำงานของการผสมสีของ LED หลัก3 สี ได้แก่ สีแดง (Red), สีเขียว(Green) และสีน้ำเงิน (Blue) หรือเรียกสั้นๆว่าRGB ให้เกิดเป็นสีต่างๆโดยความละเอียดในการปรับสีของLED แต่ละสีจะถูกควบคุมด้วยสายสัญญาณที่มีขนาดตั้งแต่16 บิตขึ้นไปดังนั้นยิ่งควบคุมด้วยจำนวนสายสัญญาณมากขึ้นก็จะได้ภาพที่มีความลึกของสี (Processing depth) มากขึ้นจึงได้ภาพที่สมจริงยิ่งขึ้น 

หลักการผสมสีแบบFull Color

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ส่วนประกอบของหลอด LED

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี


7.หลักการทำงานของวงจรภาครับของโทรทัศน์เเละวงจรที่เกี่ยวข้อง

การทำงานของ โทรทัศน์ นั้น จะเริ่มต้นเมื่อคลื่นของภาพและเสียงที่ออกมาจากแหล่งกำเนิด (เช่น สถานีโทรทัศน์) มาสู่เสาอากาศที่บ้าน ซึ่งเป็นตัวรับสัญญาณคลื่น สัญญาณคลื่นก็จะส่งข้อมูลมาตามสายเข้าสู่ตัวรับสัญญาณภายในโทรทัศน์นั้น จากนั้นตัวรับสัญญาณจะแยกคลื่นภาพกับคลื่นเสียงออกจากกัน โดยคลื่นภาพจะส่งไปยังหลอดภาพเพื่อเปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็นสัญญาณไฟฟ้า

การเปลี่ยนสัญญาณคลื่นเป็นสัญญาณไฟฟ้า ที่ขั้วของหลอดภาพ ก่อให้เกิดลำอิเล็กตรอน วิ่งจากขั้วหนึ่งไปอีกขั้นหนึ่ง เมื่อลำอิเลกตรอนวิ่งไปกระทบ จอภาพที่ด้านในเคลือบสารชนิดหนึ่งจึงเกิดเป็นดภาพ โดยการถ่ายเทพลังงานในลักษณะนิ่ง เรียกกันว่า การวาดภาพ โดยการวาดนั้นนจะกวาดเป็นเส้น ตามทางแนวนอน จำนวน 542 เส้น หรือแบบ 625 เส้น ก่อให้เกิดรูปภาพออกมาทางด้านหน้าของจอภาพ จึงสรุปได้ว่าภาพที่เราเห็นทางโทรทัศน์นั้นก็คือการเรืองแสงของสารเคลือบจอภาพ จากการตกกระทบของอิเลคตรอนนั่นเอง

8.หลักการทำงานวงจรภาคสัญญาณ

เสียง(Audio)ในโทรทัศน์เเละวงจรที่เกี่ยวข้อง

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ตัวอย่างวงจรขยายกำลังสัญญาณ

ตัวขยายสัญญาณ หรือ วงจรขยายสัญญาณ(อังกฤษ: Electronic Amplifier or Amplifier) หรือเรียกสั้นๆว่า Amp เป็นอุปกรณ์หรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยเพิ่มขนาดหรือกำลังของสัญญาณ โดยการใช้พลังงานจากแหล่งจ่ายไฟและการควบคุมสัญญาณเอาต์พุทให้มีรูปร่างเหมือนสัญญาณอินพุท แต่มีขนาดใหญ่กว่า ในความหมายนี้ ตัวขยายสัญญาณทำการกล้ำสัญญาณ (อังกฤษ: modulate) เอาต์พุทของแหล่งจ่ายไฟ

ตัวขยายอิเล็กทรอนิกส์มี 4 ประเภทพื้นฐานได้แก่ ตัวขยายแรงดัน, ตัวขยายกระแส, ตัวขยาย transconductance และตัวขยาย transresistance ความแตกต่างอยู่ที่สัญญาณเอาต์พุตจะแทนความหมายของสัญญาณอินพุทแบบเชิงเส้นหรือแบบเอ็กซ์โปเนนเชียล ตัวขยายสัญญาณยังสามารถถูกแยกประเภทโดยการแทนที่ทางกายภาพในขบวนของสัญญาณด้วย[1]

ในบทความนี้ ตัวขยายสัญญาณหมายถึงอุปกรณ์เช่นทรานซิสเตอร์, หลอดสูญญากาศ ฯลฯ วงจรขยายสัญญาณหมายถึงอุปกรณ์ขยายสัญญาณหรือชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆที่ขยายสัญญาณ

9.หลักการทำงานวงจรภาคสัญญาณสี(Chrominance Signal)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

