คู่มือ ครู สุขศึกษา ป.4 อ จ ท

คมู่ ือครูใช้ค่กู บั หนงั สอื เรยี น
มาตรฐานสากล ๔ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี

๒๑ 5ศตวรรษท่ี
BBL Steps

ใช้กระบวนการ

GPAS

เนน้ การท�ำ งานของสมอง

BBL & PBL

จัดการเรยี นรตู้ ามแนวทาง

Backward

Design

เพ่ิมผลสมั ฤทธ์ดิ ้วย

ข้อสอบเนน้ สมรรถนะ

สโทคักู่อรษางะเงศซาตียนวนรบรแรู ษณลทะี่า๒โกลา๑กร

เฉลยค�ำ ตอบ

ละเอียดทกุ ขอ้

คQCวOาRDมEรนส้คู วว่อื าัตมเกสเขรรา้ รใมิ มจ

สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)

ผงั สาระการเรียนรู้

หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

สาระที่ ๑ : การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ : ชีวติ และครอบครัว

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการทีเ่ หมาะสมตามวยั หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ คณุ คา่ ของครอบครวั และเพือ่ น
(พ ๑.๑ ป.๔/๑) (พ ๒.๑ ป.๔/๑)
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ระบบอวัยวะทม่ี ีผลต่อการเจริญเติบโต หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ พฤตกิ รรมทางเพศของวัยรุ่นในสังคมพหุวฒั นธรรม
และพฒั นาการของร่างกาย (พ ๒.๑ ป.๔/๒, ป.๔/๓)
(พ ๑.๑ ป.๔/๒, ป.๔/๓)
สาระท่ี ๓ : การเคลื่อนไหว การออกกำ�ลังกาย
สขุ ศึกษา การเลน่ เกม กฬี าไทย และกฬี าสากล
และพลศึกษา
สาระที่ ๕ : ความปลอดภัยในชวี ติ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ การเคลอื่ นไหวรา่ งกายในชวี ติ ประจ�ำ วนั
(พ ๓.๑ ป.๔/๑)
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑๓ ยาและสารเสพติดให้โทษ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๖ กายบรหิ ารประกอบจังหวะ
(พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๓) (พ ๓.๑ ป.๔/๒)
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑๔ การปฐมพยาบาล หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๗ การเลน่ เกมและกิจกรรมทางกาย
(พ ๕.๑ ป.๔/๒) (พ ๓.๑ ป.๔/๓, พ ๓.๒ ป.๔/๑)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ การเลน่ กฬี าพนื้ ฐาน
สาระท่ี ๔ : การสร้างเสริมสขุ ภาพ (พ ๓.๑ ป.๔/๔, พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒)
สมรรถภาพ และการป้องกันโรค

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ สภาวะทางอารมณท์ ีส่ ่งผลตอ่ สขุ ภาพ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๙ การสร้างเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกาย
(พ ๔.๑ ป.๔/๒) (พ ๔.๑ ป.๔/๔)
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑๐ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ แวดล้อมกับสุขภาพ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑๒ ฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ (พ ๔.๑ ป.๔/๑)
(พ ๔.๑ ป.๔/๓)

คมู่ ือครใู ช้คกู่ บั หนังสือเรียน

สแลุขะศพึกลษศากึ ษา ๔ช้ันประถมศกึ ษาปีที่

ตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้ีวดั
กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สงวนลิขสทิ ธิ์
บรษิ ัท พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จ�ำ กดั
พ.ศ. ๒๕๖๔
สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)
๑๒๕๖/๙ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อตั โนมัติ ๑๕ สาย), ๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อตั โนมตั ิ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

website : www.iadth.com

พิเศษ

การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นทสี่ อดคล้องกับ

G PA S S t e p s เสรมิ สร้างศักยภาพการเรียนรูต้ าม

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การอธิบายเปา้ หมาย เป้าหมายการเรียนรู้ คุณลักษณะของสมาชิกทด่ี ีในครอบครัว
การเรียนรู้ และการท�ำ
ชนิ้ งานท่ีผูเ้ รียนจะได้ ระบเุ ปา้ หมายการเรยี นรใู้ นหลกั สตู รตามแนวทาง ๑. การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
คะแนนอย่างชัดเจน ท�ำ ให้ผเู้ รยี น Backward Design ซง่ึ ประกอบดว้ ย การทีค่ รอบครัวจะเปน็ ครอบครวั ที่ดีหรอื ครอบครัวที่สมบรู ณ์นัน้ จะต้องอาศัย
เหน็ ทิศทางในการเรียน เป็นการ - มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ความร่วมมือของทุกคนในครอบครัว ดังนั้น ทุกคนควรปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี
ขจดั ความกงั วลใจ และสร้าง - สมรรถนะส�ำ คญั ของผเู้ รยี น ของครอบครัว ดังนี้
ความรสู้ ึกเชงิ บวกใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี น - คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 55%๑. เคารพและเช่ือฟังคําส่ังสอนของพ่อ แม่
การใชค้ �ำ ถาม St St การช่วยทํางานบ้าน
หรือกำ�หนดปัญหา ภาระงาน/ชนิ้ งาน ผปู้ กครองหรอื ผอู้ าวโุ สในครอบครวั ทําให้พ่อ แม่ภาคภูมิใจ
ทผี่ ู้เรียนต้องพบในชีวติ ก�ำ หนดภาระงานหรอื ชิ้นงานของผู้เรียน ๒. ช่วยทํางานบ้าน เช่น ช่วยดูแลน้อง ล้างจาน
(Problem Based Learning: PBL) ซึ่งเปน็ หลกั ฐานแสดงความเข้าใจ
เพือ่ สรา้ งความรู้สกึ ตืน่ เตน้ ทา้ ทาย กวาดบ้าน
กระตุน้ อารมณใ์ ห้ผเู้ รยี นสนใจ ep 1 ขนั้ สังเกต ๓. ต้ังใจศึกษาเล่าเรียนและมีความขยัน
อยากเรียนรู้ อยากสบื สอบ
ซึ่งสง่ ผลต่อการเรยี นรทู้ ด่ี ี รวบรวมขอ้ มูล หมน่ั เพยี ร
๔. ช่วยครอบครัวประหยัดค่าใช้จ่ายและรู้จัก
การรวบรวมขอ้ มูล 1. ต้งั ค�ำ ถาม ต้ังสมมุตฐิ าน เพอื่ กระตุน้ อดออม ใชช้ วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
จากส่ิงแวดลอ้ ม ประสบการณใ์ ห้ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้ ๕. มคี วามซื่อสตั ย์ เชน่ ไม่พดู โกหก ไมล่ ักขโมย
และแหลง่ เรยี นรู้ เงินพ่อ แม่ ผู้ปกครอง
อย่างหลากหลาย ผา่ นระบบ 2. สงั เกตและรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้ ๖. พูดจาไพเราะ สุภาพ อ่อนโยน
ประสาทสมั ผสั (ways of knowing) อยา่ งหลากหลาย เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นรู้จกั ๗. ปฏิบัติตนตามหลักคําสอนหรือแนวทาง การออมเงินในกระป๋องออมสิน
ท้ังการเหน็ (ทางตา) การไดย้ ิน เลือกขอ้ มูลทต่ี อ้ งการ ที่ตนเองหรือครอบครัวยึดถือ เพื่อไว้ใช้ยามจําเป็น
(ทางห)ู การสัมผัส (ทางกาย)
การไดก้ ล่ิน (ทางจมกู ) ep 2 ๒. การดูแลรักษาสุขภาพกายและจิตใจของสมาชิกในครอบครัว
การรับรส (ทางปาก) ทำ�ให้สมอง ครอบครัวที่มีความสุข สมาชิกในครอบครัวต้องดูแลรักษาสุขภาพกายและ
เกิดการเรยี นรแู้ ละมีพฒั นาการ ขน้ั คดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้ จิตใจของบุคคลในครอบครัวด้วยการปฏิบัติ ดังนี้
เพราะสิง่ แวดลอ้ มคอื ตวั กระตุ้น
พัฒนาการสมอง และสง่ิ แวดลอ้ ม 3. จัดกระทำ�ข้อมูลด้วยการคดิ วิเคราะห์ ๑. ดูแลเอาใจใส่และให้กำาลังใจกัน
ที่หลากหลายท�ำ ใหส้ มองเรยี นรู้ได้ดี (จ�ำ แนก จัดหมวดหม ู่ หาความสมั พันธ ์ สมาชิกในครอบครัวต้องช่วยกันดูแล
การจดั ข้อมูลของสมอง เปรยี บเทยี บ ฯลฯ) โดยใช้แผนภาพจดั ในเรื่องการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้คน
จะใชก้ ารคิดหา ความคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ สรุปสาระส�ำ คัญ ในครอบครัว การศึกษาเล่าเรียนของลูกหลาน
ความสมั พนั ธ์เช่อื มโยงกับ สงั เคราะหเ์ ป็นความคิดรวบยอด ค่าใช้จ่ายในครอบครัว การเดินทางไปทํางาน
ประสบการณเ์ ดิม เปรียบเทียบ หรือไปโรงเรียนของสมาชิกในครอบครัว การดูแลเอาใจใส่ต่อกันทําให้สมาชิก
จัดกลุม่ และสรปุ เป็นหลักการ 4. คิดประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่าโดยเช่ือมโยงกับ ในครอบครัวมีสุขภาพกายและจิตใจที่ดี
ของตนเอง กิจกรรมที่เนน้ การคดิ หลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม หลกั ปรชั ญา
จงึ ทำ�ใหส้ มองเกดิ การเรียนรู้ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือสร้างความเป็น 34 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๔
และครตู อ้ งฝกึ ให้ผเู้ รียนใช้ พลเมืองไทยและพลโลกที่มีคุณภาพ
แผนภาพความคิด แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด กจิ กรรมเสรมิ สร้างศักยภาพการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
(Graphic Organizers) ขอ้ สอบเน้นสมรรถนะ
เพอ่ื จัดข้อมลู อย่างเป็นระบบ 5. สรา้ งทางเลอื กโดยออกแบบหรอื คดิ สรา้ งสรรค์
สร้างการคิดอยา่ งมีแบบแผน แนวทางอย่างหลากหลาย แล้วตัดสินใจ และสารประโยชน์มากมายส�ำ หรบั ครู
เลอื กแนวทางท่ีดีทส่ี ุด

6. วางแผนขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
เพ่อื น�ำ ไปสูค่ วามสำ�เร็จ

การคดิ ประเมนิ เพื่อเพมิ่ คณุ ค่า ท�ำ ใหผ้ ู้เรียนเห็นความสำ�คัญของส่ิงนัน้
ขอ้ มลู ท่ีมคี วามส�ำ คญั มคี วามหมายต่อชวี ติ สมองจะสนใจและตอบสนอง
จึงสง่ ขอ้ มลู เหล่านน้ั เขา้ สกู่ ระบวนการเรยี นรู้ โดยเช่อื มโยงกับความรู้
และทักษะทม่ี อี ยเู่ ดมิ สรา้ งความหมายใหม้ ากย่ิงขึน้

สุดยอดคู่มือครู 2

พเิ ศษ

การเรยี นรู้ของสมอง (Brain Based Learning)

มาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

Apขpั้นlปyฏiิบnัตgิแลanะสdรCุปoคnsวtาruมcรtiู้หngลังthกeารKปnoฏwิบlัeตdิ ge A ข้ันสื่อสารและน�ำเสนอ ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying the Communication Skill

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

๒. ช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายใน St St St asean
บ้านและบริเวณบ้าน
3ep ข้ันปฏหิบลัตงั กิแาลระปสฏรบิุปตัควิ ามรู้
สมาชิกในครอบครัวควรดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ในบ้านด้วยการกําจัดขยะอย่างถูกวิธี ทําความสะอาด 7. เขียนขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานจริงและ

บ้านทุกวัน และปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้านเพื่อให้บ้าน บริเวณบ้านที่สะอาดทําให้ไม่เป็น ลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผน ประเมนิ ความส�ำ เรจ็

น่าอยู่ ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนําโรค แหล่งเพาะเชื้อโรค สมาชิกในบ้าน ของงานและประเมนิ การทำ�งานเชิงระบบ

๓. ดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว จึงมีสุขภาพดี เพอ่ื ปรับปรุงและแกป้ ัญหา แลว้ สรุป การเคล่อื นไหวและ
เป็นความคดิ รวบยอด การลงมอื ปฏิบตั ิทำ�ให้
ไม่ให้เจ็บป่วยได้ง่าย
การดูแลรักษาสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว 8. น�ำ ความเข้าใจท่ีเกดิ จากการปฏิบัติ สมองพัฒนาทั้งสองด้าน
ทําได้ด้วยการชักชวนกันไปออกกําลังกายหรือ เมื่อผเู้ รียนน�ำ หลักการจากศาสตร์
ไปเทีย่ วพกั ผอ่ นในวนั หยดุ เพราะการมสี ขุ ภาพรา่ งกาย มาสรา้ งองคค์ วามรู้ หรอื สรปุ เป็นหลักการ แขนงต่าง ๆ ไปปฏบิ ตั ิหรือลงมอื
สมบูรณ์แข็งแรง ทําให้สามารถทํากิจกรรมต่าง ๆ ได้ แก้ปัญหามากข้นึ ความรจู้ ะย่ิงถกั ทอ
อย่างราบรื่น ไม่บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยได้ง่าย การออกกําลังกายเป็นประจํา ขยายกวา้ งขึ้น เกดิ ทักษะการคดิ
ช่วยให้มีสุขภาพดี
55% ๔. หลีกเลี่ยงหรืองดเว้นสารเสพติด
สารเสพติด หมายถึง สารต่าง ๆ ที่เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะทําให้มีความ ep 4 รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ (creative thinking)
ต้องการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งสารเสพติดทุกชนิดส่งผลเสียต่อสุขภาพ จึงควร การคิดแก้ปญั หา (problem solving
thinking) การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
หลีกเลี่ยงและแนะนําให้สมาชิกในครอบครัวห่างไกลจากสารเสพติด ขน้ั สอื่ สารและนำ� เสนอ

ส รุป การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวเป็นสิ่งสำาคัญที่จะทำาให้ 9. สอ่ื สารและน�ำ เสนอผลงานหรอื ความส�ำ เรจ็ (critical thinking) ผ้เู รยี นไดพ้ ัฒนา
ครอบครัวมีความสุข รวมทั้งการดูแลรักษาสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพอื่ ขยายความรใู้ นรูปแบบการอภิปราย ความคดิ ทัง้ ระบบ และสามารถ

จะทำาให้ทุกคนในครอบครัวมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การรายงาน นำ�เสนอดว้ ยแผงโครงงาน สรา้ งองคค์ วามรู้ไปพรอ้ ม ๆ กนั

รอบรู้อาเซียน PowerPoint Presentation เป็นตน้ เกดิ ความเขา้ ใจทีล่ มุ่ ลกึ และเป็น
ความเขา้ ใจทค่ี งทน สามารถนำ�ไป
สมาชิกอาเซียนได้ร่วมมือกันในการต่อต้าน ป้องกันและปราบปรามสารเสพติดในภูมิภาค ประดิษฐผ์ ลงาน สรา้ งผลิตภัณฑ์
โดยการรับรองปฏิญญาว่าด้วยเขตปลอดสารเสพติดในอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ จัดทำ�โครงงาน (Project Based

เว็บไซต์แนะนำา Learning: PBL) พฒั นาพหุปญั ญา
และขยายผลส่สู งั คมตามมาตรฐาน
สุขภาพครอบครัว www.thaihealth.net ep 5 สากลและวสิ ยั ทศั นใ์ นศตวรรษท่ี 21
ข้นั ประเมินเพื่อเพม่ิ คณุ คา่
คณุ ค่าของครอบครวั และเพอื่ น 35 บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