หลักการส่งและรับสัญญาณโทรทัศน์การส่งโทรทัศน์ขาว-ดำ จะดำเนินการส่งสัญญาณด้านภาพ และสัญญาณด้านเสียงออกอากาศขั้นตอนที่สำคัญ คือด้านสัญญาณภาพจะนำสัญญาณทางไฟฟ้าของภาพมารวมกับคลื่นพาหะ หรือแคร์เรีย เรียกว่า วิดีโอ แคร์เรีย (Vidio Carrier) คลื่นนี้สามารถออกอากาศได้ด้านสัญญาณเสียงจะนำสัญญาณไฟฟ้ามารวมกับคลื่นพาหะ หรือ แคร์เรย เรียกว่า ซาวด์ แคร์เรีย (Sound Carrier) คลื่นนี้สามารถออกอากาศได้หลักการเครื่องส่งโทรทัศน์เบื้องต้นด้านสัญญาณภาพกล้องถ่ายภาพ เรียกว่า แคมเม่อร่า ทิ้ว (Camera Tube) จะดำเนินการถ่ายภาพต่างๆ เช่น คน , วิว หรือวัตถุต่างๆ กล้องถ่ายจะเปลี่ยนจากภาพต่างๆ มาเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าของภาพ เรียกว่า วิดีโอ ซิกแนล (Vidio Signal) แล้วจะนำเอา วิดีโอ ซิกแนล ไปขยายให้มีกำลังสูงขึ้นในภาควิดีโอ แอมป์ (Vidio Amp)เครื่องรับโทรทัศน์สัญญาณภาพเรียกว่า วิดีโอแคร์รีย (Vidio Carrier) และสัญญาณเสียงเรียกว่า ซาวด์แคร์เรีย (Sound Carrier) ของแต่ละสถานีส่งโทรทัศน์จะเข้าภาคจูนเนอร์ (Tuner) ภาคจูนเนอร์จะเลือกรับสถานีที่ต้องการสัญญาณด้านเสียงสัญญาณด้านเสียงจะเข้าภาค ซาวด์ดีเทคเตอร์ (Sound Detector) การดีเทคเตอร์จะเป็นแบบ เอฟ เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM Detector) วิธีการดีเทคเตอร์คือการตัดหรือบายพาส (By Pass) แคร์เรีย ลงกราวด์ ดังนั้นสัญญาณด้านเสียงขณะนี้จะเหลือ ซาวด์ซิกแนล (Sound Signal) หรือสัญญาณทางไฟฟ้าของสียง ออดิโอแอมป์ (Audio Amp) จะเป็นภาคขยายเสียง โดยการนำเอา ซาวด์ซิกแนล มาทำการขยายกำลังฬห้สูงขึ้น เพียงพอต่อความต้องการ แล้วส่งซาวด์ซิกแนล ที่ถูกขยายแล้วต่อไปยังลำโพงสัญญาณด้านภาพสัญญาณด้านภาพจะเข้าสู่ วิดีโอดีเทคเตอร์ (Vidio Deyector) การดีเทคเตอร์จะเป็นแบบ เอ เอ็ม ดีเทคเตอร์ (AM Detector) วิธีการดีเทคเตอร์คือการตัดหรือบายพาส (By Pass) แคร์เรียลงกราวด์ ดังนั้นสัญญาณด้านภาพขณะนี้จะเหลือ วิดีโอซิกแนล (Vidio Signal) หรือสัญญาณทางไฟฟ้าของภาพความรู้เกี่ยวกับโทรทัศน์สีการที่คนเราสามารถมองเห็นสีสันต่างๆ ย่อมจะมีความเป็นธรรมชาติ หลังจากที่การคิดค้นเครื่องส่งโทรทัศน์ขาว-ดำ เป็นผลสำเร็จ ก็มีการค้นคว้าพัฒนาเพื่อให้สามารถส่งโทรทัศน์สี โทรทัศน์สีมีองค์ประกอบ มีขั้นตอนต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากมาย แต่มนุษย์เราก็ประสบความสำเร็จในที่สุดสามารถสร้างเคริ่องส่งโทรทัศน์สี ประเทศไทยเริ่มมีกิจการโทรทัศน์สีตั้งแต่ปี 2510 และในปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ ถูกพัฒนาจนถึงยุคไมโครคอมพิวเตอร์ย่านความถี่แสงและความยาวคลื่นสีสันต่างๆ ที่เกิดจากการที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือเกิดจากธรรมชาติ จะมีทั้งสีมองเห็นและสีที่มองไม่เห็น คลื่นแสงที่สามารถมองเห็นจะอยู่ระหว่างรังสีอินฟาเรด (Infraed) กับรังสีอุลตร้าไวโอเลต (Ultraviolet) ส่วนที่นอกเหนือจากนี้จะมองไม่เห็นสี สีสันทั้งหลายต่างมีพลังแม่เหล็กไฟฟ้า คือ มีความยาวคลื่นและความถี่ของแต่ละสีจะไม่เท่ากัน-สีม่วง (Violet) มีความยาวคลื่นประมาณ 400-450 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร-สีน้ำเงิน (Blue) มีความยาวคลื่นประมาณ 450-500 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร-สีเขียว (Green) มีความยาวคลื่นประมาณ 500-570 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร-สีเหลือง (Yellow) มีความยาวคลื่นประมาณ 570-590 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร-สีส้ม (Orange) มีความยาวคลื่นประมาณ 590-610 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร-สีแดง (Red) มีความยาวคลื่นประมาณ 610-700 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตรหลักการผสมสีหลักการผสมสี คือ การนำเอาแม่สี (Primary Color) 3 มาสีผสมเข้าด้วยกันจะก่อให้เกิดสีสันต่างๆ มากมาย หลักการผสมสี จะมี 2 ลักษณะ คือ แบบแอ็ดดิทีฟ (Additive) และแบบซับแทรกทีฟ (Subtractive)1. การผสมแบบ แอ็ดดิทีฟ (Additive) การผสมในลักษณะนี้จะนำเอาแม่สี 3 แม่สี คือ แดง , เขียว และน้ำเงิน เมื่อนำมาผสมกันเข้าจะได้สีที่เจือจางกว่าเดิม การผสมแบบแอ็ดดิทีฟ จะนำมาใช้ในกิจการโทรทัศน์2. การผสมแบบซับแทรกทีฟ (Subtractive)การผสมแบบซับแทรกทีฟ จะมีมีสี 3 แม่สี มาผสมกันได้แก่-1.แดง-2.น้ำเงิน-3.เหลืองการผสมแบบนี้จะให้สีเข้มข้นกว่าเดิม จะเป็นการผสมใช้ในงานวาดเขียนหรือการพิมพ์แดง+เหลือง = แดง , เหลืองแดง+น้ำเงิน = สีม่วงเหลือง+น้ำเงิน = เขียว แดง+เหลือง+น้ำเงิน = ดำสัดส่วนการผสมแสงสีในวิธีการของโทรทัศน์ สัญญาณส่งสว่าง เรียกว่า สัญญาณลูมิแนนซ์ (Luminance) หรือสัญญาณ Y จะเป็นสัดส่วนที่ชี้บอกความส่องสว่างของสีนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นการผสมสีจากแม่สี ผลจากการทดลองเมื่อนำหลอดไฟ สีแดง , น้ำเงิน , สีเขียว ให้มีอัตราส่วนที่เหมาะสมจะห็นเป็นสีขาวได้จากสมการY = 0.3 R + 0.59 G + 0.11การสร้างสัญญาณสีจากภาพสีภาพที่ปรากฏอยู่ทั่วๆ ไป ที่เราสามารถมองเห็นเป็นภาพสี จะประกอบด้วยสีสันต่างๆมากมาย ส่วนที่จะเปลี่ยนสัญญาณภาพสีเป็นสัญญาณสีได้แก่ กล้องถ่ายโทรทัศน์สีและหลอดภาพสี จะสร้างสัญญาณสีไม่ครบ แต่จะสร้างขึ้นมาเพียง 3 เท่านั้นคือ แดง เขียว น้ำเงิน เครื่องส่งโทรทัศน์สีระบบ PALเครื่องส่งโทรทัศน์สีระบบ (PAL)จากการที่ได้ศึกษาเรื่องกล้องถ่ายภาพโทรทัศน์สี จะพบว่าได้มีสัญญาณทางไฟฟ้าจากกล้องถ่ายแต่ละกล้อง คือสัญญาณเอาต์จากกล้องสีแดง กล้องสีเขียว และกล้องสีน้ำเงิน ขั้นตองต่อไปจะนำสัญญาณทั้ง 3 มาเข้าวงจร เมตริกซ์ จะก่อให้เกิดสัญญาณ1. สัญญาณขาว-ดำ ลูมิแนนซ์ (Luminance) หรือ สัญญาณ Y2. สัญญาณสี โครมิแนนซ์ (Chrominance) ประกอบด้วย- สัญญาณ R-Y- สัญญาณ B-Yหลักการเครื่องรับโทรทัศน์สีเบื้องต้นหลักการเครื่องรับโทรทัศน์สีเบื้องต้น โดยพิจารณาเครื่องรับโทรทัศน์สีจะคล้ายกับเครื่องรับโทรทัศน์ขาว-ดำ จะแตกต่างเฉพาะเครื่องรับโทรทัศน์สีจะเพิ่มวงจรภาคสีหรือโครมิแนนซ์สัญญาณจากสถานีส่ง จะประกอบไปด้วยสัญญาณหลัก 2 สัญญาณ1. สัญญาณด้านเสียง2. สัญญาณด้านภาพ- สัญญาณด้านขาว-ดำ- สัญญาณด้านสี- สัญญาณซิงค์โครไนเซชันสัญญาณเข้ามาที่สายอากาศ จะเข้าสู่วงจรของเครื่องรับคือ จูนเนอร์ จูนเนอร์จะเลือกรับสถานีที่ต้องการ และดำเนินวิธีการของจูนเนอร์จะได้สัญญาณเอาต์พุต จูนเนอร์ คือ VIF และ SIF

10.หลักการทำงานวงจรภาคสัญญาณสีส่องสว่าง(Luminance Signal)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

ความรู้เกี่ยวกับโทรทัศน์สี
การที่คนเราสามารถมองเห็นสีสันต่างๆ ย่อมจะมีความเป็นธรรมชาติ หลังจากที่การคิดค้นเครื่องส่งโทรทัศน์ขาว-ดำ เป็นผลสำเร็จ ก็มีการค้นคว้าพัฒนาเพื่อให้สามารถส่งโทรทัศน์สี โทรทัศน์สีมีองค์ประกอบ มีขั้นตอนต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากมาย แต่มนุษย์เราก็ประสบความสำเร็จในที่สุดสามารถสร้างเคริ่องส่งโทรทัศน์สี ประเทศไทยเริ่มมีกิจการโทรทัศน์สีตั้งแต่ปี 2510 และในปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆ ถูกพัฒนาจนถึงยุคไมโครคอมพิวเตอร์
ย่านความถี่แสงและความยาวคลื่น
สีสันต่างๆ ที่เกิดจากการที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือเกิดจากธรรมชาติ จะมีทั้งสีมองเห็นและสีที่มองไม่เห็น คลื่นแสงที่สามารถมองเห็นจะอยู่ระหว่างรังสีอินฟาเรด (Infraed) กับรังสีอุลตร้าไวโอเลต (Ultraviolet) ส่วนที่นอกเหนือจากนี้จะมองไม่เห็นสี สีสันทั้งหลายต่างมีพลังแม่เหล็กไฟฟ้า คือ มีความยาวคลื่นและความถี่ของแต่ละสีจะไม่เท่ากัน
-สีม่วง (Violet) มีความยาวคลื่นประมาณ 400-450 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
-สีน้ำเงิน (Blue) มีความยาวคลื่นประมาณ 450-500 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
-สีเขียว (Green) มีความยาวคลื่นประมาณ 500-570 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
-สีเหลือง (Yellow) มีความยาวคลื่นประมาณ 570-590 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
-สีส้ม (Orange) มีความยาวคลื่นประมาณ 590-610 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
-สีแดง (Red) มีความยาวคลื่นประมาณ 610-700 มิลลิไมครอนหรือนาโนเมตร
หลักการผสมสี
หลักการผสมสี คือ การนำเอาแม่สี (Primary Color) 3 มาสีผสมเข้าด้วยกันจะก่อให้เกิดสีสันต่างๆ มากมาย หลักการผสมสี จะมี 2 ลักษณะ คือ แบบแอ็ดดิทีฟ (Additive) และแบบซับแทรกทีฟ (Subtractive)
1. การผสมแบบ แอ็ดดิทีฟ (Additive)
การผสมในลักษณะนี้จะนำเอาแม่สี 3 แม่สี คือ แดง , เขียว และน้ำเงิน เมื่อนำมาผสมกันเข้าจะได้สีที่เจือจางกว่าเดิม การผสมแบบแอ็ดดิทีฟ จะนำมาใช้ในกิจการโทรทัศน์
2. การผสมแบบซับแทรกทีฟ (Subtractive)
การผสมแบบซับแทรกทีฟ จะมีมีสี 3 แม่สี มาผสมกันได้แก่
-1.แดง
-2.น้ำเงิน
-3.เหลือง
การผสมแบบนี้จะให้สีเข้มข้นกว่าเดิม จะเป็นการผสมใช้ในงานวาดเขียนหรือการพิมพ์
แดง+เหลือง = แดง , เหลือง
แดง+น้ำเงิน = สีม่วง
เหลือง+น้ำเงิน = เขียว
แดง+เหลือง+น้ำเงิน = ดำ
สัดส่วนการผสมแสงสี
ในวิธีการของโทรทัศน์ สัญญาณส่งสว่าง เรียกว่า สัญญาณลูมิแนนซ์ (Luminance)
หรือสัญญาณ Y จะเป็นสัดส่วนที่ชี้บอกความส่องสว่างของสีนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นการผสมสีจากแม่สี ผลจากการทดลองเมื่อนำหลอดไฟ สีแดง , น้ำเงิน , สีเขียว ให้มีอัตราส่วนที่เหมาะสมจะห็นเป็นสีขาวได้จากสมการ
Y = 0.3 R + 0.59 G + 0.11
การสร้างสัญญาณสีจากภาพสี
ภาพที่ปรากฏอยู่ทั่วๆ ไป ที่เราสามารถมองเห็นเป็นภาพสี จะประกอบด้วยสีสันต่างๆ
มากมาย ส่วนที่จะเปลี่ยนสัญญาณภาพสีเป็นสัญญาณสีได้แก่ กล้องถ่ายโทรทัศน์สีและหลอดภาพสี จะสร้างสัญญาณสีไม่ครบ แต่จะสร้างขึ้นมาเพียง 3 เท่านั้นคือ แดง เขียว น้ำเงิน
เครื่องส่งโทรทัศน์สีระบบ PAL
เครื่องส่งโทรทัศน์สีระบบ (PAL)
จากการที่ได้ศึกษาเรื่องกล้องถ่ายภาพโทรทัศน์สี จะพบว่าได้มีสัญญาณทางไฟฟ้าจากกล้องถ่ายแต่ละกล้อง คือสัญญาณเอาต์จากกล้องสีแดง กล้องสีเขียว และกล้องสีน้ำเงิน ขั้นตองต่อไปจะนำสัญญาณทั้ง 3 มาเข้าวงจร เมตริกซ์ จะก่อให้เกิดสัญญาณ
1. สัญญาณขาว-ดำ ลูมิแนนซ์ (Luminance) หรือ สัญญาณ Y
2. สัญญาณสี โครมิแนนซ์ (Chrominance) ประกอบด้วย
- สัญญาณ R-Y
- สัญญาณ B-Y
หลักการเครื่องรับโทรทัศน์สีเบื้องต้น
หลักการเครื่องรับโทรทัศน์สีเบื้องต้น โดยพิจารณาเครื่องรับโทรทัศน์สีจะคล้ายกับเครื่องรับโทรทัศน์ขาว-ดำ จะแตกต่างเฉพาะเครื่องรับโทรทัศน์สีจะเพิ่มวงจรภาคสีหรือ
โครมิแนนซ์
สัญญาณจากสถานีส่ง จะประกอบไปด้วยสัญญาณหลัก 2 สัญญาณ
1. สัญญาณด้านเสียง
2. สัญญาณด้านภาพ
- สัญญาณด้านขาว-ดำ
- สัญญาณด้านสี
- สัญญาณซิงค์โครไนเซชัน
สัญญาณเข้ามาที่สายอากาศ จะเข้าสู่วงจรของเครื่องรับคือ จูนเนอร์ จูนเนอร์จะเลือกรับ
สถานีที่ต้องการ และดำเนินวิธีการของจูนเนอร์จะได้สัญญาณเอาต์พุต จูนเนอร์ คือ VIF และ SIF

11.หลักการทำงานวงจรภาคสัญญาณซิงค์(Sync)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

สัญญาณซิงค์  คือ  สัญญาณที่ส่งจากเครื่องส่วไปยังเครื่องรับ  เพื่อให้เครื่องรับเขียนภาพในจังหวะเดียวกันกับเครื่องส่งสัญญาณที่มี  2  ชนิดคือ  ซิงค์ในแนวตั้ง  และในแนวนอน
        ซิงค์ในแนวตั้ง  ความถี่  50 เฮิรต์  ใช้บังคับไม่ให้ภาพเลื่อน  ถ้าซิงค์ในแนวตั้งไม่ทำงานหรือผิดพลาดภาพจะเคลื่อน
        ซิงค์ในแนวนอน  ความถี่  15625  เฮิรตซ์  ใช้บังคับไม่ให้ภาพล้ม   ถ้าซิงค์ในแนวนอนไม่ทำงานหรือผิดพลาดภาพจะเคลื่อน

    

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

12.หลักการทำงานวงจรภาคควบคุมการสแกน(Deflection)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

 ้หลอดรังสีแคโทด สโคปเป็นเครื่องมือวัดทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญอีกชนิดหนี่งที่ใช้ในการวัดแสดงรูปคลื่นสัญญาณต่างๆ ออกมาเป็นภาพ ปรากฎบนจอหลอดภาพให้เห็นได้ เช่น การวัดสัญญาณกระแสไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า(ที่เป็นไฟ AC หรือ DC) การวัดความถี่ของ สัญญาณ การวัดเฟสของสัญญาณ และรวมถึงการวัดสัญญาณพัลส์การอ่านค่าแอมพลิจูดของสัญญาณจะเป็น พีค-ทู-พีค หรือค่าพีคและค่าเวลาเป็นวินาที

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

หลักการทำงานของออสซิลโลสโคป

        ออสซิสโลสโคปจะใช้หลักการบังคับการบ่ายเบนของลำอิเล็กตรอนภายในหลอดภาพรังสีแคโทด (Cathode ray tube ; CRT)
ด้วยระบบการบ่ายเบนทางไฟฟ้าสถิต (Electrostatic deflection)

หน้าที่หลักของออสซิลโลสโคป คือ

    1. รับสัญญาณ
    2. แสดงภาพของสัญญาณที่รับ
    3. วิเคราะห์สัญญาณ


ประโยชน์ของการนำออสซิสโลสโคปไปใช้งาน

    1. ใช้วัดแรงดันไฟฟ้าตรง (DC) วัดแรงดันไฟฟ้าสลับ (AC) และกระแสไฟฟ้าของสัญญาณ
    2. ใช้วัดค่าเวลา คาบเวลา และความถี่ของสัญญาณ
    3. ใช้วัดผลต่างทางเฟสของสัญญาณ และเปรียบเทียบสัญญาณ 2 สัญญาณ
    4. ใช้วัดตรวจสอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับความถี่และรูปคลื่นสัญญาณที่ถูกต้อง เช่น การปรับจูนเครื่องรับ-ส่งวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ วิดีโอ เครื่องเสียง เป็นต้น
    5. ใช้ตรวจเช็คคุณสมบัติของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ว่าดีหรือเสียได้โดยดูจากภาพที่ปรากฎบนจอ
    6. นำไปใช้ประกอบร่วมกับอุปกรณ์อื่นเพื่อให้สามาถใช้งานด้านอื่นได้กว้างขวาง


บล็อดไดอะแกรมของออสซิลโลสโคป 

    แผนภาพบล็อกของออสซิลโลสโคป (Oscilloscope block diagram) ทั่วไป (แบบ 1 ลำแสง) มีส่วนประกอบดังนี้

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ส่วนประกอบแผนภาพของบล็อกของออสซิสโลสโคป คือ

    1. Cathode ray tube, or CRT
    2. Vecital amplifier
    3. Delay line
    4. Time base generator
    5. Horizontal amplifier
    6. Trigger circuit
    7. Power supply