กจิ กรรมเสริมสรา้ งศักยภาพการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 10. เช่ือมโยงความรู้ไปสู่การทำ�ประโยชน์ให้กับ
ขอ้ สอบเน้นสมรรถนะ ท้องถ่ิน สังคม สิ่งแวดล้อม ในระดับ
ประเทศ อาเซียน และโลก ตามวุฒิภาวะ
และสารประโยชนม์ ากมายส�ำ หรบั ครู ข อ ง ผู้ เ รี ย น แ ล้ ว ป ร ะ เ มิ น ค่ า นิ ย ม
นิสยั แห่งการคิด การกระท�ำ

Active Learning

3 สุดยอดคู่มือครู

พิเศษ

GPAS กระบวนการเรยี นรู้ BBL อยา่ งแท้จรงิ
Steps ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษท่ี ๒๑

ep 1

ขน้ั สังเกต รวบรวมข้อมลู (Gathering)
St

St St
การรวบรวมข้อมูลเพื่อสร้างฐานการเรียนรู้ กระตุ้นอารมณ์ตื่นเต้น สร้างความรู้สึกเชิงบวก สนุกสนาน
น่าสนใจ ทำ�ให้สมองตื่นตัวพร้อมเรียนรู้ ซึ่งมี ๒ วิธี ดงั นี้

วิธที ่ี ๑ การใช้คำ�ถามหรอื ก�ำ หนดปญั หาท่ีผูเ้ รียนตอ้ งพบในชวี ิต

วธิ ที ่ ี ๒ ให้ผู้เรียนอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ โดยใช้ระบบประสาทสัมผัสรับรู้ข้อมูล เรียนรู้
จากของจริง สง่ิ ใกลต้ วัA ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ ภาพ Aบpตั plรyขiคnั้นgส�ำ ื่อt hสฯeารCลแoลmฯะนm�าuเรnสiนcวaอtมionทSk้งั illไดส้ ืบคขน้้ันSปeจรlะfเาม-Rินกeเพgแ่ือuเหพlaิ่มtลคinุณ่งgคเ่ารียนรู้ตา่ งๆ ด้วยตนเอง
pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน Appขั้นlyปiฏnิบgัตaิแnลdะสCรoุปnคsวtrาuมcรtiู้หngลังtกheาตรKปัวnฏoชิบw้ีวัตleิัดdge A ขั้นส่ือสารและน�าเสนอ asean รอบรขู้อั้นSปาeรเlะซfเม-ียRินeเนพgแ่ือuลเพlaะ่ิมโtคลinุณกgค่า

สภาวะทางอเาสรริมคมวามณรู้ คท์ รูคสี่วรส่งอผน ลต่อสขุ ภาพตัวชี้วัด pplying the Communication Skill
asean รอบรู้อาเซียตนแวั ลชะโล้วี กดั

จสุดภปารวะะกทาายงอคาวรามมณค์ทิดีส่ ่งผลตอ่ สขุ ภาพ พ ๔.๑ต ัว ปช้วี .๔ัด /๒
แพภบ า๔ภแบร.ะบบ๑างัน บ ารปทนะบ.ึก๔/งลนั/ชกั๒าน้ิทษนงณึกา/ะนลทชักางิน้ ษอางณรมาะณนท์ างอารมณ์
จุดประกายความคดิ

นกั เรยี นเคยมี นกั เรียนเคยมี 1epe1p รวขบน้ั รสวังมเขกอ้ตมขลู ้นั สงั เกต
ความรูส้ กึ ความรู้สึก
หรอื อารมณ์ หรืออารมณ์ ๑. นักเรียนสังเกตรภวาบพรจวุดมปขร้อะมกาลู ย
เหมือนในภาพ เหมอื นในภาพ
ใดบ้าง และ ใดบ้าง และ ๑คป. รวะานสมบัคกกิดาเร ณรแลีเ์ยด้วมิรน่ว โมดสกยัันงตสอเนบกทคนตาำ ถาทาภมบ าทดวพงั นนี้จุ ด ป ร ะ ก า ย
เหตกุ ารณน์ ้ัน เหตุการณ์น้ัน • คภวาพาทม่ ี ค๑ ิดเด ็กแผลู้ห้วญริง่วมมีอการันมณส์นทนาทบทวน
เป็นอย่างไร เปน็ อย่างไร แเพ บ•ร บาปะภใปรดา•ละพ าสเททพภี่เ ี่บล๒รี้ยาาก งพะดตาเ้าหารทนยตณ)บี่ ุใ นด๑เ์ ดข ว(มิ เาเศ ดเโรด้ดา็ก็กยเผสผู้ชตียู้หาใอยจญ บคิงาำมถีอาามร ดมงั ณน์ี้
(มอีอ•ิจ าแเฉรพภามบนารณพอ้ บางแ์ทะบใ่ ีเปพ๓บดลร ใาด ดาะแ้าเท นมเพพเ่ี่รลลักรรา่ าแงย้ี ะาลซเงะะา้หเตยอตเ ็นหาใุเดดดยตนูก็ )อ้ผุใงชู้ด)าย (เศร้า เสียใจ
๑. ลักษณะของอารมณ์ ม อี ารม•ณ แ์ ภบบาใพด ทเพี ่ ร๒าะ เหดต้าใุ นด บนขวา เด็กผู้ชาย
(ก•ล มัวภเีอาพพาราทระ ่ีกม๔ล ณับดบา้ แ์้านนบลเวา่ ลบงาขกใวลดาา เง ดคเก็พืนผ)รหู้ าญะงิ เ หตใุ ด
อารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกภายในจิตใจที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ซึ่ง มีอา(รอมจิณฉ์แบาบนใ้อดง เพเรพาะรเาหะตแใุ มดร่ ักและเอน็ ดูน้อง)
(อโ าม•ห โมาหรนทีอกัเ•ี่ตพ เารนรรยีเาภอะมนมงาเจณีนคพะักยซเแ์ทอื้มรเียอีบชี่ ๓นา่นรบหกม ันลใณด)าดยเ์ ้าหค นเมนพอืแลนยร่า่งเาดงซะก็้ืซอเ้าหยต ุใเดดก็ ผู้ชาย
๑. ลักษณะของอารอสมาารมมณาณรถ์์แแบส่งดไดงอ้ ๒อกลมักาษไณด้ะหลดาังยนรี้ ูปแบบ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มากระทบต่อจิตใจ อใตน าามรภมป(ารณกพะ•สใลแ์ ดบบัวบกภบา้เานราพงณ้นั พรแ)์ (าทลนะะักี ่กเเ๔พรลียร นบัาดแะบตเา้ห่ลา้ นตนะคุใลเดนวา่ตจลงึองามขบกีวลาา เงดคก็ นื ผ)หู้ ญงิ
๒. นักมเรีอียนารศึมกษณาแ์แลบะรบวใบดรว เมพขร้อามะูลเ หตุใด
สภาวะทางอารมณท์ สี่ ่งผลต่อสุขภาพ 159
เสกภี่ยา(ววโะกมทับโาหลงัอกาเษพรณมรณะาข์ทะอ่ีมมงีผีนอลักาตรเ่อมรสียณุขน์ภแลาหพะล ายคนแย่งซื้อ
อารมณ์ หมายถึง ควอาามรมรณู้สใ์ นขึกข้ออ้สภใอดบาเปเนยน็ ้นอใสามนรรมรจณถ์ทิตนาะงใบจวกทท่สีี่มง่ ผีตลด่อีตส่อสิ่งุขภตาพ่าง ๆ รอบตัว ซึ่ง จากอหานหังสาือรเทรีย่ีตนนหเรอืองแหจละซ่งกือ้ ารเชเรน่ียนกรันู้ )
สามารถแสดงออกมาได้หล๒๑า ยหย้มิงุดรแหลูปงะิดหแทัวเี่เบรพาอื่ะบนเมม่อื าชขชนา้ กึ้นะกว่าาอเรวแลยขา่งทู่กขี่นันััดบกหีฬสมาาิ่งยกทนั ไี่มว้ า กระทบต่อจิตใจ ท ่หี ลาก•ห ลนายกั เรยี นเคยมอี ารมณเ์ หมอื นเดก็
อารมณ์แบ่งได้ ๒ ลักษณะ ดังนี้๓ อจิ ฉานอ้ งทีพ่ ่อซ้ือของเลน่ ใหมใ่ ห้
ในภาพใดบ้าง และเพราะเหตุใดจึงมี
๔ เสียใจท่ที ำาข้อสอบไมไ่ ด ้ อารมณ์แบบนัน้ (นักเรียนแต่ละคนตอบ
ตามประสบ1ก5า9รณ)์สุดยอดคู่มือครู
(เฉลย ๒ เพราะการย้ิมและหัวเราะเมอื่ ชนะการแข่งขนั กฬี าเปน็ อารมณท์ ่ีมีความสุข ๒. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับลักษณะของอารมณ์และ
ทาำ ใหส้ บายใจจงึ เกิดผลดตี อ่ สุขภาพ) สภาวะทางอารมณ์ทสี่ ง่ ผลต่อสุขภาพ 159 สภาวะทางอารมณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ
จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ ทีห่ ลากหลาย

สุดยอดคู่มือครู อารมณใ์ นขอ้ ใดเปน็ อารมณท์ างบวกท่ีสง่ ผลดีตอ่ สุขภาพ
๑ หงุดหงดิ ท่ีเพื่อนมาชา้ กวา่ เวลาทีน่ ดั หมายกันไว ้
๒ ยิ้มและหัวเราะเมอื่ ชนะการแข่งขนั กฬี า
๓ อจิ ฉานอ้ งที่พอ่ ซื้อของเล่นใหม่ให้

4๔ เสียใจทที่ าำ ข้อสอบไม่ได ้

(เฉลย ๒ เพราะการยิม้ และหวั เราะเมอ่ื ชนะการแข่งขนั กีฬาเป็นอารมณท์ ี่มีความสุข
ทาำ ให้สบายใจจึงเกดิ ผลดตี ่อสขุ ภาพ)

St พิเศษ

St ep 2

St ขัน้ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความรู้ (Processing)

สมองจะเกิดการเรียนรู้ทันทีเม่ือประเมินได้ว่า เร่ืองที่กำ�ลังเรียนมีความหมายและสำ�คัญต่อการดำ�เนินชีวิต
ดังน้ัน ในการสอนควรให้ผู้เรียนคิดประเมินเพื่อสร้างความหมายของความรู้ในมิติคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ
ผเู้ รยี นจะกระตอื รอื รน้ เมอ่ื รา่ งกายไดเ้ คลอ่ื นไหว มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ท�ำ ใหส้ มองพฒั นา มศี กั ยภาพ
ในการคิดมากขน้ึ สมองจะใช้การคิดหาความสัมพนั ธ์ของสิ่งตา่ ง ๆ เพ่อื เปรียบเทยี บ จดั กลุม่ และสรา้ งเปน็ หลกั การ
ของตนเอง โดยใช้แผนภาพมาช่วยจัดความคดิ เหลา่ น้ีให้เปน็ ระบบชดั เจน

G Pขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล

ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiaวnมtgขh้อeมูลring
GPAS 5GSPAteSp5sSteps ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้

บูรณาการบูรทณักาษกาะรศทตักษวะรศรตวษรทรษี่ ท2ี่ 121 ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้ rocessing
ข้อสอบเน้นสมขรร้อถสนะอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขัน้ eคpดิ 2วเิ คราแะขลหั้นะคส์ ิดรวปุ ิเคครวาาะมหร์ู้
แ๗ล. ะนสักรุปเรคียวนามร่วรมู้ กันวิเคราะห์และ
๑. ชื่อผลิตภัณฑ์ ๒. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต
๕๓๗๓๑... ..ววปิัธนรีใิมวชเชดาัน้ผื่อณือลผนสิตเุทดลปภธีทัณือิติ ี่ผฑนภล์ ิัตณปีทฑี่ผ์ ลิต๘๔๖... สวสันร่วรนเพดปคือระุณนกป๒๔อีทบ..ี่หสำามคดชวัญอันื่อายแเุ ลดะือทนี่ตปั้งีทขอี่หงมผดู้ผอลาิตยุ
๗. นั ก เ รี ย น ร่ วปแมสฏดิกบงัตัคนิวตาวนมิ ใเคนคิดกเหรา็นราเเกละ่ียือหวกก์ แซับื้อหลอละาักห กาารร
แสดงความคิแดลเะหผ็นลิเตกภี่ยัณวฑก์สับุขภหาลพัก แกลา้วรส รุป ๙๕. .คำาเวตือิธนีใใชน้ผกาลรใิตช้ภัณฑ์ ๖. สรรพคุณ
แปลฏะิ บผั ตลิ ติตนภใัณนเเดปปฑงัก็็นนต์สัแวาคอผรุวขยนาเ่าภมภงลคาาือพิดพครกวว ซาบแมื้ยอคลออิดด้วบา สนโหดกรายรุปะเรขด ียานน
๓๗. .อ่านปวิธรีกิมาราใณช้ผสลุทิตภธัณิ ฑ์อย่างละเอียดก่อนใช๘้เพ.ื่อใหส้ใช่ว้ นประกอบสำาคัญ
ผลิตภ๙ัณ.ฑ์ไดค้ถูกำาตเต้องือนในการใช้
เป็นความคิดรวบยอดอ่านฉลากกอ่ นซื้อ โดยเขียน ถ้าไมเ่ ขา้ ใจต้องถาม การปฏบิ ตั ติ นในการเลอื กใชเ้ ครือ่ งสำาอางอยา่ งถกู ตอ้ ง ชว่ ยใหป้ ลอดภยั
เป็นแผนภาพควทากุ มครงั้คิดบนกระดาน ผู้ที่มคี วามรู้
จากอัน๓ต.รายจอา่ากนกาวรใิธชีก้เคารรื่อใงสชำา้ผอาลงไิตดภ้ ัณฑ์อย่างละเอียดก่อนใช้เพื่อให้ใช้
ผลิตภัณฑห์ไดลกั ้ถใูกนตกา้อรงอา่ นข้อมูลฉลากผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ
ดงั ตวั อย่าง หลกั ก�รปฏบิ ัติตน การปฏบิ ตั ติ นในกแารลเะลฉอื ลกากใอชาเ้ คหารรือ่ งสำาอางอยา่ งถกู ตอ้ ง ชว่ ยใหป้ ลอดภยั
ในก�รเลอื กซื้ออ�ห�ร
อ่านฉลากก่อนซื้อ จ๑า. กกอ�ันรอต่�รนาฉยลจ�ากกผกลิตารภใัณชฑ้เค์สุขรภื่อ�งพสำาอางได้
ทกุ ครงั้ และถผา้ ลไิตมภ่เณั ข้าฑใ์ จตอ้ งถาม
สุขภ�ผพูท้ ม่ี คี วามรู้ ๑. อ่านชื่อผลิตภัณฑ์ว่าใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดและให้ประโยชน์ต่อ