อธิบายแผนภาพบล็อก

    1. หลอดรังสีแคโทดหรือเรียกสั้นๆ ว่า "CRT" ถือว่าเป็นหัวใจของออสซิลโลสโคป ด้านในหลอดภาพฉาบด้วยสารเรืองแสง เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งกระทบจุดใดจุดนั้นจะเรืองแสงขึ้นจึงเกิดเป็นภาพให้เห็น
    2. ภาคขยายสัญญาณทางแนวตั้ง (Vertical amplifier) ทำหน้าที่ขยายสัญญาณทางแนวตั้งให้มีความแรงขึ้นที่ส่งมาจากภาคลดทอนแรงดัน(Volt/DIV) ทางแนวตั้ง
    3. ภาคหน่วงสัญญาณ (Delay line) จะทำหน้าที่หน่วงสัญญาณอินพุตทางแนวตั้ง (Vertical input) ก่อนที่จะป้อนเข้าแผ่นเพลตบ่ายเบนทางแนวตั้ง (Vertical deflection plate) ใช้เวลาการหน่วงประมาณ 0.25 ms
    4. เครื่องกำเนิดฐานเวลา (Time base generator) หรือตัวกำเนิดการกวาด (Sweep generator) ทำหน้าที่ควบคุมรูปคลื่นฟันเลื่อย (Sawtooth waveform) ให้มีความถูกต้อง (โดยปรับปุ่ม Time/DIV) ก่อนป้อนให้กับภาคขยายสัญญาณทางแนวนอน (Horizontal amplifier)
    5. ภาคขยายสัญญาณทางแนวนอนทำหน้าที่ขยายสัญญาณรูปฟันเลื่อยให้มีความแรงพอก่อนป้อนเข้าแผ่นเพลตบ่ายเบนทางแนวนอน ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสถิตควบคุมลำอิเล็กตรอนให้บ่ายเบนซ้ายขวาทางแนวนอนได้
    6. ภาควงจรชุดชนวน (Trigger circuit) หรือวงจรซิงค์ (Synce circuit) ทำหน้าที่ควบคุมให้สัญญาณแนวนอนทำงานพร้อมกับสัญญาณแนวตั้ง ทำให้ภาพบนจอหยุดนิ่ง โดยรับสัญญาณมาจากภาคขยายแนวตั้งมาทำเป็นสัญญาณพัลส์ไปควบคุมรูปคลื่นฟัน เลื่อยของภาคกำเนิดฐานเวลาให้มีความถี่ที่ถูกต้อง
    7. ภาคจ่ายไฟ (Power supply) แรงดันไฟต่ำ (Low voltage; LV) จะจ่ายไฟให้กับทุกวงจร ยกเว้น แรงดันไฟสูง (High voltage ; HV) จ่ายให้กับหลอด CRT

หลักการเกิดภาพบนจอออสซิสโลสโคป

การเกิดรูปสัญญาณที่จอออสซิลโลสโคป (หลอด CRT) อาศัยหลักการทำงานของ 2 ภาคใหญ่ๆ คือ
    1. การบ่ายเบนสัญญาณทางแนวตั้ง (Vertical deflection)
    2. การบ่ายเบนสัญญาณทางแนวนอน (Horizontal deflection)
การป้อนสัญญาณเข้าที่ชุดแผ่นเพลตบ่ายเบนทั้งแนวตั้งและแนวนอนโดยตรงจะต้องมีค่าแรงดันไฟฟ้าที่สูงมาก เพื่อให้ลำอิเล็กตรอนเกิดบ่ายเบนไปถึงหน้าจอที่ฉาบด้วยสารเรืองแสง ดังนั้นถ้ากรณีที่สัญญาณเข้าเป็นแรงดันไฟฟ้าค่าต่ำๆ ก่อนเข้าแผ่นเพลตบ่ายเบนทั้ง 2 ชุด โดยการขยายสัญญาณดังกล่าวเสียก่อน เรียกว่าวงจรขยายสัญญาณทางแนวตั้งและวงจรขยายสัญญาณทางแนวนอนจะ เห็นการแสกน (Scan) ของรูปคลื่นไซน์ที่ป้อนเข้าทางแนวตั้งและรูปคลื่นฟันเลื่อยเข้าทางแนวนอน ภาพที่จะปรากฎจะเป็นการเริ่มต้นสแกนของจุดลำแสงอิเล็กตรอนที่จอหลอดภาพวิ่ง จากซ้ายไปขวา เริ่มจากตำแหน่งศูนย์เหมือนกันจนกระทั่งถึงจุดสูงสุด (เลข 8) ของสัญญาณคลื่นไซน์และฟันเลื่อย จากนั้นจุดลำแสงอิเล็กตรอนบนจอหลอด CRT จะวิ่งกลับจากตำแหน่งสูงสุด (ขวาสุด) มายังซ้ายสุดด้วยความเร็วที่สูงมากเราจึงเห็นรูปสัญญาณคลื่นไซน์ปรากฎหน้าจอ


หลอดรังสีแคโทด
    หลอดรังสีแคโทด (Cathode ray tube ; CRT) หรือ CRT เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงค่ารูปร่างของสัญญาณที่วัดได้บนหน้าจอ หลอด CRT มีโครงสร้างภายใน (ดังรูป)

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ส่วนประกอบภายในหลอด CRT แบ่งได้เป็น 4 ส่วน คือ
    1. ชุดปืนอิเล็กตรอน (Electron gun assembly)
    2. ชุดแผ่นเพลตบ่ายเบน (Deflection plate assembly)
    3. จอภาพเรืองแสง (Fluorescent screen)
    4. ตัวหลอดแก้วและขั้วหลอด (Glass envelope and base of the tube)
        1. ชุดปืนอิเล็กตรอน ในส่วนนี้จะทำหน้าที่คล้ายกับหลอดไทรโอด (Triode) คือ แคโทดจะเป็นตัวยิงอิเล็กตรอนไปยังจอภาพ และกริดเป็นตัวควบคุมการจ่ายอิเล็กตรอน และมีแอโนดเป็นตัวรับอิเล็กตรอนจะสามารถวิ่งผ่านรูเล็กๆ นี้ได้ มีลักษณะเป็นลำอิเล็กตรอน ขนาดของลำอิเล็กตรอนสามารถปรับหรือควบคุมได้โดยใช้ปุ่มปรับความเข้ม การปรับปรุงดังกล่าวเป็นการปรับแรงดันไฟลบที่กริด ถ้ากริดเป็นไฟลบมากลำอิเล็กตรอนก็จะลดลงทำให้ความเข้มที่จอภาพลดลงและถ้า กริดเป็นไฟลบน้อย ลำอิเล็กตรอนจะมาก ความเข้มที่จอภาพก็มากตาม
เมื่ออิเล็กตรอนผ่านกริดควบคุมจะถูกเร่งความเร็วโดยขั้วแอโนดเร่งความเร็ว (Accelerating anode) 2 แผ่นที่มีศักย์ไฟฟ้าบวกค่าสูงป้อนให้ ระหว่างแอโนดทั้งสองจะมีแอโนดโฟกัส (Focusing anode) คั่นอยู่ซี่งจะทำหน้าที่ช่วยปรับให้อิเล็กตรอนเป็นลำขนาดเล็กและคมชัดขึ้น ลำอิเล็กตรอนที่ถูกปรับโฟกัสและถูกเร่งความเร็วแล้วจะเคลื่อนที่ผ่านเพลตบ่ายเบนแนวตั้งและแนวนอนพุ่งไปกระทบจอเรืองแสงต่อไป
        2. ชุดแผ่นเพลตบ่ายเบน (Deflection plate assembly) ประกอบด้วยแผ่นเพลตโลหะ 2 แผ่น วางคู่ขนานกันทั้งทางแนวตั้งและแนวนอน โดยมีแรงดันไฟฟ้าป้อนให้กับแผ่นโลหะทั้งสอง เป็นผลทำให้เกิดสนามไฟฟ้าที่มีค่าสม่ำเสมอเกิดขึ้นระหว่างแผ่นโลหะนี้ เมื่อลำอิเล็กตรอนที่ถูกเร่งความเร็วผ่านเข้ามายังแผ่นบ่ายเบนเป็นผลทำให้ ได้รับอิทธิพลจากสนามไฟฟ้าภายในดังกล่าวจะเกิดแรงที่กระทำต่ออิเล็กตรอน
        3. จอภาพเรืองแสง (Fluorescent screen) คือจอด้านหน้าสุดของหลอด CRT ที่ฉาบด้วยสารเรืองแสงจำพวกฟอสเฟอร์ (Phospher) ซึ่งเป็นสารทำให้เกิดแสงสว่างบนจอภาพ โดยจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงเพมื่อถูกวิ่งชนด้วยลำอิเล็กตรอน ที่มีความแรงและกำลังสูง
คุณสมบัติของสารในการปล่อยแสง เมื่อได้รับการกระตุ้น (ชน) โดยลำอิเล็กตรอนเรียกว่า "ฟลูออเรสเซนต์" ความสามารถของสารในการปล่อยแสงออกมาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะหมดลำอิเล็กตรอนแล้วก็ตามเราเรียกว่า "ฟอสเฟอเรสเซนซ์" (Phospherescence) และช่วงระยะเวลาที่เกิดการเรืองแสงต่อเนื่องเรียกว่า "ความคงสว่าง" (Persistence) ของสารเรืองแสง