ผหตลริตลวภจกั ัณสกอฑบ�ส์ อขุราภหปาาพฏรนแิบลั้นะวัตา่ ติ น ปฏิบตั ิตามวธิ ีการบรโิ ภค ร ่างก๒๓าย.. อยดอ่า่าูวงนันไวร ิธเดีกือาหนรใ ลชป้ ีทักเพี่ผใื่อลนใิตห ้กใวช่า้ผาผลรลิติตอภมัณา่านนฑแา์อนขลยม่า้อาะงกถมฉนูก้อลูลวยิธเาฉีพกียลงอใาดากหผาลริตภณั ฑ์สุขภาพ
ทร่ี ะบุไวบ้ นฉลาก
ตรใงนตากมท�่ีรระเบลุบนอื ฉกลซากอื้หรอือ�ไมห่ �ร อยา่ งเคร่งครดั ๔. ดูวัน เดือน ปีที่หมดอายุ ว่าสินค้านั้นหมดอายุหรือยัง ถ้าหมดอายุ
๘. นแักลเระียผนลคิติดภปัณรฑะ์เมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
โดยตสอบุขภคำา�ถพาม ดงั นี้ ๑แ ล.้ วไ๕มก.่ค �วดรรซูสอื้อถผา่�นลนิทตภี่ผฉัณลลิตฑ ์น�วั้นก่าผผลิตลทิตี่ใดภ หัณรือฑใคร์สเปุข็นภผู้จ�ัดพจำาหน่าย เมื่อเกิด
• หากนกั เรยี นนาำ หลกั การเลอื กซอ้ื ปัญหา๑ทา.ง สุขอภา่าพน จชะื่อไดผ้ทลราิบตแภหลัณ่งทฑี่ผล์วิต่า ใแชล้เะพแหื่อลว่งทัตี่มถาขุปองรผะลสิตภงัณคฑ์ใ์ดและให้ประโยชน์ต่อ
ไปปฏิบตั ิจะส่งผลอย่างไร ร่างกายอย่างไร172 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๔
(ตวั อยา่ งคำาตอบ ไดส้ ินคา้ ที่มีคณุ ภาพ ๒. อ่านวิธีการใช้ เพื่อให้ใช้ผลิตภัณฑ์อย่างถูกวิธี
๓เสร.ิม ควดามูวรู้ ันคร ูคเวดรสืออนน ปีที่ผลิต ว่าผลิตมานานมากน้อยเพียงใด
ตรวจสอบอาหารและมคี วามปลอดปภฏยั บิ) ัติตามวธิ ีการบรโิ ภค •• แสวลนัรร้ว เพได๔คมือุณ.น่ค ปว คทีดรณุีผ่ ซูวลสันื้อติม ผบ เสตั ดลว่ ิขนิตืออใงหนภสญง่ิ ัณทปจ่ เี่ะฑปีทรน็ ะี่ห์นยบามเุั้นปด็นปอคี ารยิสตุ ์ศวัก่ารสาชิน (คค.้าศน.)ั้นหมดอายุหรือยัง ถ้าหมดอายุ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพน้นั วา่ ท่รี ะบไุ วบ้ นฉลาก • สว่ นป๕ระ.ก อบดสูส�ำ คถัญา นระทบไุ ี่ผว้เลพื่อิตต รววจ่าสผารลท่ีทิตาำ ใทหี่ใเ้ กดดิ กาหรแรพือไ้ ใดค้ รเป็นผู้จัดจำาหน่าย เมื่อเกิด
ตรงตามทร่ี ะบบุ นฉลากหรือไม่ อย่างเคร่งครัด ปัญหาทางสุขภาพ จะได้ทราบแหล่งที่ผลิต และแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์

๘. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่า
โดยตอบคำาถาม ดังน้ี

• หากนกั เรยี นนาำ หลกั การเลอื กซอ้ื
ไปปฏบิ ัตจิ ะส่งผลอยา่ งไร
(ตัวอย่างคาำ สตุดยออดบคู่มไือดคร้สู นิ 1ค7้า2ที่มีคณุ ภาพ
มีความปลอดภยั ) 172 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔

เสริมความรู้ ครูควรสอน

• วัน เดือน ปีทผี่ ลติ สว่ นใหญ่จะระบเุ ป็นปคี รสิ ต์ศกั ราช (ค.ศ.)
• สสว่รรนพปคระณุ ก อ บคสณุ �ำ สคมัญบ ัตริขะอบงไุ สวเ้่ิงพทื่อเี่ ปต็นรวยจาสารท่ีทาำ ให้เกดิ การแพ้ได5้
• สุดยอดคู่มือครู

พเิ ศษ

ep 3

ขั้นปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลังการปฏบิ ัติ (Applying and Constructing the Knowledge)
St
การนำ�หลักการที่สรา้ งขนึ้ ไปปฏบิ ัติ ลงมอื ทำ� ลงมอื แก้ปัญหา ท�ำ ให้สมองต่อยอดความรู้ที่มีอยเู่ ดมิ เกิดความรู้
Stทซี่ บั ซอ้ นขน้ึ ยง่ิ ปฏบิ ตั เิ ปน็ ประจ�ำ จะเกดิ ความช�ำ นาญ กลายเปน็ ความเขา้ ใจทคี่ งทน ซง่ึ เรยี กวา่ องคค์ วามรู้ หรอื ปญั ญา

St G Pข้ันสังขGเกั้นตaสtรhังวeเบกrรiวnตaมgขt้รอhมวeูลบrรiวnมgข้อมูล
GPAS 5 SGtPeApS s5 Steps ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้ rocessing

3 ๑ ๑๘๗e ..p จในเนโแคด••หับบััก กยล ค้ สบเววเื่มอาำรลเร่่ิิงงแนีผคียากซี ยนกู้ตไลนกิระหนเ่ืรอะแแลหแนววโลนฝซอืลดบาำจขระ ๑ ๑ ังก็ทเึกสกั้น่ด่า๘๗สงกพหรe ่ีหตงป.า.กขอp ป ม่ิปุรกนใจโแเน รัวฏาา้ค บด3•••••••หลปบับคััเกอื ฏิบกบมขมายล ค้ตวสบคุ่เฏมววเววกกไเยื่วมูรอตัำา้อิรขลากสปเบริบิง่งง่ิ่งิิ่ิมแรนผีรควีณมยยง่ิาซเกคีิแข ะยนง่ิปกาะตั้ตูัไลง่ดานสกิรโา้วรต๗ะหลกเนกดบรงโ่ืราอะบมแแลหิแู้นังลหย่ีดา้ววโดิลกนฝซสมอืลทีดดบวบำาจขระน ถนนขงัดก็ับทเึก้าเสากนั้่ด่าสงกพาขา้ทา่ขกหรผ่ีหาูกตง้ีปสรากเขอยฟปธม่ิุปิศรดกรววัฏา้าบทอทล่งลปตคสเทือฏิบบียมิขมาตตนัวาคุ่ฏมงักยวูรตัา้อิวาุ่กสบอ้มบิมิมงาวงณมง่ิเทิสแ ปษงิ่าตััดทาสรตง๗ลกบงรผา มิู้ีลังละ้ลิกาส บัทีดบ ถนศแกับาขสแาฟ่ะขากผาูก้ีรฟธต้าวลทนัทลตทลาสาิตนัมาักวปุ่้อมมนง้าทวระป่ษากรลงงผ ีละล ารรศแกสแะาตวษลทลาาวนย้วระ่ทาร รี่ ษ2ท1่ี 21๑ ขสย๑ก ทพผหยขส้าัมา้าัมาั่้สงราอวงวงสวผมงผหปอยกหัผสยกก๕นงรัสักพ๕เรสนืรนข้นหาะะเาะื้นพสมห้าโรนวมโ้งแาด๑ลตัี่นเยดกะืไ้นลากดสมับรปหางดรณ้โวสรกชแะแขลตนจขยอยโด่ัน้วาดขะลืน้ากงาืนังบรดตงไ๒นเเยเขดหรทย้ขวปดขไ้อ่ไ้ากาอะลา้่อห้ีมยางงเจขปยขดโังเเหไเัวลานขดขสยีา้ะมขืนาโาส่่าวมข้้าน่ด่ดขตาไกส๒เลณงกขหยยกยลขปดรหัรบ้อ่ับกับราะ้าใเวาวนฟะฟงชกีขมเยหงงเยยทโนั้ด้จาาขรันดไไเวข้ปาวาะาปาสยีหี่มปดเล้าเยเโกโขทสปดงาดวขรแล้นดงา้่ขหก้ื้ออ็าียนสลดางลแแนเสรยย๓หะว ยกขลคอขึย่งยวัตนบ้าขาลับกับแบใืมนนยกลรา้ีดื่อเลฟฟชนขเอนเ้วท้นสันด้าขทกันส้นข้ปาี่เรมากกขะหปรล้าเินนโา๑รดดงารขรถลา๒กดนหนื้ออียราขะบคผสโทนเสะา๓วรดน คเิโศสลอั้งดึ่งดยพตทมัขลบียเแใดบื้นปาผชลวี๒ดงฟื่อแก็นเล้ขสไนตัอขวกปนนาเา้ว้่้าาล้นขาสมนดปมงรทก้ะาาสกพเ้นเงลคคสี่เราเมอรดาลกร้นกขะปั้งรเกื่อียขินเนปร๓โานรรนมวะดระลไถาื่อาม๒หโแนี่กดยเนดนาวลทไณทนดปรขะะ้าบคี่สทโผะารดนเิโศสลั้งดดยพทมั บียเใดื้นปาผชวงฟแก็น้ขสไตัขวกปนาา้่้าาลขามนปมงร้ะาากพเเงลคคสาเอรดาลร้นปั้งเกื่อียขเปรนรนมวะะลไาื่อมหโแนี่ ยเดาวลทไณทนดปะ้าี่
• วิ่งควบม ้า แ ล้ ว เ ลื อ ก ตั ว แ ท น ก ลุ่ ม เ ป็ น ผู้ นำ า ห ท่รางงต๓ัวกยก. ัรนืนกะาหโรด๑เันคดลหื่อสชนนอ่ไว้หงางวเเทรขไ่าา้งห้ากขหาลา้ยา่มแกบกหบรรผ่ ยาววส่องมตยยจัผวพไเสลุป่งากาเต็กกรนขทัวนะโโรา้้อกด้ดาับดยงยแลสรหใอใูกชยหวงนบเ้อท้เอพยกุปา้า้ ขลื่อกา้ นมรยกณโืนยรว์ปเนยทรลไ้าปะูกแกขยบ้าองกอหบแลนลไา้ ปะ
ฝกึ ปฏบิ ัตจิ นเกดิ ความคลอ่ งแคล่ว
• วง่ิ เปลย่ี น๑๙ท. ศิ นักทเราียงนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีเข้าใจเป็น
• เขยง่ กา้ ว เข ยค•ง่ว ากมารูร้รว่เคมกลนัื่อ นดังไนหี้ วร่างกายแบบ
• กระโดดขาเดผสยี มวผสสลานบั แฟบบนั เคปลลื่อานที่เป็นการ พ อ ป ร ะ ม า ณ ย่ อ เ ขข่ าณกไใะวนเาใ้กทหรหยิศรท้ วืนทนัะแีา่เยโปงลตดน็ ะง่ากกดงาแารๆขรเขคพ้าแลุ่งมนลือ่ต้วนัวพไโหุ่งดวตยทัวใีผ่อชสอ้ลมกูกผไบปสอราับนล
• ก ร ะ โ ด ด สททอดดสสงออเบบทสปม้ ารระรขถส้ภิาทาธมพิภทกาาพงรกกาวายรแยทลำา ะงกาานร ทั้งสองข้างไปข้างหลัง
ไปข้างหน้า ความสมบูรณ์ และความบกพร่อง กรวยเหพวงุ่ ตี่ยวั รับงลแกู บขอลนไปข้างหเปน็นอ้าุปกเรปณ็์ปนระกกาอบร
แฝึกลป้วฏเลบิ ือตั กจิ นตเัวกแดิ แดล้าคทนะพตวนา่ฒัางกม นๆาค ลใขหอุ่ลม้ดงอ่รียเา่ง่ิ งงปขกแ้นึ ็านยค ผเลพู้ือ่ว่นปำารับ ปรุง ผ66สมสขุ ศผกึ ษาสและาพนลศึกกษา ปา.๔รยืนย่อเข่า กระโดดและยืน ๑ ๒ ๓

ทรงตัว กระโดดสองเท้าขา้ มกรวยไปข้างหนา้

๑๙. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็น ๓. การเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ
พุ่งตัวรับลูกบอล ยืนเท้าแยกและ
ความรู้รว่ มกัน ดังน้ี ย่อตัวเล็กน้อย ให้เพื่อนโยนลูกบอลไป
ในทิศทางต่าง ๆ แล้วพุ่งตัวออกไปรับ
• การเคล่ือนไหวร่างกายแบบ พุง่ ตวั รับลกู บอล ไวใ้ หท้ นั เปน็ การเคลือ่ นไหวทีผ่ สมผสาน
ผสมผสานแบบเคลื่อนที่เป็นการ การยืนและการพุ่งตัวโดยใช้ลูกบอล
ทดสอบสมรสรุดยถอดภคู่มาือพครู ทา6ง6กายและการ เป็นอุปกรณ์ประกอบ
ทดสอบประสิทธิภาพการทำางาน

ความสมบูรณ์ และความบกพร่อง 66 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๔

ด้านตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เพ่อื ปรับปรุง

และพัฒนาให้ดียงิ่ ขึน้

สุดยอดคู่มือครู 6

พเิ ศษ

ep 4

ขั้นสอ่ื สารและนำ� เสนอ (Applying the Communication Skill)
St
การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก โดยใช้ภาษา แสดงถึงความสามารถในการส่ือสารหรือปัญญา
St Stดา้ นภาษา กระบวนการน้ีทำ�ใหผ้ ู้เรียนไดแ้ ลกเปล่ียนความรู้ ทศั นคติซง่ึ กนั และกัน ถา้ น�ำ เสนอโดยใชค้ อมพวิ เตอร์
St Stหรือสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ ผู้เรียนกจ็ ะได้พัฒนาทกั ษะด้านเทคโนโลยดี ้วย

การส่ือสารและนำ�เสนอเป็นการสร้างอารมณ์เชิงบวกได้อย่างดี เมื่อผู้อ่ืนชื่นชอบผลงานของตน ช่ืนชม
ความส�ำ เร็จของตน ผู้เรียนจะเกิดความภาคภมู ใิ จ เกิดแรงบนั ดาลใจทีจ่ ะสรา้ งสรรค์ผลงานต่อๆ ไป

GPAS 5 Steps Gatheringข้ันสังเกต รวบรวมข้อมูล ข้ันคิดวิPเค
ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
GPAS 5 Steps