        4. ตัวหลอดแก้วและขั้วหลอด (Glass envelope and bade of the tube)

ประเภทของหลอด CRT

    ถ้าแบ่งตามจำนวนของลำแสงอิเล็กตรอนภายในหลอดจะแบ่งออกเป็น

    1.1 ลำแสงเดียว (Single-beam)
    2.2 ลำแสงคู่ (Dual-beam)
    3.3 หลายลำแสง (Multi-beam)

สายโพรบกับออสซิลโลสโคป

โพรบ (Probe)
    การวัดสัญญาณอินพุตของสโคปนั้นจำเป็นต้องผ่านทางสายเคเบิลแกนร่วม (Coaxial cable) ซึ่งสายเคเบิลนี้เราเรียกว่า "สายโพรบ"
โพรบเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับตรวจวัดสัญญาณ ถือว่าเป็นอุปกรณ์ส่วนหน้าในการวัดสัญญาณที่ต้องการตรวจสอบ โดยไม่ให้เกิดการรบกวนของสัญญาณขณะใช้งาน แล้วส่งผ่านสัญญาณให้อินพุตทางแนวตั้ง
ส่วนประกอบของโพรบมี 2 อย่างคือ สายนำสัญญาณและกราวนด์ ทั้ง 2 อย่างนี้ประกอบกันโดยมีการแบ่งเป็นชั้นๆ กราวนด์จะถูกถักเป็นเปียพันรอบสายสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มทั้งหมดอีกครั้ง สัญญาณจะผ่านตัวนำที่อยู่ตรงกลางและกราวนด์ที่อยู่รอบนอกจะเป็นตัวป้องกัน สัญญาณที่ไม่ต้องการผ่านเข้าไปได้
    โพรบมีอยู่หลายแบบขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งาน เช่น โพรบแบบพาสซีฟ (Passive probe) โพรบแบบแอกทีฟ (Active prove) โพรบวัดกระแสไฟฟ้า (Current-probe) และโพรบวัดแรงดันไฟสูง (High voltage probe) เป็นต้น
โพรบที่นิยมใช้มากที่สุดจะเป็นโพรบแบบพาสซีฟ โดยเป็นแบบไม่มีการลดทอนสัญญาณ (Probe x 1) หรือ 1 : 1 และแบบลดทอนสัญญาณลง 10 เท่า (Probe x 10) หรือ10 : 1
สายโพรบนี้จะมีค่าความจุไฟฟ้า (Capacitance ; Ccc) ต่อคร่อมอยู่เพื่อป้องกันสัญญาณความถี่สูงที่จะเข้าไปปรากฎบนจอภาพ ส่วนด้านอินพุตของสโคปจะมีค่าความต้านทาน (Ri) ต่อขนานอยู่กับค่าความจุไฟฟ้า (Ci)

13.หลักการทำงานวงจรภาคสัญญาณภาพ(Video Amp)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

  1. ตรวจเช็คดูว่าวิธีการรับสัญญาณอินพุทของทีวี สอดคล้องกับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่นั้น.
    ตรวจเช็คดูว่าทีวีนั้นและอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่ (อุปกรณ์  Audio/Video เช่น เครื่องเล่น Blu-ray) มีการเปิดไว้แล้ว. กดที่ปุ่ม Input บนตัวรีโมทคอนโทรลของทีวี จากนั้นสลับวิธีการป้อนสัญญาณอินพุทไปเป็นอันที่สอดคล้องกับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่ และตรวจเช็คดูว่ามีภาพแสดงออกมาบนหน้าจอหรือไม่.

    ตัวอย่าง: อุปกรณ์ Audio/Video เชื่อมต่อกับขั้วอินพุทที่เป็นคอมโปสิตของทีวี .→ กดที่ปุ่ม Input บนตัวรีโมทคอนโทรลของทีวีเพื่อเลือกวิดีโอ.

    บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

  2. ตรวจเช็คดูว่าสายมีการเชื่อมต่อเข้ากับทีวีและอุปกรณ์ แน่นหนาดีแล้ว.
    อาจจะมีกรณีที่ไม่มีสัญญาณ ออดิโอ/วิดีโอ ออกมาจากทีวีอย่างถูกต้อง ถ้าหากสายที่เชื่อมต่อเข้ากับทีวี และอุปกรณ์ A/V นั้นมีการหลุดหลวมจากขั้วต่อ. ตรวจเช็คดูว่าสายมีการเชื่อมต่อกับทีวีและอุปกรณ์ที่แน่นหนาดีแล้ว.
  3. เมื่อใช้สาย คอมโปสิต(RCA), ให้ตรวจเช็คดังต่อไปนี้.

    ตรวจเช็คดูว่าวิธีการรับสัญญาณอินพุทของระบบออดิโอ(เช่น ภาคขยายเสียงหรือเธียเตอร์แสตนด์) สอดคล้องกับอุปกรณ์ให้สัญญาณวิดีโอออกมาเมื่ออุปกรณ์ให้สัญญาณวิดีโอเชื่อมต่อกับทีวีผ่านทางระบบออดิโอนั้น.

    บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

    [1]:อุปกรณ์ให้สัญญาณวิดีโอออกมา(Video output)(ตัวอย่างเช่น: เครื่องเล่น BD/DVD)
    [2]: ระบบออดิโอ(ตัวอย่างเช่น: AV Amplifier)
    [3]: TV

14.หลักการทำงานวงจรภาคเมทริกซ์(Matrix)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

รหัสสีเขียวของเมทริกซ์ สัญลักษณ์ที่ปรากฏในเมทริกซ์ทุกๆภาค

โลกของเมทริกซ์ (อังกฤษ: The Matrix Universe) คือชุดเรื่องราวทั้งหมดที่ต่อยอดมาจากภาพยนตร์แนวไซไฟเรื่อง The Matrix (เดอะ เมทริกซ์ เพาะพันธุ์มนุษย์เหนือโลก 2199) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสงครามระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรในโลกอนาคต สร้างสรรค์และกำกับโดยพี่น้องวาชอว์สกี้(Andi Wachowski และ Larry Wachowski) โดยการร่วมงานสร้างกับวอร์เนอร์สบราเธอร์ส(Warner Bros.) และ Village Roadshow Pictures ออกฉายครั้งแรกในปี 1999

15.หลักการทำงานวงจรภาคจ่ายไฟฟ้า(Power Supply)ในโทรทัศน์และวงจรที่เกี่ยวข้อง

รูปแสดงแหล่งจ่ายไฟแบบหลอดสูญญากาศ แขวนบนแร็ค ปรับได้ ทำงานที่ +/- 1500 volts DC, 0 to 100mA output, สามารถจำกัดกระแสได้

แหล่งจ่ายไฟ (อังกฤษ: Power supply)เป็นอุปกรณ์ที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับโหลดไฟฟ้า. เป็นคำที่ใช้กันมากที่สุด ในการแปลงพลังงานไฟฟ้าจากรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง แม้ว่ามันจะยังอาจหมายถึง อุปกรณ์ที่แปลงพลังงานรูปแบบหนึ่ง (เช่นพลังงานกล, พลังงานเคมี, พลังงานแสงอาทิตย์) ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า. แหล่งจ่ายไฟแบบควบคุมได้(อังกฤษ: regulated power supply)สามารถควบคุม แรงดันหรือกระแสเอาต์พุตให้มีค่าที่คงที่แน่นอน แม้ว่าโหลดจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีการเปลี่ยนแปลงที่พลังงานที่อินพุทก็ตาม

แหล่งจ่ายไฟทุกตัวต้องได้รับพลังงานจากแหล่งพลังงานภายนอกเพื่อจ่ายให้โหลดและการบริโภคพลังงานของตัวมันเองในขณะที่ปฏิบัติงาน แหล่งพลังงานภายนอกจะขึ้นอยู่กับการออกแบบ. แหล่งจ่ายไฟอาจจะได้รับพลังงาน จาก:

แหล่งจ่ายไฟอาจถูกนำมาใช้แบบแยกส่วน หรือเป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่งของโหลด เช่นแหล่งจ่ายไฟในคอมพิวเตอร์เดสก์ทอป และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วไปสำหรับผู้บริโภค

คุณลักษณะเฉพาะที่ระบุไว้บนแหล่งจ่ายไฟ ได้แก่:

  • ปริมาณของแรงดันและกระแสที่จะสามารถจ่ายให้กับโหลดได้
  • วิธีการที่จะทำให้แรงดันหรือกระแสเอาต์พุตมีเสถียรภาพ ภายใต้เงื่อนไขที่กระแสไฟฟ้าอินพุทและสภาวะของโหลดที่เปลี่ยนแปลง
  • ระยะเวลาการใช้งานได้นานเท่าใดโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิงหรือหรือชาร์จประจุใหม่ (เฉพาะ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้แหล่งพลังงานแบบพกพา)

16.การใช้เครื่องมือวัดทดสอบมาตรฐานสัญญาณโทรทัศน์

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี
เครื่องทดสอบกล้องวงจรปิด IPC CCTV จอทัชสกรีนขนาด 7 นิ้ว สำหรับงานติดตั้งและซ่อมบำรุงกล้องแบบ IP analog, กล้อง HD coaxial และอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยอื่นๆ ด้วยความละเอียดหน้าจอ 1920x1200 จึงสามารถแสดงภาพจากกล้อง HD และกล้องอะนาล็อกที่ความละเอียดสูง

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

เครื่องวัดและทดสอบในงานติดตั้งและงานซ่อมบำรุงระบบกล้องทีวีวงจรปิด ขนาดเล็กเท่ามือถือ มีจอมอนิเตอร์สีในตัว บันทึกคลิปวิดีโอได้ ทำงานด้วยแบตเตอรี่ สะดวกในการใช้งานภาคสนาม

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

เป็นอุปกรณ์ Encoder DVB H.264
สามารถแปลง TS ไป TS MPEG-2 HD, MPEG-2 SD
รองรับ Full HD 1080i
สามารถรับอินพุท HD-SDI, HDMI, YPbPr/RGB

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี
Promax Ranger Neo Lite เป็นเครื่องวัดรุ่นใหม่ ที่มีความสามารถในการตรวจวิเคราะห์สัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอล หรือทีวีดาวเทียม และตรวจวัดสัญญาณ WiFi ได้ด้วย รองรับ DVB – T2 / S2 / C2 จอสัมผัส Touch Screen + ปุ่มควบคุมการทำงาน สเปคตรัมความละเอียดสูง Sweep Rate 70 ms รองรับ HEVC H.265 demodulation

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี
มีฟังก์ชันที่จัดเต็มมาสอดคล้องกับเทคโนโลยี สัญญาณภาพที่มีการบีบอัดข้อมูลมาตรฐาน HEVC H.265 และการวิเคราะห์สัญญาณ T2 – MI Packet Analysis, IPTV TESTING นอกจากนั้น ความสามารถทางด้านสเปคตรัม ที่มีความเร็วในการ Sweep สูงขึ้น หน่วยความจำภายในมากขึ้นถึง 7GB สามารถบันทึก Transport stream ได้มากขึ้น

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี
เครื่องวัดและวิเคราะห์สัญญาณทีวีดิจิตอล DVB-T/T2, DVB-C/C2, DVB-S/S2 แสดงผลการวัดหลายหน้าจอพร้อมกัน โดยยังคงสมรรถนะยอดเยี่ยมและความเร็วสูง ตามแบบฉบับ HD RANGER เหมือนเดิม

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

เครื่องวัดความแรงสัญญาณแบบมือถือ สำหรับตรวจวัดสัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอล DVB-T2 สะดวก ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับงานติดตั้งสายอากาศ ซ่อมบำรุงสายสัญญาณในอาคาร หรือตาม outlet ต่างๆ

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

เป็นเครื่องมือวัดช่วยในการติดตั้ง และปรับจานรับสัญญาณดาวเทียม ในระบบ KU BAND และ C BAND ใช้งานง่าย มีฟังก์ชั่นแสดง Spectrum ของสัญญาณ เพื่อช่วยในการปรับแต่งให้ได้สัญญาณถูกต้อง ทั้ง Cross Polarization Hor/Ver

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

เป็นอุปกรณ์บันทึก MPEG-2 Transport Stream
เหมาะสำหรับงานทดสอบระบบ Broadcast DTV หรือทดสอบ DVB
สามารถบันทึกได้ต่อเนื่อง 15 ชั่วโมง

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

ใช้ในการทดสอบสาย Coaxial เคเบิลสำหรับงานเคเบิลทีวีและ SMATV
สามารถโปรแกรมความถี่ Pilot ได้ 4 ความถี่
ใช้ในการคำนวณค่า Loss, Slope, การปรับ Tilt Balance ร่วมกับเครื่องวัดสัญญาณ
ความถี่สามารถตั้งค่าได้ 5 – 2150MHz

17.การปรับแต่งและตรวจซ่อมเครื่องรับโทรทัศน์

เครื่องรับโทรทัศน์โดยทั่ว ๆ ไปจะประกอบด้วยภาคต่าง ๆ ที่สำคัญ  5  ภาค คือ

              1.  ภาครับและขยายสัญญาณภาพและสัญญาณเสียง (Tuner) มีหน้าที่รับและขยายสัญญาณภาพซึ่งส่งไปยังระบบเอเอ็ม และสัญญาณเสียงซึ่งส่งในระบบเอฟเอ็ม ทั้งสองคลื่นเข้ามาพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การรับโทรทัศน์ช่อง 9 นั้นส่งสัญญาณภาพด้วยความถี่ 67.25 MC. (เมกะเฮิรตซ์) ส่งสัญญาณเสียงด้วยความถี่  71.75 MC. (เมกะเฮิรตซ์)
              2. ภาคขยายสัญญาณเสียง (Sound  Amplifier)  ทำหน้าที่ขยายสัญญาณจาก     วงจรรับสัญญาณวิทยุ ขยายสัญญาณกระแสไฟฟ้าความถี่เสียงให้มีกำลังมากขึ้น พอที่จะส่งต่อไปขับลำโพง
              3. ภาคลำโพง (Speaker) ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงในวงจรไฟฟ้าให้เป็น        พลังงานเสียงที่เราสามารถรับฟังได้
              4.  ภาคขยายสัญญาณภาพ (Video  Amplifier)  ทำหน้าที่ขยายสัญญาณภาพให้มีกำลังสูงมาก  แล้วส่งเข้าหลอดภาพ
              5.  จอหลอดภาพ  (Picture  Tube)  จอหลอดภาพในเครื่องรับโทรทัศน์ขาวดำ  มักจะฉาบด้วยสารเรืองแสง เมื่อถูกอีเลคตรอนมากระทบจอหลอดภาพนี้ จะทำให้เกิดภาพมาปรากฏหน้าจอหลอดภาพที่เราสามารถเห็นได้

        ระบบการส่งโทรทัศน์เพื่อการศึกษาและโทรทัศน์เพื่อการสอน

        การส่งโทรทัศน์เพื่อการศึกษาและโทรทัศน์เพื่อการสอนแบ่งเป็นระบบต่าง ๆ ได้ดังนี้
        1.  การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการค้า (Broadcasting  by Commercial  Stations)   การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการค้า หรือโทรทัศน์ประเภทสาธารณะรับได้โดยตรง (Free TV)   สำหรับประเทศไทยขณะนี้ไม่มีการส่งรายการโทรทัศน์การสอนทางสถานีโทรทัศน์เพื่อการค้าที่แพร่สัญญาณในวงกว้าง  จะมีเพียงรายการโทรทัศน์การศึกษา เช่น รายการสนุกกับไอที รายการท่องไปในโลกกว้าง  ฯลฯ
        2.  การส่งรายการทางสถานีโทรทัศน์ที่มิใช่เพื่อการค้า  (Broadcasting by Non-Commercial  Stations)    เป็นสถานีโทรทัศน์ที่เสนอรายการเพื่อสาธารณประโยชน์โดยไม่มีโฆษณา  สถานีเหล่านี้เป็นสถานีที่เสนอรายการสารคดี วิเคราะห์ข่าว ละคร เพลง เพื่อความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชมทางบ้าน  รวมถึงรายการเพื่อการเรียนการสอนในโรงเรียนด้วย
        3.  การส่งโทรทัศน์วงจรปิด (Closed  Circuit  Television : CCTV)  โทรทัศน์วงจรปิด  หมายถึง  ระบบการส่งโทรทัศน์ที่ผู้ส่งและผู้รับสามารถเชื่อมโยงติดต่อกันด้วยสายแทน              การออกอากาศตามธรรมดาของสถานีโทรทัศน์   การส่งโทรทัศน์ในระบบนี้สามารถส่งได้  3  รูปแบบ คือ
                3.1  การใช้กล้องโทรทัศน์กล้องเดียวถ่ายทอดการสอน  หรือเหตุการณ์ในห้องนั้นให้กับผู้เรียนที่อยู่ในห้องเดียวกันนั้นได้รับชมโดยมีเครื่องรับโทรทัศน์ 1 เครื่อง เช่น การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือการแสดงการซ่อมเครื่องยนต์ ซึ่งอาจมีการถ่ายภาพในระยะใกล้ให้กลุ่มผู้เรียนได้เห็นรายละเอียดของการสาธิตนั้น