บูรณาการทบักูรณษากะาศรทัตกษวะศตรวรรรษษทท่ี 21่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 4
ep 4 ส รุป เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ส รุป เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ขนั้ สอื่ สารและนา� เสนอ
คุณภาพ เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความมั่นใจใน
ขนั้ สอ่ื สารแล๑๙ะ.น นเกา� ักี่ยเเสวรกียนับนเออคอรื่อกงมหามนาำายเเสตนืออนภอาันพตวราาดย การเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ
หรอื เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ เพราะได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน
เว็บไซต์แนะนำา เว็บ
สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
www.fda.moph.go.th
ที่เชื่อถือไคด้ ุณภาพ เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความมั่นใจใน
การเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพคุณภาพ และร่วมกันแสดงความ
ผังสรุปสาระสำาคัญ
๑๙. นักเรียนออกมานำาเสนอภาพวาด สำานักงานคณะกรรคิดเห็นเพ่ือขยายความรู้ท่ีหน้า
เพราะได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน www.fda.mophชนั้ เรียน ฉลากอาหาร
และผลิตภัณฑ์
เกี่ยวกับเคร่ืองหมายเตือนอันตราย ที่เชื่อถือได้5ep ขน้ั ประเมินเพอื่ เพ่มิ คุณค่า
ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ สุขภาพ เคร่ืองหมายบนฉลาก
ทีพ่ บในชวี ิตประจำาวัน ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ
หรอื เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์บรกิ ารสังคม
และจิตสาธารณะ เครื่องสำาอาง คือ ผลิตภัณฑ์ หลกั ในการอ่านข้อมูล เครื่องหมายเตือนอันตราย
ที่ใช้เพื่อความสะอาด และ เป็นเคร่ืองหมายหรือข้อความ
ท่ีระบุเตือนไว้เพ่ือให้ใช้ผลิต-
คุณภาพ และร่วมกันแสดงความ ผังสรุปสาระสำาคัญ๒๐. นักเรียนร่วมกันจัดป้ายนิเทศ สวยงามของร่างกาย การซ้ือ ฉลากผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ภัณฑ์อย่างปลอดภัย ที่พบ
เก่ียวกับเครื่องหมายเตือนอันตราย เคร่ืองสำาอาง ผู้ซ้ือต้องอ่าน และฉลากอาหาร บอ่ ย คอื คาำ เตอื น เครือ่ งหมาย
ฉลากผลิตภัณฑ์ทุกคร้ังก่อน หัวกะโหลกไขว้ เครื่องหมาย
คิ ด เ ห็ น เ พื่ อ ข ย า ย ค ว า ม รู้ ท่ี ห น้ า หรอื เครอ่ื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ซื้อ และศึกษารายละเอียด การอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ วตั ถไุ วไฟ เครอ่ื งหมายอนั ตราย
ข้อมูลบนฉลากให้ครบถ้วน ควรอ่านขอ้ มลู สำาคัญ ดังนี้ จากสารเคมีประเภทกรด-ดา่ ง
ฉลากอาหารคุณภาพ เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กับ รวมท้ังอ่านวิธีใช้ก่อนนำาไปใช้  ชื่อผลติ ภัณฑ์ เครอ่ื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์
เพราะการซอื้ และใชเ้ ครอื่ งสาำ อาง  วธิ กี ารใช้ คุณภาพ เป็นเครื่องหมายท่ี
ชน้ั เรยี น และผลิตภัณฑ์สมาชิกทุกคนในโรงเรยี น ไม่ถูกต้องจะทำาให้เกิดอันตราย  วนั ผลิตและวันหมดอายุ แสดงวา่ ผลติ ภณั ฑน์ นั้ มมี าตรฐาน
กบั รา่ งกายได้  สถานท่ผี ลิต ตามท่ีกำาหนด ท่ีสำาคัญ คือ
 ปริมาณสุทธิ
เคร่อืการอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑอ์ าหาร:อาหารทไ่ี ดร้ บั การตรวจจากอย.จะมตี รา
ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ สขุ ภาพอย. บนฉลากอาหาร และแสดงรายละเอียดบนฉลาก ดงั นี้
เครื่องหมายมาตรฐานท่ัวไปที่
ep 5 ทีพ่ บในชวี ิตประจาำ วัน ผลขน้ั ประเมนิ เพ่ือเพิม่ คณุ คา่
 ช่ืออาหาร  ช่อื และท่อี ยู่ผู้ผลติ ผผู้ ลติ ยนื่ ขอไดต้ ามความสมคั รใจ
 ปรมิ าณสุทธิ  ส่วนประกอบ/ข้อมลู โภชนาการ ไม่บังคบั เครอื่ งหมายมาตรฐาน
 วิธีใช/้ รบั ประทาน  คำาแนะนาำ ในการใช/้ เก็บรกั ษา บั ง คั บ บ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก า ร เคร่ือง
 วันท่ผี ลิต/หมดอายุ  เคร่อื งหมาย อย. กำาหนดมาตรฐาน หากไม่กระทำา เป็นเค
บรกิ ารสังคม ตาม มีความผิดตามกฎหมาย ที่ระบุเ
และจติ สาธารณะ แ ล ะ เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย ม า ต ร ฐ า น ภัณฑ์
เคร่ืองสำาอาง คือ ผลิตภัณฑ์ประโยชน์ของการอา่ นฉลากผลิตภณั ฑ์สุขภาพและฉลากอาหาร เฉพาะด้านความปลอดภัยที่ บอ่ ย ค
หลกั ในการอ่านข้อมลูข้อสอบเน้นสมรรถนะ แสดงว่าผลิตภัณฑ์ผ่านการ หัวกะโ
ฉลากผลิตภณั ฑ์สุขภาพ๑. การอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนซ้ือ  รูส้ ว่ นประกอบและประโยชนท์ ไี่ ด้รับ  รู้จกั วธิ ีการบริโภคท่ถี กู ตอ้ ง ตรวจสอบด้านความปลอดภัย วตั ถไุ ว
ท่ี ใ ช้ เ พ่ื อ ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ รู้คำาเตือน ทาำ ใหบ้ ริโภคไดอ้ ยา่ งปลอดภยั  รวู้ ธิ กี ารเกบ็ รกั ษาใหใ้ ชไ้ ดน้ าน ในการใช้เรียบรอ้ ยแล้ว จากสา
๒๐. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น จั ด ป้ า ย นิ เ ท ศ และฉลากอาหาร มีประโยชนอ์ ย่างไร เครอื่ งห
๑ ได้สินค้าหายาก  รู้วันผลิตและวันหมดอายขุ องผลติ ภัณฑ์  รูช้ ่อื และทอี่ ยูผ่ ูผ้ ลิต เพือ่ คุณภา
เก่ียวกับเครื่องหมายเตือนอันตราย ๒ ไดส้ ินคา้ ราคาถกู ส ว ย ง าม ข อ ง ร่ างกาย การซ้ือสามารถนาำ ไปรอ้ งเรยี นไดห้ าก แสดงว
๓ ได้สนิ คา้ ราคาแพง เกิดอนั ตรายหรอื ปญั หาจาก ตามท
หรอื เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์๔ ไดส้ นิ คา้ ทมี่ คี ณุ ภาพและปลอดภยั เครื่องสำาอาง ผกาู้ซรบื้อริโภตค ้องอ่าน เครื่อง
(เฉลย ๔ เพราะการอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑ์
คุณภาพ เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้กับก่อนซื้อเป็นการศึกษารายละเอียดของ
สินค้าว่าได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
สมาชิกทุกคนในโรงเรยี นหรือไม่ และมีวิธีใช้อย่างไรเพื่อความ
๒(ใ๓๑เนฉ. กลก า เเา1ยรลลร7เลอืือเ8ล๔ือกกอื กซซสกซือ้ื้อุขเพศซ้อืโโกึ อ้ืดดษรเาลาผแยยะลอืเลดดะปพกติทููทล็นไขเซรกฉใศพภีช่่ชีกึมสชว้ื้บัษออลื่อื่อณัาผ้ริง่่ถมรผ ปมทาาลฑ.ูก๔า่ทชี่ะกู้ผแูติล ง์อว่ตกล้ังผภกลายบาิต ้ออหัณสาลระ นง่ายารฑ ซิตรศจน้า ไฉ์)ใอ้ืง ึะดภนกคว แลทข้ัิวธณ ษล อ้าาำาีใมะใาใกฑชดใมหรช้ใก์่ันปท้เา๒๔หเ้ใก่ลอุคกยจ้อิดค นร คลดเเสออื่ลลรนภราะันงอือืมบำา้ััยงเสกกาตไอตกถราซซำปถรอ่ีอ่้ยือ้้ือวเาใสาชโโนนดยชดดขุงือ่ ภ้ยยถาดดือพทููทได่เีปี่ ค้ รรมิกคื่อาาวงณ รหรวสวชปอมอธัินื่อถรา่าา่กีมิผนยผานนา าลฉลอขรณทติยติลใอ้ ี่ผ.ชภาสแมก้ลลทุัณูลผติะธสฑลวิ าำ ัน์ติ คหภญั มณั ดดฑอังส์ านขุยี้ ภุ าพ
ปลอดภัย)
การอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑอ์ าหาร : อาหารทไ่ี ดร้ บั การตรวจจาก อย. จะมตี รา
อย. บนฉลากอาหาร และแสดงรายละเอียดบนฉลาก ดังน้ี ผผู้ ลติ ย
สุดยอดคู่มือครู 178  ชอ่ื อาหาร  ชอ่ื และที่อยู่ผู้ผลติ ไมบ่ งั ค

 ปรมิ าณสุทธิ  ส่วนประกอบ/ขอ้ มูลโภชนาการ บังคับ
 วธิ ใี ช/้ รบั ประทาน  คำาแนะนาำ ในการใช/้ เกบ็ รกั ษา กาำ หนด
 วนั ทีผ่ ลิต/หมดอายุ  เคร่อื งหมาย อย.
ตาม ม
และเค
ประโยชน์ของการอา่ นฉลากผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพและฉลากอาหาร เฉพาะ
 รสู้ ว่ นประกอบและประโยชน์ท่ีได้รบั  รรวู้จู้ ธิักกี7วาธิ รกี เการบ็ บรรกัสโิ ษุดภายคใหอทใ้ถี่ดชูกคไ้ ตดู่ม้อน้ืองาคนรู แสดง
 รู้คำาเตอื น ทำาใหบ้ ริโภคได้อยา่ งปลอดภัย ตรวจส
 รวู้ นั ผลติ และวันหมดอายขุ องผลติ ภณั ฑ์  รชู้ ื่อและทอ่ี ย่ผู ้ผู ลติ เพื่อ ในการใ
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

พิเศษ

ep 5

ข้นั ประเมินเพื่อเพมิ่ คุณค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ (Self-Regulating)
St
St St เม่ือสมองของผู้เรียนได้รับการเสริมแรงเชิงบวกอย่างสม่ําเสมอจากส่ิงท่ีทำ� จะกระตุ้นให้คิดสร้างสรรค์

St Stตส่งิาทมเี่มปาน็ ตปรรฐะาโนยสชานก์เลพแมิ่ ลขะน้ึ วอิสีกยั ทหศัลนอ่ ์ใหนลศอGตมPวAเรปSร็น5ษนSทสิteี่ ยั๒pแs๑ห่งการคิดการกระทขำ�ั้นใสนังตGเกัวตaผtู้เรhรวeยีบrนรiวnมสgขา้อมมาูลรถขยายผลไปสู่สข้ันังคคิดมวไิPเคดrร้oาcะหe์แsลsะiสnรgุปค

ep 4 บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

ขน้ั สอื่ สารและนา� เสนอบูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 เว็บไซตข้อ์แสอนบเะน้นนสมำารรถนะ ปลอดภัยไว้ก่อน

๒๙. นั ก เ รี ย น แepต4่ ล ะขกน้ั สอ่ืลสุ่ามรแลสะน่ งา� เสตนอั ว แ ท น การกกีฬาาแรหก่งปีฬเรวะา็บเทแไศหซไท่งตยป ์แ นรwะwะเนwท.ำาsศatไ.oทr.ยth wwเ คwลื่อกน.่อsไนหaอวtรอ.ูปกoแกปrบำา.ลบลtัตงhอก่าดงา ยภๆ ัย เไตลว่้อนง้กกอดเ ีฬ่อบค้าวอนล ุ่นยรหื่อกก่ารนงาื่ออกฝรไานหึยกบอวรรอิหูปกาแกรบรำา่าบลงัตงกก่าางาย ยปๆ ร ะเมตลา่้อนณงกอ ีฬ๑บ๕าอ ุ่น-๒
อ อ ก ม า นำ๒า เ๙ส. นนั กอเ รผี ย ลน แกตา่ ลระปก ลฏุ่ มิ บส่ งั ตติ ขั ว แอทงน
กลุ่มตนเองทีลออะกกมลานุ่มำาเหสนนอา้ ผชล้ันกาเรรปียฏนิบัติของ
กลุม่ ตนเองทลี ะกลมุ่ หนา้ ช้ันเรียน เดพ้วือ่ยเกตารรยี บมรคิหวาารมรพ่ารงอ้กมาขยอปงรกะลมา้ ามณเน เ๑พือ้ ๕แลอื่-๒ะเป๐ต อ้ นงรกายี ทนั มี ความพรอ้ มของกลา้ มเนือ้ และ

ep 5 ขนั้ ประเeมpิน5เพอ่ืขั้นเปพริ่มะบเมรคิกินณุ าเพรสคือ่ ังเา่ คพมม่ิ คณุ ค่า กล้ามเนื้อได้รับบาดเจ็บ กล้ามเนื้อได้รับบาดเจ็บ
บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
แ๓ล๐ะ.จ ิตนักสเารธียารนณร่วะมกันจัดทำาป้ายนิเทศ ผังสรุปสารผะสังำาสคัญรุปสาระสลักำาษคณะัญพฤติกรรมตามธรรมชาติของ
มนษุ ยท์ แ่ี สดงการเปลยี่ นแปลงทา่ ทางของ
๓๐. นักเรียนร่วมปกรากะรจัเนคำาวจลัน่ือัด จนาทไกหำนาว้ันปรน่า้าำางไกยปาตนยิดใิเบนทรชิเวีศวณิต การเคลื่อนไหว
ก า ร เ ค ลื่ อ นหมไุรมหือคชววุมารมช่ านรู้ตเงพ่ากื่งอ ใาๆหย ้คขวใอานงมโรรชู้ใงีนเวรกิียตานร เบ้ืองต้น การเเบคือ้ ลงอื่ ตใรซกเปนา่งึ่นาง็นน้รกกกเาากไคารรายหลเอรคจอ่ือปลวานกกร่อืไกับแนหาำบเไวลปหบรงั ลา่วกหงี่ยทานกยนีถ่ ง่ึาแูกทไยปลต่าแเะทอ้บปเางลบน็ งจ่นออโะกดยกีเปฬีู่กยแ็นับบาไมพทบ่มื้นี่ห:ีกฐนซลรมาางึ่ น่า่งึรันกงกษุษกายารณยทเ์ คะจแ่ี ลพาสกื่อฤดแนงตบไกิกหบาวรรหทเรนปมถ่ี ่ึงลกูไตยี่ ปตานเม้อปแงธ็นปจรอละรกีงเปมทแน็ชา่บทพาบาตืน้หง
ประจำาวัน จาเคกลนื่อน้ันไหนวรำาา่ งไกปายตท่ีถิดูกบตอ้ รงิเวณ
การเคลื่อนไหว เคลื่อนยา้ ยที่ ในการออกกำาลังกายและเลน่ กฬี า
รา่ งกายใน
มุมความรู้ต่าง ๆ ของโรงเรียน การเคลือ่ นไหวร่างกายแบบเคล่ือนที่ :
ชีวิตประจาำ วนั
เเคป็ลนอ่ืกนารยป้ารยับจเาปกลที่ยี่หนนทง่ึ ่ไาปทอางกี เพทหี่ื่อนใหึง่ ้ร่างกกายารเคลื่อนไหวรา่ งกายแบบอยูก่ ับท่ี :
หรือชุมชนเพื่อให้ความรู้ในการ ปการระเกคอลบอ่ื :นเไปหน็ วกราา่ รงเกคาลยอื่แนบไบหใวชท้อใีุ่ปชกร้ รา่ งณกเเ์าคปยล็น่อื กนายรปา้ ยรทับ่ี เปล่ียนท่าทางโดยไม่ม
เคลือ่ นไหวรา่ งกายที่ถกู ต้อง การเคลื่อนไหว
ชวีริตา่ งปกราะยจกใาำ าขนรวร้ันเ่าคพนั งลื้นกอ่ื ฐานยาไนหว บังคบั อุปกรณข์ ณะเคลอ่ื นไหวดว้ ย

การเคล่ือนไหวร่างกายแบบผสมผสากน า:รเคล่ือนไหวร่างกายแบบเคล่อื นที่
แเอปปุบ็นกบรกอณารยป์ เู่กรคะับลกื่ทออบ่ีนมแไาหบผวบสทมเ่ีใคผชสล้กาื่อานรนใเหทคเ้ ค่ีลลแ่ืออื่ ลนนะไไเเหหใคปชวว้็ลนื่อกนารยป้ารยับจเาปกลที่ยหี่ นนทง่ึ ่ไาปทอางีกเพทีห่่ือนใหึง่ ้ร่าง
ตอ่ เนือ่ งสัมพันธ์กัน