                3.2  การใช้กล้องโทรทัศน์กล้องเดียวถ่ายทอดการสอนหรือเหตุการณ์ในที่นั้นส่งไปยังเครื่องรับโทรทัศน์หลายเครื่องที่ติดตั้งอยู่ในห้องเดียวกันหรือห้องอื่น ๆ ในอาคารเดียวกัน การถ่ายทอดนี้ใช้เมื่อเวลามีการสอนแก่ผู้เรียนจำนวนมาก ๆ
                3.3  การใช้กล้องโทรทัศน์หลายกล้องและเครื่องวีดิทัศน์ เพื่อแพร่ภาพแก่ผู้เรียนที่อยู่ในตึกต่าง ๆ ที่อยู่ภายในบริเวณโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาเดียวกัน วิธีการแบบนี้เครื่องรับโทรทัศน์วงจรปิดจะรับได้หลายช่องเพื่อเสนอวิชาต่าง ๆ หรือวิชาเดียวกันแต่ต่างระดับชั้น

บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับโทรทัศน์สี

18.การบำรุงรักษาเครื่องรับโทรทัศน์แบบจอภาพ CRT

19.การบำรุงรักษาเครื่องรับโทรทัศน์แบบจอภาพ LCD

หลีกเลี่ยงเวลานาน

เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้งานอย่างต่อเนื่องของระยะเวลานั่นคือปล่อยให้ส่วนที่เหลือของทีวีเป็นเวลานานการใช้เวลานานจะทำให้ชิ้นส่วนภายในของทีวีมีอุณหภูมิสูงเผาส่วนภายในหรือเร่งอายุของชิ้นส่วนการอยู่ในหน้าจอเดียวกันเป็นเวลานานจะทำให้พิกเซลบางภาพมีความร้อนมากเกินไปและทำให้หน้าจอไม่มีภาพ ในการหลีกเลี่ยงสถานการณ์นี้อย่าพยายามกดปุ่มหยุดชั่วขณะขณะชม DV หรือวิดีโออื่น ๆ

ให้แห้ง

เก็บทีวีแห้งทำงานเป็นเวลานานจะทำให้อุณหภูมิสูงชิ้นส่วนความร้อนภายในความเสียหายความชื้นที่พบคือเห็นได้ชัดบางครอบครัวไม่ได้ใช้โทรทัศน์ แต่ยังควรจะเป็นไฟฟ้าทั้งหมดดูทีวีให้ชิ้นส่วนความร้อนได้ถึง ขับไล่ความชื้นภายใน

กำจัดฝุ่น

เนื่องจากพื้นผิวที่เป็นไฟฟ้าสถิตย์พื้นผิวหน้าจอ LCD จึงง่ายต่อการปนเปื้อนฝุ่น แต่น้ำสะอาดเป็นวิธีที่ไม่สะอาดในการทำความสะอาดประการแรกผลการทำความสะอาดเป็นเรื่องทั่วไปและง่ายต่อการทิ้งรอยน้ำ ที่สำคัญกว่าคริสตัลเหลวมีความอ่อนไหวต่อความเสียหายถาวรเนื่องจากความชื้น (หากน้ำลดลงซึมเข้าสู่หน้าจออย่าปล่อยให้กระแสไฟฟ้าระเหยออกเพื่อให้น้ำระเหยช้าๆในสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น)

ในความเป็นจริงผ้าทำความสะอาดผลึกเหลวและโซลูชั่นการทำความสะอาดมีอยู่ ผ้าทำความสะอาดมืออาชีพผลการทำความสะอาดจะดีกว่าเนื้อนุ่ม (ไม่คิดว่าสามารถแทนที่ด้วยผ้าแก้ว) ทำความสะอาดของเหลวยังทำให้ผลการทำความสะอาดเป็นเลิศมากขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนบนหน้าจอหรือใช้มืออาชีพได้เช่นกัน

สะอาด

ตามหลักการทางฟิสิกส์เมื่อทีวีทำงานพื้นผิวด้านนอกของหน้าจอสารเรืองแสงจะมีประจุและสร้างสนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้านี้จะมีฝุ่นละอองอยู่ในอากาศภายใต้การกระทำจะถูกยึดกับพื้นผิวของหน้าจอเรืองแสงหลังจากผ่านไปเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดการสะสมและส่งผลต่อการรับชมและแม้กระทั่งการเกิดจุดด่างดำ ดังนั้นการทำความสะอาดหน้าจอทีวีจึงกลายเป็นงานที่จำเป็นสำหรับผู้ใช้ทีวี

พื้นผิวด้านนอกของการทำความสะอาดหน้าจอเรืองแสงจะต้องดำเนินการในสภาพปิด ในเวลาเดียวกันไม่ได้ทำความสะอาดด้วยผ้าขนหนูขนผ้าไหมและวัตถุอื่น ๆ เพราะชนิดของสินค้าและผลิตภัณฑ์แก้วหลังจากแรงเสียดทานจะทำให้ค่าใช้จ่าย; ถ้าเราใช้ชนิดของสินค้านี้เพื่อทำความสะอาดหน้าจอไม่เพียง แต่ไม่กวาดทำความสะอาด แต่รายการดังกล่าวจะอยู่บนฝุ่นผ้าไหมและผ้าขนสัตว์ ฯลฯ ที่แนบมากับหน้าจอเรืองแสง ห้ามใช้สิ่งที่เรียกว่าตัวแทนการตกแต่งไฟฟ้าหรือผงซักฟอกอื่น ๆ และสิ่งอื่น ๆ เพื่อล้างหน้าจอเรืองแสง เนื่องจากพวกเขามีกรดมากหรือน้อยด่างการกัดกร่อนของผลิตภัณฑ์แก้วพื้นผิวหน้าจอเรืองแสงจะมีผลกระทบ

อันที่จริงแล้ววิธีนี้เป็นวิธีที่ดีในการทำความสะอาดพื้นผิวของหน้าจอเรืองแสงด้วยกระดาษทำความสะอาดเลนส์กล้อง การใช้วิธีการของกระดาษเลนส์เทียมมีความคล้ายคลึงกับกระดาษทิชชูเลนส์ที่ไม่ใช้ความนุ่มนวลในการทำความสะอาดแผ่นทำให้เป็นพิเศษเนื้อเยื่อเบ็ดเตล็ดอาจทำให้เลนส์เกิดความเสียหายในทรายการเสริมแรงของกระดาษที่ทำจากกระดาษแข็งจะถูกลบออกอย่างสมบูรณ์ดังนั้นจึงใช้ทำความสะอาดพื้นผิวหน้าจอ เท่านั้นจะมีรอยขีดข่วนและผลการกำจัดฝุ่นดีไม่ผลิตไฟฟ้าสถิตย์จะไม่ปรากฏในสิ่งที่แนบมาเพื่อให้บรรลุสะอาดและป้องกันพื้นผิวหน้าไป

เมื่อใช้กระดาษจากเลนส์ใช้เพื่อเช็ดพื้นผิวของหน้าจอเรืองแสงไปในทิศทางเดียวกันจากนั้นให้เพิ่มกระดาษที่มีความแข็งแรงเพียงเล็กน้อยเพื่อเช็ดพื้นผิวของหน้าจอเรืองแสงอย่างระมัดระวัง ควรสังเกตว่าเป็นครั้งแรกที่มีน้ำหนักเบาเพื่อไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนบนหน้าจอของสารเรืองแสง ด้วยวิธีนี้หน้าจอฝุ่นหลังจากฝุ่นกวาดและสว่างก่อนที่จะรู้สึกเลือน