70 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔ การเคลื่อนไหวรา่ งกายแบบใชอ้ ปุ กรณ
ประกอบ : เปน็ การเคลอ่ื นไหวทใ่ี ชร้ า่ ง
การเคล่อื นไหว บงั คับอุปกรณ์ขณะเคล่อื นไหวด้วย
รา่ งกาย การเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผส
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ เป็นการเคลื่อนไหวที่ใช้การเคล่ือน
การเคลือ่ นไหวร่างกายอย่างถูกตอ้ งมปีขรัน้ ะโพยชืน้ นฐอ์ ายนา่ งไร แบบอยู่กับท่ี แบบเคล่ือนที่ แล
๑ ทำาให้เจริญอาหาร อปุ กรณป์ ระกอบมาผสมผสานใหเ้ คลอื่ น
๒ เลน่ กีฬาไดเ้ ก่งกว่าเพอ่ื น ต่อเนอ่ื งสมั พันธก์ ัน
๓ ทำาใหเ้ รยี นหนงั สือเกง่ ขน้ึ
๔ ทาำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

(เฉลย ๔ เพราะการทำากิจกรรมต่าง ๆ ต้องใช้ท่าทางแตกต่างกัน ซ่ึงต้อง

สุดยอดคู่มือครู 70 เลอื ก7ท0่าทางทสเี่ หุขมศึกาะษสามแลกะับพกลิจศกกึ รษรามปท.ป่ี๔ฏบิ ตั เิ พอ่ื ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ)

สุดยอดคู่มือครู 8 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายอย่างถูกต้องมปี ระโยชน์อย่างไร
๑ ทาำ ใหเ้ จริญอาหาร
๒ เล่นกีฬาได้เก่งกวา่ เพือ่ น

พเิ ศษ

ค�ำช้ีแจงในการใช้หนังสือเรียน

ท่ีได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของสมอง

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา เล่มนี้ ได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเนื้อหา กิจกรรม และคำ�ถามที่เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน กระตุ้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับการเรียนรู้ของสมอง (Brain Based Learning)

ห ่นวย๗ การเล่นเกม

ตวั ช้ีวัด การเรยี นรู้ท่ี และกิจกรรมทางกาย
เป็นเปา้ หมายในการพฒั นา ตัวชว้ี ัด
ผู้เรียน ทีผ่ ูเ้ รยี นจะได้รบั และ ๑. เล่นเกมเลยี นแบบและกิจกรรมแบบผลัด (พ ๓.๑ ป.๔/๓)
ปฏิบตั ิไดใ้ นหนว่ ยการเรียนรู้น้ี ๒. ออกกําลังกาย เล่นเกม และกีฬาท่ีตนเองชอบ และมีความสามารถในการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของ
ตนเองตามตัวอย่างและแบบปฏิบตั ขิ องผ้อู ื่น (พ ๓.๒ ป.๔/๑)
ผังสาระการเรยี นรู้
เป็นหวั ขอ้ ทผี่ ้เู รยี นจะไดเ้ รยี น ผงั สาระการเรียนรู้ ประเภทของ
ในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี กิจกรรม
เกมไกช่ น กิจกรรม แบบผลดั
สาระสำ� คัญ เกมสไปเดอรแ์ มน แบบผลดั ตัวอยา่ ง
เปน็ ความร้สู �ำคัญ เกมลกู เป็ดอยุ้ อ้าย กจิ กรรม
ทีเ่ ปน็ ความเขา้ ใจทคี่ งทน แบบผลดั
ทผ่ี เู้ รียนจะไดร้ ับ
เกมเลยี นแบบ

เกมหมาไล่แมว

เกมกระตา่ ยขาเดยี ว การเล่นเกม
และกิจกรรมทางกาย

ขอ้ เสนอแนะในการเล่นเกม คณุ คา่ ของการเลน่ เกม
และกจิ กรรมทางกาย และกจิ กรรมทางกาย

สาระสำาคัญ ท่ีมีตอ่ สขุ ภาพ

การเล่นเกมและกิจกรรมทางกาย เป็นการเคล่ือนไหวเพื่อสร้างเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง โดยจะ
ตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎ กตกิ า มารยาทในการเลน่ และเป็นผมู้ นี ํา้ ใจนักกีฬา รู้จักแพ ้ รู้จักชนะ และการ
ให้อภัยซ่ึงกันและกัน เพ่ือทําให้การเล่นเป็นไปอย่างราบรื่นและเกิดความสนุกสนาน สร้างความสามัคคี
ในหมู่คณะ

9 สุดยอดคู่มือครู

พเิ ศษ

การเลน่ กฬี าพน้ื ฐาน

จุดประกายความคดิ

๑๒

๓ นกั กีฬาฮีโรโอลิมปกิ จดุ ประกายความคดิ
สร้างแรงบนั ดาลใจ เปน็ ค�ำถามท่ีกระตนุ้ ความคิด
ในการเลน่ กีฬา ใหผ้ เู้ รียนฝกึ ใชค้ วามคิด
แก่นกั เรียนอยา่ งไรบา้ ง สรา้ งสรรคเ์ กีย่ วกบั
เร่อื งท่ีจะเรียน
ฮโี รโอลิมปิกลอนดอนเกมส์ 2012 ของไทย
๑ แกว้ พงษป์ ระยูร เหรยี ญเงนิ มวยสากลสมคั รเล่น เนื้อหา
๒ พมิ ศิร ิ ศริ ิแกว้ เหรยี ญเงิน ยกน้ำาหนัก ครบตามตัวชว้ี ัดและตรงตามหลกั สตู รแกนกลาง
๓ ชนาธปิ ซ้อนขำา เหรยี ญทองแดง เทควันโด การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
เหมาะสมกับระดบั ช้ันของผเู้ รียน
กฬี าเปน็ กจิ กรรมการออกกาำ ลงั กายเมือ่ มเี วลาวา่ ง เพือ่ ทาำ ใหส้ ขุ ภาพรา่ งกาย
แข็งแรง กีฬาสามารถแบ่งตามจำานวนผู้เล่นได้ ดังนี้
๑. กีฬาประเภทบุคคล คือ กีฬาที่ใช้ความสามารถของผู้เล่นแต่ละคน
ในการแข่งขัน เช่น กรีฑา มวย ว่ายนำ้า เทเบิลเทนนิส
๒. กีฬาประเภทคู่ คือ กีฬาที่มีผู้เล่นในแต่ละทีมจำานวน ๒ คน ร่วมกัน
เล่นหรือแข่งขันกับฝ่ายตรงข้ามที่มีจำานวนเท่ากัน เช่น แบดมินตัน เทนนิส
เทเบิลเทนนิส

104 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

๕. เกมกระต่ายขาเดียว

วธิ ีเล่น
๑. ขีดเส้นเป็นวงกลม
ขนาดเหมาะสมกบั จาำ นวนผูเ้ ลน่
๒. แบ่งผู้เล่นออกเป็น
๒ ฝา่ ย ฝา่ ยละเทา่ ๆ กนั ฝา่ ยหนึง่
เป็นกระต่ายยืนอยู่นอกวงกลม
อีกฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายวิ่งยืนอยู่
ในวงกลม การเล่นเกมกระต่ายขาเดียว

๓. ฝ่ายที่เป็นกระต่ายทุกคนตั้งชื่อของตนเอง และบอกให้อีกฝ่ายทราบว่า
มีชื่ออะไรบ้าง แล้วให้ฝ่ายวิ่งเรียกชื่อใดชื่อหนึ่ง ถ้าเรียกชื่อใครคนนั้นก็ออกไปวิ่ง
เป็นกระต่าย
๔. ผูท้ ีเ่ ปน็ กระตา่ ยตอ้ งเคลือ่ นทีด่ ว้ ยขาเดยี วไลแ่ ตะฝา่ ยวิง่ ในวงกลม โดย
แตะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายก็ได้ และถ้าใครถูกแตะจะต้องออกจากวงกลม
ที่เล่น แล้วผู้ที่เป็นกระต่ายก็วิ่งไล่แตะคนอื่นต่อไป
๕. ถ้าคนที่เป็นกระต่ายเอาขาลงพื้นก็จะต้องออกจากการเล่นและไม่
สามารถกลับมาเล่นเป็นกระต่ายได้อีก ฝ่ายวิ่งก็จะเรียกชื่อใหม่ออกมาเป็น
กระต่ายแทน
๖. ถ้าฝ่ายที่เป็นกระต่ายไล่จับฝ่ายวิ่งได้หมด ฝ่ายวิ่งจะต้องเป็นกระต่าย
ปลอดภยั ไว้ก่อน แทน แต่ถ้าฝ่ายที่เป็นกระต่ายหมดจำานวนคนแล้วยังแตะฝ่ายวิ่งได้ไม่หมด
เปน็ หวั ขอ้ ความรทู้ ใ่ี หผ้ เู้ รยี นรจู้ กั ก็จะต้องเป็นกระต่ายต่อไป
ระมัดระวงั ในการท�ำกจิ กรรม
ตา่ ง ๆ โดยสอดแทรกหวั ขอ้ ปลอดภัยไว้ก่อน
ทส่ี มั พนั ธก์ บั เรื่องทเ่ี รยี น การเล่นเกมให้ปลอดภัยผู้เล่นต้องอบอุ่นร่างกายก่อนการเล่นเกมทุกครั้งเพื่อเตรียมความพร้อม
ให้กล้ามเนื้อ และเลือกสถานที่เล่นเกมที่มีความเหมาะสม เช่น สนามกว้างไม่มีหญ้าขึ้นรก
สุดยอดคู่มือครู 10 ไม่เล่นในสถานที่ที่เสี่ยงต่ออันตราย ใกล้ถนน ใกล้บ่อนํ้า

92 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

ข้อเสนอแนะในการเลน่ เกมและกิจกรรมทางกาย พเิ ศษ
๒ ยอมรับฟังความคิดเห็น
๑ ๓ อนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อม
ของผู้เล่นคนอื่น ๆ ในทีม เปน็ หัวขอ้ ความรใู้ นการปลกู ฝัง
มีการวางแผนก่อน ปฏิบัติตามกฎ กติกา จิตส�ำนกึ ของผู้เรยี นใหร้ ้จู กั
การปฏิบัติจริง ไมเ่ อาเปรยี บฝา่ ยตรงขา้ ม อนรุ กั ษแ์ ละรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม

๖ ผูเ้ ลน่ ๔

รู้จักให้อภัย และ ๕ ไม่เยาะเย้ยหรือดูถูก
ควบคุมอารมณ์ เมื่อมี ฝ่ายตรงข้ามเมื่อตนเอง
การกระทบกระทั่งกัน เมื่อแพ้ต้องยอมรับความ เป็นผู้ชนะ
พ่ายแพ้ และแสดงความ
๑ ยินดีกับผู้ชนะ ๓

ไม่ยั่วยุให้ผู้เล่น เล่นผิด ๒ ไม่เยาะเย้ยคู่ต่อสู้
กติกา หรือเอาเปรียบ เมื่อฝ่ายตนเป็นผู้ชนะ
ฝ่ายตรงข้าม ไม่ส่งเสียงโห่ ตะโกน
เยาะเย้ยผู้เล่น

๕ ผชู้ ม ๔

ไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม ใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื ผูเ้ ลน่ ทงั้ สองฝา่ ย
ต่อฝ่ายตรงข้าม เมื่อฝ่ายตนแพ้ เช่น บริการนำ้าดื่ม ผ้าเช็ดหน้า
และควรแสดงความยนิ ดกี บั ผูช้ นะ ช่วยเก็บอุปกรณ์

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

หลังจากเล่นเกมหรือกิจกรรมแล้ว ควรทําความสะอาดบริเวณที่เล่นให้เรียบร้อย เก็บขยะ
เช่น ถุงขนม ขวดนํ้า ทิ้งลงในถังขยะ เพื่อช่วยดูแลสิ่งแวดล้อม

การเลน่ เกมและกจิ กรรมทางกาย 99

รอบรอู้ าเซยี น รอบรู้อาเซียน ความรู้รอบโลก

เสริมความรเู้ ก่ียวกับกลุ่มประเทศอาเซียน กีฬาซีเกมส์ (SEA Games) เป็นการ กีฬาโอลิมปิก (Olympics) ถือเป็นการ
เพือ่ เตรยี มตัวก้าวสปู่ ระชาคมอาเซยี น แข่งขันกีฬาระหว่างประเทศในภูมิภาค แข่งขันกีฬาที่สำาคัญที่สุดของโลก จัดขึ้น
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยจดั การแขง่ ขนั ครั้งแรกที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ
ในทุกสองปี (ปีเว้นปี) การแข่งขันครั้งแรก
จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร

หลกั ในการเล่นกีฬา

การเล่นกีฬามีหลัก ดังนี ้
๑. เลือกเล่นกีฬาที่มีวิธีการเล่นเหมาะสมกับวัยของตนเอง

๒. สถานที่เล่นต้องมีความเหมาะสมกับชนิดของกีฬา และไม่เล่นกีฬาใน

สถานที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตราย เช่น ใกล้ถนน ใกล้บ่อนํ้า

๓. อบอุ่นร่างกายเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับกล้ามเนื้อก่อนเล่นกีฬาทุกครั้ง

๔. เล่นกีฬาในช่วงเวลาที่เหมาะสม และไม่เล่นในขณะที่ร่างกายเจ็บป่วย

หรือบาดเจ็บ

๕. ไม่เล่นกีฬาหักโหมจนเกินไป ควรใช้ระยะเวลาในการเล่นที่เหมาะสม

๖. ปฏิบัติตามกฎและกติกาการเล่นกีฬาอย่างเคร่งครัด

๗. มนี ํา้ ใจนกั กฬี า เมือ่ ชนะตอ้ งไมเ่ ยาะเยย้

ผู้แพ้ และเมื่อแพ้ต้องไม่แสดงความโกรธ เมื่อมี

การกระทบกระทั่งกันต้องรู้จักให้อภัยกัน

๘. ไม่เล่นกีฬาที่โลดโผนซึ่งอาจนําไปสู่

อุบัติเหตุและไม่ใช้ความรุนแรงในการเล่น

๙. เมื่อเล่นกีฬาเสร็จควรช่วยกันเก็บ การเล่นกีฬาทําให้เกิดความสามัคคี
และดูแลรักษาอุปกรณ์ให้เรียบร้อย ในหมู่คณะ

การเล่นกฬี าพ้ืนฐาน 121

11 สุดยอดคู่มือครู

พเิ ศษ

ทุกคนร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อม การมีสิ่งแวดล้อมที่ดี

สิ่งแวดล้อมที่ดีทำาให้มีสุขภาพดี

จุดประกายความรู้ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
เป็นหวั ข้อค�ำถามกระตนุ้
ให้ผูเ้ รยี นไดฝ้ กึ คดิ พรอ้ มกับ จุดประกายความรู้
มีค�ำตอบให้ วันสิ่งแวดล้อมโลกตรงกับวันใด
วันสิ่งแวดล้อมโลกตรงกับวันที่ ๕ มิถุนายน ของทุกปี
สนุกกับคำ� ศพั ท์
เป็นหัวข้อค�ำศพั ท์ภาษาองั กฤษ health สนุกกับคำาศัพท์
ท่ีเก่ยี วกับเร่ืองทเ่ี รียน (เฮลธฺ) สุขภาพ
โดยมคี �ำศัพท ์ ค�ำอา่ น
และความหมาย 140 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 12

พเิ ศษ

อาชีพน่ารู้ สรุป การเล่นกีฬาทุกประเภทก่อให้เกิด อาชีพน่ารู้
นักกีฬาอาชีพ หมายถึง บุคคลที่
เปน็ หัวขอ้ ความรูใ้ นดา้ น ประโยชน์ต่อร่างกาย ทำาให้มีสุขภาพที่ดี
อาชพี ตา่ ง ๆ ใหผ้ ูเ้ รียน แต่ต้องรู้จักเลือกเล่นให้เหมาะสมกับวัย ขึ้นทะเบียนเป็นนักกีฬาอาชีพ และเล่น
ไดร้ ้จู ักอาชพี ที่หลากหลาย สภาพร่างกายและความสามารถของตน กีฬาเพื่อหารายได้และมีการเสียภาษี
จากรายได้

คุณค่าของการเลน่ กฬี า

การเล่นกีฬาทำาให้เกิดคุณค่า ดังนี ้
๑. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและสร้างเสริมความสมบูรณ์แข็งแรงของ
ร่างกาย มีภูมิต้านทานโรค ไม่เจ็บป่วยได้ง่าย
๒. สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน ส่งผลให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีอารมณ์
ร่าเริงแจ่มใส
๓. ช่วยปลูกฝังการมีนำ้าใจ-
นักกีฬา รู้จักแพ้ รู้จักชนะ และการ
ให้อภัยเมื่อผู้อื่นทำาผิดพลาด
๔. สร้างความมีระเบียบวินัย
และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนเอง
ได้รับมอบหมาย
๕. ฝกึ การเปน็ คนกลา้ คดิ กลา้ การมีนำ้าใจนักกีฬาช่วยสร้างความสามัคคี

แสดงออก และมีความเป็นผู้นำา
๖. สร้างสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนหรือกับบุคคลอื่น และทำาให้เกิดความ
สามัคคีในกลุ่ม
๗. ส่งเสริมให้มีบุคลิกภาพที่ดีเป็นที่ชื่นชมของผู้อื่น
๘. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน ์ ทำาให้ห่างไกลจากสารเสพติดหรือ
อบายมุขต่าง ๆ

120 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

13 สุดยอดคู่มือครู

พิเศษ

ความรูร้ อบโลก สรุป วัยรุ่นทุกคนไม่ว่ามีเพศวิถีใดล้วนมีคุณค่าในตนเอง และสามารถแสดงออก
เป็นหวั ข้อความรทู้ ี่น�ำเสนอเน้ือหา
และความรอู้ นั เป็นสากลเพอ่ื ให้ผู้เรยี น ต่อกันอย่างสุภาพชนได้ วัยรุ่นควรเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน สามารถปรับตัวในสังคม
มจี ิตส�ำนึกในความเปน็ พลโลก พหุวัฒนธรรม รู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องในเรื่องเพศ และเรียนรู้วิธี
การปฏิเสธอย่างเหมาะสม
ความรู้เพม่ิ เตมิ
เปน็ หวั ข้อความรทู้ เี่ พมิ่ เติม ความรู้รอบโลก
จากเน้ือหาเพอ่ื ให้ผเู้ รียน กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติหรือยูนิเซฟ เป็นหน่วยงานท่ีทำาหน้าที่เกี่ยวกับ
ไดร้ ับความรู้ทน่ี อกเหนือจาก
บทเรียนเพม่ิ ขน้ึ การช่วยเหลือเด็กทั่วโลก ดูแลพัฒนาการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การปกป้องเด็กจาก
ความรุนแรง การทำาร้ายเด็ก รวมทั้งพิทักษ์สิทธิเด็ก
กจิ กรรมพัฒนาการอา่ น
เปน็ กจิ กรรมให้ผเู้ รียน ความรู้เพิ่มเติม
ได้ฝึกอา่ นค�ำศพั ท์ภาษาไทย
ในหน่วยการเรียนรู้ พรอ้ มกับ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ให้ความช่วยเหลือคุ้มครองเด็ก
มีค�ำอา่ น และความหมาย
มูลนิธิปวีณาหงสกุลเพื่อเด็ก มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก มูลนิธิคุ้มครองเด็ก
และสตรี หมายเลขโทรศัพท์ (จ. สมุทรสงคราม)
หมายเลขโทรศัพท์ ๐-๒๔๑๒-๐๗๓๙, โดยคุณมนตรี สินทวีชัย (ครูยุ่น)
๐-๒๕๗๗-๐๕๐๐-๑, ๐-๒๔๑๒-๑๑๙๖ หมายเลขโทรศัพท์
๐-๒๕๗๗-๐๔๙๖-๘ แฟกซ์: ๐-๒๔๑๒-๙๘๓๓ ๐-๓๔๗๕-๓๑๐๐,
สายด่วน ๑๑๓๔ เว็บไซต์ www.thaichildrights.org ๐๘๖-๗๕๔-๗๙๘๖
เว็บไซต์ e-mail:[email protected] เว็บไซต์ www.facebook.com/pages/
www.pavenafoundation.or.th มูลนิธิคุ้มครองเด็ก จ.สมุทรสงคราม
๑๐๙๒๓๔๖๖๒๕๒๔๕๖๔

กิจกรรมพัฒนาการอ่าน ให้นักเรียนอ่านคำาและความหมายของคำาต่อไปนี้

คำ� ศัพท์ คำ� อ่ำน ควำมหมำย
คุณค่า คนุ -ค่า สิง่ ท่มี ปี ระโยชน์หรอื มีมลู คา่ สงู

พฤติกรรม พรดึ -ติ-กาํ การกระทาํ หรอื อาการทแี่ สดงออกทางกลา้ มเนอื้
ความคดิ และความรสู้ กึ เพอ่ื ตอบสนองสงิ่ เรา้

วฒั นธรรม วดั -ทะ-นะ-ทํา สงิ่ ท่ีทําความเจรญิ งอกงามใหแ้ กห่ ม่คู ณะ

52 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 14

พิเศษ

เว็บไซตแ์ นะนำ� เว็บไซต์แนะนำา
เปน็ หัวข้อทใี่ หผ้ ู้เรียนสามารถ
คน้ หาข้อมูลเพิม่ เติมในเรอ่ื ง พัฒน�ก�รวัยเรียน www.familynetwork.or.th
ทเี่ รียนจากเวบ็ ไซต์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ผังสรุปสาระสำาคัญ เพศหญงิ จะมีการเจรญิ เตบิ โตเร็วกว่า
ผังสรปุ สาระสำ� คัญ การเจรญิ เตบิ โต เพศชาย
เปน็ การสรปุ ความคดิ รวบยอด ทางดา้ นรา่ งกาย ฟันแทเ้ ริม่ ขึ้นแทนทีฟ่ นั น้ำานม
ของเนือ้ หาในแต่ละหวั ข้อของ
หน่วยการเรยี นรู้ การเจรญิ เติบโต ปรากฏลักษณะทางเพศท่ีชดั เจน
และพฒั นาการ
ทีเ่ หมาะสมตามวยั พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย : กลา้ มเนอื้ แขง็ แรง
สามารถเคล่อื นไหวไดค้ ลอ่ งแคล่ววอ่ งไว
พฒั นาการ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา : มีความสามารถ
ด้านตา่ ง ๆ ในการคดิ และแก้ไขปญั หา รู้จกั ใช้เหตุผล
ในการตัดสนิ ใจ อยากรู้อยากเหน็
พัฒนาการดา้ นจิตใจและอารมณ์ : สามารถ
ควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดี รักสวยรกั งาม
เรมิ่ สนใจเร่อื งทางเพศ ต้องการเปน็ ทยี่ อมรบั
ของกลมุ่ เพ่อื น
พัฒนาการดา้ นสังคม : ชอบอย่กู บั กลุ่มเพื่อน
เล่นกันเป็นกลุ่ม มีความรักและซ่ือสัตย์
ตอ่ กลมุ่

การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการท่เี หมาะสมตามวยั 17

15 สุดยอดคู่มือครู

พิเศษ

กิจกรรมพฒั นาการอ่าน ให้นักเรียนอ่านคำาและความหมายของคำาต่อไปนี้
ควำมหมำย
ค�ำศัพท์ คำ� อ่ำน
ขะ-ยมุ่ เอาปลายน้วิ ทงั้ ๕ หยบิ รวบขึน้ มาเพอ่ื ให้ได้มาก
ขยมุ้
เส้นที่ลากจากจดุ ศูนย์กลางของวงกลมไปถงึ
รศั มี รัด-สะ-หม ี เสน้ รอบวง
เทา่ กนั พอ ๆ กนั เหมอื นกัน
เสมอ สะ-เหมอ

กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้
เปน็ กิจกรรมให้ผู้เรยี น
กิจกรรม การเล่นกีฬาพน้ื ฐาน ไดฝ้ ึกปฏบิ ตั แิ ละพัฒนาทกั ษะ
ทางด้านการคดิ และความรู้
๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษากฎ กติกา การเล่นห่วงข้ามตาข่าย แชร์บอล ประจ�ำหนว่ ยการเรยี นรู้
หรือแฮนดบ์ อล แลว้ ฝกึ ทกั ษะการเลน่ และตอบคาำ ถามตอ่ ไปน้ี
๑.๑ วิธกี ารเล่น กฎ กตกิ ามอี ะไรบ้าง
๑.๒ หลักสำาคญั ในการเล่นคอื อะไร
๑.๓ กฬี าชนดิ น้เี หมาะสมกับนกั เรยี นหรอื ไม ่ เพราะอะไร
๑.๔ ข้อเสนอแนะในการเลน่ มอี ะไรบา้ ง
๒. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปคุณค่าของการเล่นกีฬาเป็นแผนภาพความคิด
ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี

คุณค่ำของกำร
เล่นกีฬำ

การเลน่ กีฬาพื้นฐาน 123

คำ� ถามพฒั นากระบวนการคิด ๓. ให้นักเรียนรวบรวมภาพนักกีฬาและภาพข่าวกีฬาประเภทที่ตนเอง
เปน็ ค�ำถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ สนใจ และบอกเหตผุ ลที่ช่นื ชอบ
ใหผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ ึกคิดวเิ คราะห์ ๔. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกล่มุ ชว่ ยกนั คิดกีฬาชนิดใหม ่ ๆ พรอ้ มทง้ั กฎ กตกิ า
มารยาทนาำ มาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น
สุดยอดคู่มือครู 16
คาำ ถามพัฒนากระบวนการคิด

๑. ผทู้ ี่จะเลน่ กฬี าได้ดีควรมีลกั ษณะอยา่ งไร
๒. นกั เรียนจะนาำ คุณลักษณะอนั พึงประสงคด์ า้ นมีวนิ ยั มาประยุกต์ใช้
ในการเล่นกีฬาไดอ้ ยา่ งไร
๓. การเล่นกฬี าส่งผลตอ่ บคุ ลกิ ภาพอย่างไร
๔. นกั เรียนจะพฒั นาความสามารถในการเลน่ กีฬาของตนเองใหด้ ขี ้นึ
ไดอ้ ยา่ งไร
๕. นกั เรียนควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไรในการเลน่ กฬี าเพ่อื ให้การเลน่ เป็นไป
อยา่ งราบรน่ื
๖. การเล่นกีฬาแชร์บอลชว่ ยพัฒนาทักษะการเลน่ กีฬาชนดิ ใด
๗. การเล่นกฬี าแชรบ์ อลเป็นประจำาจะเกิดผลอยา่ งไร
๘. การเลน่ กีฬาผิดกติกาทำาให้เกิดผลเสียอยา่ งไร
๙. ถา้ ไม่มสี นามกีฬาแฮนด์บอลนักเรยี นจะเล่นกฬี าแฮนดบ์ อลในสถานท่ีใด
๑๐. กฬี าแฮนด์บอลแตกตา่ งจากกฬี าแชร์บอลอย่างไร

124 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๔

หนังสอื เรยี น

รายวชิ าพื้นฐาน

สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) พสุขลศศกึึกษษาาและ
๑๒๕๖/๙ ถนนนครไชยศรี
แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสติ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(อัตโนมัติ ๑๕ สาย),
๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙ ผ้เู รยี บเรยี ง รองศาสตราจารย์ ดร.เรณุมาศ มาอนุ่
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข,
แฟกซ์อัตโนมตั ิ :
๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑,
๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖
สงวนลขิ สิทธิ์
บรษิ ทั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
จำากดั
พ.ศ. ๒๕๖๔

ผู้ตรวจ ดร.จุฑามาศ บัตรเจริญ
ดร.ปราณี เสนีย์
ดร.จรุ ยี ์ เลาหพงษ์

website : บรรณาธิการ อาจารย์นฤมล วิจติ รรัตนะ

www.iadth.com

คำ�น�ำ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา ได้จัดทำาขึ้นตามมาตรฐานการเรียนร ู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเน้ือหาครอบคลุมสาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระท่ี ๒
ชีวิตและครอบครัว สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล สาระที่ ๔
การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค และสาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชีวิต โดยตรงตามจุดประสงค์
ของการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งและพฒั นาพฤตกิ รรมทางสขุ ภาพ ทง้ั ดา้ นความรู้
เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคู่ไปด้วยกัน รวมทั้งการใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหว
การออกกำาลังกาย การเล่นเกมและกีฬาในการพัฒนาสุขภาพ ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ใหเ้ หมาะ สมก บั วยั ข องผ ู้เรยี น
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แกผ่ สู้ อนและผเู้ รยี น หนงั สอื เรยี นเลม่ นจ้ี งึ ไดน้ าำ เสนอเนอ้ื หาทท่ี นั สมยั มกี จิ กรรมการเรยี นรู้
ท่ีนำาไปสู่การประเมินผลตรงตามตัวชี้วัด มีคำาถามพัฒนากระบวนการคิดและสอดแทรกข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพน่ารู้ อนุรักษ์
สง่ิ แวดลอ้ ม ปลอดภยั ไวก้ อ่ น รอบรอู้ าเซยี น ความรรู้ อบโลก เวบ็ ไซตแ์ นะนาำ สนกุ กบั คาำ ศพั ท ์ ความรเู้ พม่ิ เตมิ จดุ ประกายความรู้
แ ละกิจก รรมพ ฒั นา การอ ่าน เพ่ือ ใหผ้ เู้ รีย นมีความร ู้ที่กวา้ งขน้ึ
หนังสือเรียนเล่มน้ี จึงเปรียบเสมือนหลักทางด้านวิชาการสำาหรับผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนสำาหรับผู้เรียน
ตลอดจนเป็นแนวทางและวิธีการปฏิบตั ิตนในการดแู ลรักษาสุขภาพของผ้เู รยี น ครอบครวั และชมุ ชน ก่อให้เกิดประโยชน์
ในการจดั การศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมายได้อยา่ งแท้จรงิ
รองศาสตราจารย์ ดร.เรณมุ าศ มาอนุ่

ค�ำ ชี้แจง

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ฉบับน้ีได้ปรับแก้ไขเน้ือหาให้ถูกต้องและสอดคล้อง
ตามพระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
ในวยั รนุ่ พ.ศ. ๒๕๕๙ และกฎหมายอื่นที่เก่ียวข้อง ซ่งึ แกไ้ ขปรบั ปรงุ เนอ้ื หาภายใตห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยปรับแก้ไขเน้ือหาในสาระท่ี ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวิตและ
ครอบครัว และสาระที ่ ๕ ความปลอดภยั ในชีวติ เฉพาะเร่ืองที่เกี่ยวขอ้ งกับเพศวถิ ี ความเทา่ เทียมระหว่างเพศ การปอ้ งกนั
และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น ซ่ึงได้กำาหนดคำาสำาคัญความหมาย เน้ือหา และตัวอย่าง โดยสำานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
และภาคประชาสังคมได้จัดทาำ ข้นึ เพือ่ เป็นกรอบและแนวทางให้ทกุ สาำ นกั พิมพ์ใช้ในการปรบั แกไ้ ขหนังสอื เรียนใหถ้ กู ต้อง
เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจตรงกนั ตัง้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันมัธยมศกึ ษาปีที ่ ๖
ท้ังนี้ การปรับปรุงหนังสือเรียนดังกล่าว ยังคงยึดถือรากฐานเดิมของสังคมไทยไปพร้อมกับการเปล่ียนแปลง
ของสงั คมโลก ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ ่อนกั เรยี น ผู้ปกครอง คร ู และทกุ คนในสังคมในการรว่ มสร้างความเขา้ ใจและยอมรบั
การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดข้ึนในศตวรรษท ี่ ๒๑ อย่างเท่าเทยี มไปพรอ้ มกนั