20.การบำรุงรักษาเครื่องรับโทรทัศน์แบบจอภาพ plasma

1.อย่าตั้งเครื่องให้หลอดภาพโดนแดดหรือแสงสว่างถูกโดยตรง
2.เครื่องรับโทรทัศน์จะมีช่องระบายอากาศอยู่ทางด้านหลัง ด้านข้างและด้านล่าง จึงไม่ควรให้สิ่งใดไปอุดตันช่องระบายเหล่านี้
3.อย่างตั้งในที่ที่มีฝุ่นมาก เพราะฝุ่นจะเกาะติดบนหน้าจอภาพ ทำให้มองเห็นภาพไม่ชัดเจน ควรทำความสะอาดหน้าจอภาพเป็นครั้งคราวด้วยผ้าชุบน้ำหมาด ๆ
4.อย่าตั้งไว้ใกล้กับตัวแผ่ความร้อน หรือแหล่งกำเนิดความร้อนใด ๆ เพราะหากเครื่องโดนความร้อนจัดจะทำให้เครื่องรับทำงานผิดปกติไป
5.โดยปกติอุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าจะต้องติดตั้งห่างจากบริเวณชื้นแฉะ ฉะนั้นเครื่องรับโทรทัศน์ก็ไม่มีการยกเว้น และควรจะระลึกไว้เสมอด้วยว่าภายในเครื่องรับโทรทัศน์นี้เป็นตัวกำเนิดไฟฟ้าแรงสูงด้วย
6.ห้ามนำเอาวัตถุใด ๆ สอดใส่เข้าไปในภายในเครื่องทางช่องระบายอากาศ เช่น ตัวตุ๊กตา เศษกระดาษ ดินสอ หากเป็นไปได้ควรตั้งให้สูงพอที่เด็กจะเล่นไม่ถึง
7.ห้ามถอดแก้ฝาหลังของเครื่องออกเป็นอันขาด เพราะการถอดแก้ฝาหลังออกเป็นช่องเปิดให้เห็นชิ้นส่วนภายในของเครื่อง และถ้าผู้รู้เท่าไม่ถึงการณ์ไปจับถูกต้องเข้าก็จะถูกไฟฟ้าดูดหรือไหม้ได้
8.อย่าปล่อยให้เครื่องรับโทรทัศน์ของท่านไปกระทบกับวัตถุใด ๆ เป็นอันขาด โดยเฉพาะผิวหน้าหลอดจอ ควรต้องระวังเป็นกรณีพิเศษ
9.ในขณะที่ฟ้าแลบ หรือระหว่างฝนฟ้าคะนอง ถ้าจะให้ปลอดภัยควรจะต้องดึงปลั๊กไฟของเครื่องออกจากปลั๊กไฟบ้านและควรปลดสายอากาศออกด้วย เพื่อป้องกันเครื่องจะเสีย
10.ถ้าหากเครื่องรับโทรทัศน์ที่มีเสียงหรือมีกลิ่นผิดปกติในขณะที่เปิดดูอยู่ก็ให้รีบปิดเครื่องพร้อมกับดึงปลั๊กออกก่อนที่ท่านจะแจ้งช่างบริการ หรือผู้แทนจำหน่ายให้ท่านมาแก้ไข
11.ในกรณีที่เครื่องรับไม่ทำงาน ถ้าหากว่าท่านได้พยายามทำทุกอย่างตาม “แนวทางตรวจเช็คเครื่องรับโทรทัศน์ด้วยตนเอง” ที่ได้บอกไว้ในคู่มือนี้แล้วยังไม่สามารถช่วยให้เครื่องรับใช้งานได้ก็ให้ปิดเครื่องรับ และโทรติดต่อผู้จำหน่วยให้ท่าน หรือช่างบริการทันที
12.การทำความสะอาด ห้ามใช้เบนซิน ทินเนอร์ หรือสารละลายเคมีภัณฑ์ใดมาเช็ดตู้เครื่องรับเป็นอันขาด ควรใช้ผ้านิ่มเช็ดก็เพียงพอ และควรจำไว้ด้วยว่า อย่าวางวัตถุที่เป็นยางหรือพลาสติกไว้บนตู้รับเป็นเวลานาน ๆ เพราะจะทำให้มีรอยคราบรูปวัตถุนั้น ๆ ติดอยู่บนตู้รับ
13.ไฟฟ้าสถิตบนหน้าจอภาพ เมื่อท่านเอามือไปสัมผัสหน้าหลอดจะรู้สึกเหมือนว่ามีไฟฟ้าตกค้างอยู่ นี้เป็นสาเหตุเนื่องจากไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นที่หน้าหลอดจอ แต่ไฟฟ้าสถิตนี้ไม่ทำอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ มันเหมือนกับไฟฟ้าสถิตที่ท่านมีความรู้สึกในบางขณะที่ท่านถอดเสื้อ
14.ในวันที่ไปพักผ่อนนอกบ้าน เมื่อท่านไม่ได้ใช้เครื่องรับของท่านเป็นเวลานาน ในขณะที่ท่านออกไปพักผ่อนนอกบ้านหลายวันก็ควรถอดปลั๊กของเครื่องรับออกจากปลั๊กไฟบ้าน 

21.การบำรุงรักษาเครื่องรับโทรทัศน์แบบจอภาพ LED

1.ไม่มีภาพไม่มีเสีย ให้ตรวจสอบดูว่า ได้เสียบปลั๊กไฟ และเปิดสวิทช์ของเครื่องรับหรือยัง
2.มีเสียงแต่ไม่มีภาพ ให้กดปุ่มเลือกช่องอย่างระมัดระวัง พร้อมกับตรวจดูว่า ความสว่างความเข้ม ปรับไว้ถูกต้องหรือไม่
3.การใช้เครื่องเล่นวีดีโอเทป เมื่อปรากฏสัญญาณ TEST ของสัญญาณ วีดีโอ เส้นของสัญญาณ TEST บิดงอบริเวณตอนล่าง นั่นไม่ใช่การเสียของเครื่องรับ และอาการนี้จะไม่มีผลเสียต่อการดูภาพจากเครื่องเล่นวีดีโอแต่อย่างใด
4.ภาพเป็นเงา (ภาพซ้อน) ให้เปลี่ยนทิศทาง หรือระดับความสูงหรือตำแหน่งของเสาอากาศ ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดจากสัญญาณทางภาคเครื่องส่งกระทบกับตัวตึกอาคารหรือภูเขา แล้วสะท้อนกลับมาเข้าเครื่องรับอีกระลอกหนึ่ง การปรับทิศทางระดับความสูงของเสาอากาศก็อาจจะช่วยให้การรับภาพให้ดีขึ้นได้บ้าง
5.ภาพเป็นหิมะ จะเห็นมีจุดเล็ก ๆ ปรากฏลายไปทั่วบนภาพ เมื่อมีอาการเช่นนี้ให้ตรวจดูการต่อสายของสายอากาศ หรือทิศทางของเสาอากาศ
6.มีเสียงหึ่ง แต่ไม่มีภาพ ให้กดปุ่มเลือกช่อง และให้ตรวจดูสายอากาศว่าต่อเข้ากับเครื่องหรือเปล่า
7.ภาพไม่มีสีทั้ง ๆ ที่รับสัญญาณสีอยู่ ให้หมุนปุ่มปรับความชัดเจนของภาพเล็กน้อย และปรับปุ่มปรับความเข้มของสี
8.มีสัญญาณรบกวน หรือแทรกปรากฏบนจอภาพ การจุดระเบิดของเครื่องยนต์ จะทำให้เกิดจุดขาว ๆ หรือเส้นทางด้านแนวนอนบนจอภาพ
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรบกวนของเครื่องยนต์ ไฟนีออน สว่านไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ภายในบ้าน ทางแก้ควรติดตั้งเสาอากาศให้ห่างจากแหล่งกำเนิดสิ่ง รบกวนเหล่านี้
9.การรบกวนของเครื่องวิทยุ ผลของการรบกวนนี้จะทำให้เกิดมีการไหลเป็นระลอก ๆ ของเส้นหรือแถบเส้นทะแยงมุมสาเหตุนี้มิใช่เกิดจากการผิดปกติของเครื่องรับ แต่เกิดจากการรบกวนของสัญญาณภายนอก หรือเครื่องจักรที่ใช้ความถี่ของวิทยุรบกวน 

22.การประเมินราคาค่าบริการซ่อมบำรุงโทรทัศน์ในเบื้องต้น

ทีวี แอลซีดี 19" - 39"700.-ทีวี แอลซีดี 40"900.-ทีวี แอลซีดี 41" - 45"1,100.-ทีวี แอลซีดี 46" - 49"1,300.-ทีวี แอลซีดี 50" - 55"1,500.-ทีวี แอลซีดี 56" ขึ้นไป1,800.-ทีวีจอแก้ว 14" - 20"400.-ทีวีจอแก้ว 21"- 24"500.-ทีวีจอแก้ว 25" - 28"600.-ทีวจอแก้ว 29" - 33"700.-ทีวีจอแก้ว 34" ขึ้นไป800.-โปรเจคชั่นทีวี1,200.-