ส�รบัญ หน้า

สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ๑๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย

การเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ๑๒
การเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย ๑๓
พัฒนาการด้านต่าง ๆ ๑๔
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๘
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๒๐

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ระบบอวัยวะที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย ๒๑

ระบบกล้ามเนื้อ ๒๒
ระบบกระดูกและข้อต่อหรือระบบโครงร่าง ๒๔
การตรวจสอบการเจริญเติบโตของระบบกล้ามเนื้อ ๒๗
ระบบกระดูกและข้อต่อ ๒๘
กิจกรรมการเรียนรู้ ๒๙
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว ๓๐

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ คุณค่าของครอบครัวและเพื่อน ๓๑
๓๔
ครอบครัวและลักษณะของครอบครัวที่ดี ๓๖
คุณลักษณะของสมาชิกที่ดีในครอบครัว ๓๖
กิจกรรมการเรียนรู้ ๓๗
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๓๙
คุณลักษณะของความเป็นเพื่อน ๔๐
กิจกรรมการเรียนรู้
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ พฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นในสังคมพหุวัฒนธรรม หน้า

๔๒

คุณค่าของวัยรุ่น ๔๓
การวางตัวต่อกันในฐานะสุภาพชน ๔๕
การรู้เท่าทันสื่อในสังคมพหุวัฒนธรรม ๔๗
การปฏิเสธการกระทําที่เป็นอันตรายและไม่เหมาะสมในเรื่องเพศ ๔๙
กิจกรรมการเรียนรู้ ๕๔
คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๕๔

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำาลังกาย การเล่นเกม ๕๕
กีฬาไทย และกีฬาสากล
๕๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำาวัน ๕๙
๗๑
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ๗๒
การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมการเรียนรู้
คําถามพัฒนากระบวนการคิด

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ กายบริหารประกอบจังหวะ ๗๓

กิจกรรมเข้าจังหวะ ๗๔
กายบริหารประกอบดนตรี ๘๐
การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะเพลง ๘๓
กิจกรรมการเรียนรู้ ๘๗
คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๘๗

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ การเล่นเกมและกิจกรรมทางกาย หน้า

เกมเลียนแบบ ๘๘
กิจกรรมแบบผลัด
ข้อเสนอแนะในการเล่นเกมและกิจกรรมทางกาย ๘๙
คุณค่าของการเล่นเกมและกิจกรรมทางกายที่มีต่อสุขภาพ ๙๓
กิจกรรมการเรียนรู้ ๙๙
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๐๐
๑๐๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ การเล่นกีฬาพื้นฐาน ๑๐๒

การเล่นกีฬาพื้นฐาน ๑๐๓
ห่วงข้ามตาข่าย
แชร์บอล ๑๐๔
แฮนด์บอล ๑๐๕
คุณค่าของการเล่นกีฬา ๑๐๘
หลักในการเล่นกีฬา ๑๑๓
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๒๐
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๒๑
๑๒๓
๑๒๔

สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ การสร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๑๒๕

สมรรถภาพทางกายและกิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ๑๒๖
การทดสอบสมรรถภาพทางกายและกิจกรรมทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย ๑๓๐
การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย ๑๓๓
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๓๕
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๓๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ หน้า

ความสำาคัญและประเภทของสิ่งแวดล้อม ๑๓๗
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะและเอื้อต่อสุขภาพ ๑๓๘
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในที่สาธารณะ ๑๓๙
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๔๕
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๕๒
๑๕๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ สภาวะทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ ๑๕๗

สภาวะทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ ๑๕๘
ความเครียดและการจัดการกับความเครียด
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๕๙
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๖๔
๑๖๖
๑๖๘

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ ฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ๑๖๙

ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบในชีวิตประจำาวัน ๑๗๐
หลักในการอ่านข้อมูลฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพและฉลากอาหาร ๑๗๒
เครื่องหมายบนฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ ๑๗๕
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๗๙
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๗๙

สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต หน้า

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ ยาและสารเสพติดให้โทษ ๑๘๐

ความสำาคัญของยาและประเภทของยา ๑๘๑
การใช้ยาอย่างถูกวิธี ๑๘๒
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๘๗
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๘๗
สารเสพติดให้โทษ ๑๘๘
กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๙๔
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๙๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ การปฐมพยาบาล ๑๙๖

จุดมุ่งหมายของการปฐมพยาบาล ๑๙๗
การปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากการใช้ยาผิด ๑๙๘
การปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากสารพิษและสารเคมี ๑๙๙
การปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากแมลงสัตว์กัดต่อย ๒๐๑
การปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ๒๐๓
กิจกรรมการเรียนรู้ ๒๐๗
คำาถามพัฒนากระบวนการคิด ๒๐๗

บรรณานุกรม ๒๐๘

ตารางมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

สาระที่ ๑ : การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการ ๑. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
เจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ และจิตใจตามวัย
๒. อธิบายความสำาคัญของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
๓. อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ให้ทำางาน
อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระที่ ๒ : ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่า ๑. อธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชิก
ตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะ ที่ดีของครอบครัว
ในการดำาเนินชีวิต ๒. แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตน
ตามวัฒนธรรมไทย
๓. ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการกระทำาที่เป็นอันตราย
และไม่เหมาะสมในเรื่องเพศ

สาระที่ ๓ : การเคลื่อนไหว การออกกำาลัง-
กาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการ ๑. ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหว
เคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม ในลักษณะผสมผสานได้ทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่
และกีฬา และใช้อุปกรณ์ประกอบ
๒. ฝึกกายบริหารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ
๓. เล่นเกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด
๔. เล่นกีฬาพื้นฐานอย่างน้อย ๑ ชนิด

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำาลังกาย ๑. ออกกำาลังกาย เล่นเกม และกีฬาที่ตนเองชอบ และ
การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็น มีความสามารถในการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของ
ประจำาอย่างสมำ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ ตนเองตามตัวอย่างและแบบปฏิบัติของผู้อื่น
กฎ กติกา มีนำ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ
ในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นกีฬาพื้นฐานตามชนิด
ของการกีฬา กีฬาที่เล่น

สาระที่ ๔ : การสร้างเสริมสุขภาพ
สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
ในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ ๒. อธิบายสภาวะอารมณ์ ความรู้สึกที่มีผลต่อสุขภาพ
การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพ ๓. วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์
เพื่อสุขภาพ สุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภค
๔. ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตาม
ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

สาระที่ ๕ : ความปลอดภัยในชีวิต ๑. อธิบายความสำาคัญของการใช้ยาและใช้ยาอย่าง
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยง ถูกวิธี
ปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ ๒. แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากการใช้
ความรุนแรง ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กัดต่อย และการบาดเจ็บ
จากการเล่นกีฬา

๓. วิเคราะห์ผลเสียของการสูบบุหรี่และการดื่มสุราที่มี
ต่อสุขภาพและการป้องกัน

ที่มา : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการ

ตารางวเิ คราะห์หนว่ ยการเรยี นร้ทู ส่ี อดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ัด
กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔

มาตรฐานการเรียนรู้และ สาระที่ ๑ สาระที่ ๒ สาระที่ ๓ สาระที่ ๔ สาระที่ ๕
ตัวชี้วัด พ ๑.๑ พ ๒.๑ พ ๓.๑ พ ๓.๒ พ ๔.๑ พ ๕.๑
๑๒๓๑๒๓๑๒๓๔๑๒๑๒๓๔๑๒๓
หน่วยการเรียนรู้
3
๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ที่เหมาะสมตามวัย

๒. ระบบอวัยวะที่มีผลต่อการเจริญ-
เติบโตและพัฒนาการของร่างกาย 3 3

๓. คุณค่าของครอบครัวและเพื่อน 3

๔. พฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น 33
ในสังคมพหุวัฒนธรรม

๕. การเคลื่อนไหวร่างกาย 3
ในชีวิตประจำาวัน

๖. กายบริหารประกอบจังหวะ 3

๗. การเล่นเกมและกิจกรรมทางกาย 33

๘. การเล่นกีฬาพื้นฐาน 3 33

๙. การสร้างเสริมและทดสอบ 3
สมรรถภาพทางกาย

๑๐. ความสัมพันธ์ระหว่าง 3
สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ

๑๑. สภาวะทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อ 3
สุขภาพ

๑๒.ฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์ 3
สุขภาพ

๑๓. ยาและสารเสพติดให้โทษ 33

๑๔. การปฐมพยาบาล 3

สรุป 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ เปา้ หมายการเรียนรู้

ที่เหมาะสมตามวัยการเรยี นรู้ที่ มาตรฐานการเรียนรู้

ห ่นวย มาตรฐาน พ ๑.๑
น เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ

พฒั นาการของมนุษย์

ตัวชีว้ ัด สมรรถนะส�ำ คัญของผ้เู รยี น
อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรา่ งกายและจิตใจตามวัย (พ ๑.๑ ป.๔/๑)
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
ผงั สาระการเรยี นรู้ พัฒนาการด้านรา่ งกาย ๒. ความสามารถในการคิด
พัฒนาการด้านสติปญั ญา ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
การเจริญเติบโต พฒั นาการ ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
ทางดา้ นร่างกาย ดา้ นต่าง ๆ พัฒนาการด้านจติ ใจ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
และอารมณ์
พฒั นาการด้านสังคม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

การเจริญเติบโต ใฝ่เรยี นรู้
และพัฒนาการ ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน
ทเี่ หมาะสมตามวยั การเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
สาระสาำ คญั เรียนรู้ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก
ในชว่ งวยั ตา่ ง ๆ จะตอ้ งมพี ฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายและสตปิ ญั ญา พฒั นาการทางดา้ นจติ ใจและอารมณ์ โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง
และพัฒนาการทางด้านสังคมสอดคล้องกันอย่างเหมาะสม ในวัยเด็กท่ีจะเร่ิมเข้าสู่วัยรุ่น พัฒนาการด้าน เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
ต่าง ๆ จะเกิดขนึ้ อยา่ งชัดเจนควบคกู่ ับการเจริญเติบโตของร่างกาย จึงต้องสรา้ งเสริมพฒั นาการด้านต่าง ๆ เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต
ดว้ ยการฝกึ ปฏบิ ัติตนอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั เพศและวัย ประจ�ำ วันได้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จุดประกายโครงงา มุง่ มนั่ ในการท�ำ งาน
ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบใน
การปฏบิ ัติหน้าท่กี ารงาน
ตัวชี้วัดที่ ๖.๒ ทำ�งานด้วยความเพียร
พยายามและอดทนเพื่อให้งานสำ�เร็จ
ตามเปา้ หมาย

นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นวิธีการในการพัฒนาทาง

ด้านร่างกายและจิตใจของวัยต่าง ๆ ในวิถีของชุมชน รวบรวมข้อมูล ออกแบบ

และนำ�เสนอในรปู แบบแผงโครงงาน

11 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตวั ชีว้ ดั การเจริญเติบโตและพัฒนาการทเี่ หมาะสมตามวยั

พ ๑.๑ ป.๔/๑ จดุ ประกายความคิด
ภาระงาน/ช้นิ งาน ป.๓
แบบบันทกึ นาํ้ หนกั และส่วนสงู

St Step 1 ข้ันสังเกต

รวบรวมข้อมูล

๑. นักเรียนจับคู่กันสนทนาเก่ียวกับการ ผา่ นไป ๑ ปี
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ร่ า ง ก า ย ที่ มี จ า ก เด็ก ๆ ในภาพ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ แล้วนำ�ข้อมูล ป.๔ มกี ารเปลยี่ นแปลง
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายตนเอง อยา่ งไรบา้ ง
กบั ค่สู นทนานำ�เสนอหน้าช้นั เรยี น
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของชีวิต หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
๒. นกั เรียนรว่ มกันสนทนา โดยตอบค�ำ ถาม ในหลาย ๆ ด้าน ทั้งการเจริญเติบโตขึ้นของร่างกาย การพัฒนาด้าน
ดังนี้ สติปัญญา จิตใจ และอารมณ์ และการปรับตัวในสังคม การเจริญเติบโต
และพัฒนาการของชีวิต มีดังนี้
• นักเรียนคิดว่าเม่ือโตข้ึนเป็นผู้ใหญ ่
ตนเองจะมรี ูปรา่ งเปน็ อย่างไร

๓. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นรา่ งกาย
จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้
ที่หลากหลาย

ep 2 ขนั้ คดิ วิเคราะห์

และสรุปความรู้

๔. ตัวแทนนักเรียน ๒ คน ออกมายืน 12 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔
หน้าช้ันเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกัน

แสดงความคดิ เหน็ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั นี้
• นกั เรยี นทงั้ ๒คนมกี ารเจรญิ เตบิ โต ๕. นักเรยี นคิดประเมนิ เพื่อเพม่ิ คณุ คา่ โดยตอบคำ�ถาม ดงั นี้
แตกต่างกันอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ • นกั เรยี นจะดแู ลตนเองอยา่ งไรใหเ้ จรญิ เตบิ โตและมพี ัฒนาการทเี่ หมาะสมกบั วยั
สูงไม่เทา่ กัน รปู รา่ งไมเ่ ทา่ กัน) (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์และหมน่ั ออกก�ำ ลงั กายอยา่ งสมา่ํ เสมอ)

• ร่างกายของนักเรียนมีอะไรบ้างท่ี

เปลี่ยนแปลงจากชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓

(ตวั อยา่ งคำ�ตอบ ตัวสูงขนึ้ นํ�ำ้ หนกั

มากข้นึ )

สุดยอดคู่มือครู 12

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St ข้นั ปฏิบัติ
St St และสรุปความรู้
๑. การเจริญเติบโตทางด้านรา่ งกาย หลังการปฏบิ ัติ

การเจริญเติบโตทางด้านร่ างกายเป็ นการ ๖. นักเรียนสำ�รวจร่างกายของตนเอง
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง ร่ า ง ก า ย ทั้ ง ข น า ด แ ล ะ รู ป ร่ า ง และบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึก
ตามธรรมชาติ และค่อยเป็นค่อยไป ในช่วงอายุ ดงั ตัวอยา่ ง
๙-๑๒ ปี มีลักษณะทางร่างกายที่สำาคัญ ดังนี้
แบบบันทกึ น้ํำ�หนกั และส่วนสงู
๑. เพศหญิงส่วนมากจะมีการเจริญเติบโต
ลักษณะทางร่างกายของเพศชาย ชอ่ื (ณดา) นามสกุล (เรียนดี) เพศ (หญงิ )
เร็วกว่าเพศชายทั้งส่วนสูงและนำ้าหนัก และเพศหญิง อายุ ๙-๑๒ ปี อายุ (๙) ปี (๔) เดอื น ส่วนสงู (๑๒๕) เซนตเิ มตร
น�้ํำ หนกั (๓๐)กิโลกรมั
ตาราง เกณฑ์นำ้าหนักและส่วนสูงของเด็กไทยอายุ ๙-๑๒ ปี
นักเรียนมนี �ํำ้ หนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์หรือไม่
เพศชาย เพศหญิง (เปรียบเทียบกับตารางเกณฑม์ าตรฐานน�ำํ้ หนัก

อายุ นํ้าหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ นํ้าหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ และสว่ นสูงของเดก็ ไทยอายุ ๙-๑๒ ปี)
(กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร)
๙ นํำ้ �หนกั ส่วนสงู
๑๐ ๒๑.๕๐-๓๖.๖๐ ๑๒๑.๘๐-๑๓๘.๓๐ ๒๑.๒๐-๓๗.๔๐ ๑๒๑.๙๐-๑๓๙.๑๐ มากกว่าเกณฑ์ สงู กว่าเกณฑ์
๑๑ ๒๓.๖๐-๔๐.๘๐ ๑๒๖.๒๐-๑๔๓.๔๐ ๒๓.๔๐-๔๒.๑๐ ๑๒๗.๑๐-๑๔๖.๑๐
๑๒ ๒๕.๖๐-๔๕.๒๐ ๑๓๐.๕๐-๑๔๙.๔๐ ๒๖.๑๐-๔๖.๕๐ ๑๓๒.๙๐-๑๕๒.๖๐ ✓ ตามเกณฑ ์ ✓ ตามเกณฑ์
๒๘.๑๐-๕๐.๐๐ ๑๓๕.๑๐-๑๕๖.๙๐ ๒๙.๔๐-๕๐.๒๐ ๑๓๘.๘๐-๑๕๖.๙๐ นอ้ ยกว่าเกณฑ์ ต่ํ�ำ กวา่ เกณฑ์

ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
แตกตา่ งจากชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ อย่างไรบ้าง
๒. ฟันแท้เริ่มขึ้นแทนที่ฟันนำ้านม และเริ่มมีฟันเขี้ยวขึ้นมา
(น้ําหนักและส่วนสูงเพิม่ ขึน้ )

๓. เริ่มปรากฏลักษณะทางเพศของแต่ละเพศ ๗. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีเข้าใจเป็น
ชัดเจน โดยในเพศหญิงสะโพกจะผายออก หน้าอก ความรู้ร่วมกนั ดงั น้ี

ใหญ่ขึ้น เอวเล็กลง มีขนขึ้นที่รักแร้และอวัยวะเพศ • พัฒนาการทางด้านร่างกาย
ของเพศชายและเพศหญิงจะมีการ
ส่วนเพศชาย เสียง เริ่มเปลี่ยนจากปกติเป็นเสียงใหญ่ เปลยี่ นแปลงแตกตา่ งกนั ไปตามชว่ งวยั
ตา่ ง ๆ
ไหล่กว้าง มือและเท้าใหญ่ขึ้น มีกล้ามเนื้อเป็นมัดใหญ่
ep 4
มีสิว มีหนวดและขนขึ้นที่รักแร้และอวัยวะเพศ ลักษณะ

เหล่านี้จะเป็นไปตามเพศโดยกำาเนิด เพศชายและเพศหญิงมีลักษณะ
การเปลี่ยนแปลงทางเพศชัดเจนมากขึ้น

การเจริญเติบโตและพัฒนาการท่เี หมาะสมตามวัย 13

5ep ขั้นประเมนิ เพ่ือเพ่ิมคุณคา่ ขนั้ สอ่ื สารและนำ� เสนอ
บริการสงั คม
และจติ สาธารณะ ๘. นกั เรียนออกมานำ�เสนอผลการบนั ทึก
น้ํ า ห นั ก แ ล ะ ส่ ว น สู ง ข อ ง ต น เ อ ง
๙. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ป้ายนิเทศตารางเกณฑ์นํ้าหนักและส่วนสูง หนา้ ชนั้ เรียน
ของเดก็ ไทยอายุ ๙-๑๒ ปี จากนน้ั นำ�ไปติดท่ีห้องสมุด หอ้ งพยาบาล
หรอื มมุ ความรู้ตา่ ง ๆ ของโรงเรียน เพ่ือเผยแพรค่ วามรู้ให้แก่ผู้อ่นื การเจรญิ เติบโต
ทางด้านรา่ งกาย

13 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชว้ี ัด ๒. พฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ

พ ๑.๑ ป.๔/๑ เมือ่ รา่ งกายมกี ารเจรญิ เตบิ โตและเปลีย่ นแปลง
ภาระงาน/ชนิ้ งาน ไปตามวัย จะส่งผลให้เด็กชายและเด็กหญิง
แบบส�ำ รวจพฤตกิ รรม วัย ๙-๑๒ ปี มีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ควบคู่ไปด้วย
ดังนี้
St St ep 1 ขั้นสังเกต ๑. พัฒนาการด้ านร่ างกายในชว่ งอายุ๙-๑๒ปี การเคลื่อนไหวเร็วขึ้นกว่าเดิม
คือ สามารถใช้กล้ามเนื้อเคลื่อนไหวได้ว่องไวกว่าเดิม เช่น ใช้ขาในการเคลื่อนที่
รวบรวมขอ้ มูล เร็วขึ้น ใช้มือทำางานคล่องแคล่วว่องไวขึ้น
๒. พัฒนาการด้านสติปัญญาในช่วงอายุ ๙-๑๒ ปี คือ มีความคิดที่กว้างขึ้น
๑. นักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยน จึงมีความสามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้ดีขึ้น รู้จักเลือกอ่านหนังสือต่าง ๆ ตาม
ประสบการณ์ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั นี้ ความสนใจ เริ่มใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ รู้จักรับผิดชอบมากขึ้น รู้จักใช้เหตุผล
มีความอยากรู้อยากเห็น ตั้งความหวังในการทำางานสูง
• นอกจากพัฒนาการทางด้านร่างกาย และต้องการทำาให้ได้ผลสมบูรณ์ที่สุด นอกจากนั้น
แล้ว ภายในตัวนักเรียนมีอะไรที่พัฒนา ยังต้องการความเป็นอิสระในการคิดและการกระทำา
เปล่ียนแปลงไปบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ ด้วยตนเอง แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องการความ
สติปญั ญา อารมณก์ ับจิตใจ และสังคม) ช่วยเหลือสนับสนุน และการแนะแนวทางจากผู้ใหญ่
หรือบุคคลที่ตนยอมรับนับถือด้วย
• นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อได้รับคำ�ชม ๓. พัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ในช่วง การอ่านหนังสือที่ตนสนใจ
(ตวั อยา่ งคำ�ตอบ ดใี จ มีความสขุ ) ช่วยพัฒนาสติปัญญา
อายุ ๙-๑๒ ปี มีลักษณะ ดังนี้
• นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อถูกตำ�หนิ ๑. สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดี
(ตัวอย่างค�ำ ตอบ เสยี ใจ ไมช่ อบใจ) ไม่โกรธง่ายและไม่โมโหง่าย
๒. เมื่อโกรธอาจใช้เสียงดัง แต่ไม่มี
• นกั เรียนมเี พือ่ นหรือไม่ พฤติกรรมการต่อสู้
(ตวั อย่างคำ�ตอบ มี) ๓. ต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน
• เพือ่ นของนักเรยี นเป็นอย่างไร ๔. สนใจตนเองมากขึน้ ชอบแตง่ ตวั รกั สวย
(ตัวอย่างค�ำ ตอบ พูดจาไพเราะ มีน�ำ้ํ ใจ) รักงาม และเร่มิ สนใจเพื่อนตา่ งเพศ การพูดคุยกับเพื่อนด้วยความ
• นักเรียนชอบอ่านหนังสือประเภทใด ยิ้มแย้มแจ่มใส ทำาให้มีจิตใจ
และอารมณ์ที่ดี
(ตัวอย่างคำ�ตอบ การต์ นู หนงั สอื เรียน)
๒. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ 14 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

พัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ จากหนงั สือเรยี นหรือ
แหลง่ การเรยี นรูท้ ห่ี ลากหลาย

ep 2 ขัน้ คิดวเิ คราะห์

และสรปุ ความรู้

๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น พฒั นาการด้านจติ ใจและอารมณ์ พฒั นาการด้านสังคม
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี • พัฒนาการทางด้านจิตใจและอารมณ์ • นักเรียนมีเพื่อนต่างเพศหรือไม่
พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ด้านใดบ้างท่ีนักเรียนแสดงออกบ่อยครั้ง (ตัวอย่างคำ�ตอบ มี)
• นักเรียนสนใจอ่านหนังสือประเภท (ตัวอย่างคำ�ตอบ โกรธง่าย เสียงดังเมื่อ • นักเรียนมีวิธีการคบเพื่อนอย่างไร
ใดบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ นิตยสาร นิยาย ไม่พอใจ) (ตัวอย่างคำ�ตอบ เลือกเพ่ือนที่ชอบทำ�อะไร
• พัฒนาการทางด้านจิตใจและอารมณ์ เหมือนกนั คบเพ่ือนท่ีมนี ้�ำํ ใจ)
การ์ตนู ) ดา้ นใดบา้ งทน่ี กั เรยี นไมเ่ คยปฏบิ ตั ิ (ตวั อยา่ ง
• เมื่อไม่เข้าใจบทเรียน นักเรียนทำ�
อยา่ งไร(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบถามครหู รอื ปรกึ ษา คำ�ตอบ ต้องการใหผ้ อู้ ่ืนยอมรับ)

พ่อแม่)

สุดยอดคู่มือครู 14

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St ขั้นปฏิบตั ิ
และสรุปความรู้
๔. พัฒนาการด้านสังคมในช่วงอายุ ๙-๑๒ ปี สังคมส่วนใหญ่จะอยู่ที่ หลงั การปฏบิ ตั ิ
โรงเรียน มีการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ทำาให้รู้สึกเป็น
เจ้าของกลุ่มและมีความซื่อสัตย์ต่อกลุ่ม พัฒนาการทางด้านสังคมที่เห็น ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกัน
ได้ชัด มีดังนี้ ปฏบิ ัติกิจกรรมต่อไปน้ี

๑. ชอบอยกู่ บั กลมุ่ เพอ่ื นทมี่ ลี กั ษณะนสิ ยั และความชอบคลา้ ยกนั กลุ่มที่ ๑ นักเรียนร่วมกันสำ�รวจพฤติกรรม
มีความสนใจในกิจกรรมต่าง ๆ ตามความถนดั ของสมาชิกภายในกลุ่ม แล้วจำ�แนกข้อมูล
ลงในตาราง ดงั ตัวอย่าง

พฤติกรรม การปฏบิ ัติ
จเำ�ปน็นวปนร(ะคจนำ�) จำ�นบาวงนคร(คงั้ น) จำ�นไวมน่เค(ยคน)

๑. ท�ำ การบ้านไม่ถกู - (๒) (๘)
๒. ลอกการบา้ นเพ่ือน - - (๑๐)
๓. อ่านหนังสือไม่ออก - (๔) (๖)
๔. เขียนหนังสือไมถ่ กู - (๔) (๖)
๕. ท�ำ ข้อสอบ
ไดค้ ะแนนไม่ด ี (๒) (๔) (๔)

กลุ่มท่ี ๒ นักเรียนสำ�รวจพัฒนาการทาง
ด้านจิตใจและอารมณ์ของตนเอง แล้วจำ�แนก
ขอ้ มูลลงในตาราง ดงั ตวั อยา่ ง

- การเล่นเป็นกลุ่ม จติ ใจและอารมณ์ การแสดงออก
เป็นประจำ� บางครั้ง ไม่เคย

๑. โกรธงา่ ย - (๔) (๖)
๒. ตอ้ งการคำ�ชมเชย - (๒) (๘)
๒. เด็กในวัยนี้เริ่มมีความสนใจในเรื่องทางเพศ แต่ละคน ๓. เสยี งดังเมือ่ ไม่พอใจ (๑) (๔) (๕)
อาจมีความชอบและการแสดงออกทางเพศเหมือนกันหรือแตกต่างกันได้ ๔. ต้องการให้ผ้อู ่ืนยอมรับ - (๕) (๕)
๕. ชอบเล่นรวมกลุ่ม
ซึ่งไม่จำาเป็นต้องมีความชอบหรือการแสดงออกที่ตรงกับเพศโดยกำาเนิด กบั เพ่อื น (๑๐) - -
เช่น ชายแสดงออกเป็นหญิง หญิงแสดงออกเป็นชาย
กลมุ่ ที่ ๓ นกั เรยี นรว่ มกนั ส�ำ รวจพฤตกิ รรมของ
๓. มกี ารปรบั ตวั เพือ่ ใหใ้ ชช้ วี ติ รว่ มกบั เพือ่ น ๆ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สมาชกิ ภายในกลมุ่ ตามหวั ขอ้ ทกี่ �ำ หนดให้ แลว้
ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ ดังนี้ จำ�แนกข้อมลู ลงในตาราง ดังตัวอย่าง

พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิ
จเำ�ปน็นวปนร(ะคจนำ�) จำ�นบาวงนคร(คงั้ น) จำ�นไวมน่เค(ยคน)

การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการทีเ่ หมาะสมตามวัย 15 ๑. ชว่ ยเพื่อนท�ำ
ความสะอาดช้นั เรยี น (๙) (๑) -
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ ๒. นง่ั รับประทานอาหาร
กลางวนั กับเพอ่ื น (๑๐) - -
นกั เรยี นควรแสดงอารมณ์ใดเมอ่ื ต้องการเข้าสงั คมกับผูอ้ น่ื ๓. กลา่ วคำ�ขอโทษ
๑ โกรธอยู่ตลอดเวลา ๒ กลัวหรือตนื่ ตระหนก เม่อื ทำ�ผิด (๗) (๓) -
๓ สดชืน่ แจ่มใส ๔ เสยี ใจ เศร้าใจ ๔. แต่งชดุ นกั เรียน
(เฉลย ๓ เพราะเปน็ การแสดงอารมณใ์ นทางที่ดี ท�ำ ให้คนรอบข้างอยากพูดคุยด้วย) ตามกฎของโรงเรยี น (๑๐) - -
๕. ใหเ้ พอื่ นยืมอปุ กรณ์-
การเรยี นทีจ่ �ำ เป็น (๘) (๒) -

15 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 3 ข้ันปฏบิ ตั ิ
St แหลละังสกราปุรปควฏาิบมัตริู้  รู้จักรับฟังความคิดเห็น
ของเพื่อน
 รู้จักช่วยเหลือเพื่อน เช่น
ช่วยเพื่อนถือของ ช่วยเพื่อน
๕. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็น เก็บขยะ
ความรรู้ ว่ มกัน ดงั น้ี
• การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ที่เหมาะสมตามวัยมีการเปลี่ยนแปลง
ในหลาย ๆ ด้าน ทั้งการเจริญเติบโต
ของรา่ งกาย พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา
จติ ใจ อารมณ์ และการปรบั ตวั ในสงั คม การใช้ การยอมรับฟังความคิดเห็น
ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม จึ ง มี การช่วยเพื่อนถือของ ชวี ิต ของเพื่อนในชั้นเรียน
ร่วมกบั
ส่วนสำ�คัญในการเจริญเติบโตและ  ทำาตามกฎระเบียบ หรือ เพือ่ น  ไม่นำาสิ่งของของเพื่อน
พฒั นาการที่เหมาะสมตามวยั ข้อปฏิบัติของชั้นเรียน มาเป็นของตน
และโรงเรียน

การช่วยกันทำาความสะอาด การคืนสิ่งของให้กับเพื่อน
ตามข้อตกลงของชั้นเรียน

รอบรู้อาเซียน

คำ�ว่� เด็กช�ยและเด็กหญิง ภ�ษ�อินโดนีเซีย พูดว่� อะดิค (Adik)

สรุป โดยปกติการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านต่าง ๆ จะเกิดขึ้น

พร้อม ๆ กัน การรู้จักยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรู้จักปรับตัวให้
เหมาะสมกับพัฒนาการในแต่ละด้าน จะทำาให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข

16 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การมีพฒั นาการทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ทด่ี จี ะสง่ ผลอย่างไร
๑ อย่ใู นสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ๒ ครอบครัวมรี ายไดม้ ากขน้ึ
๓ มรี ปู ร่างหน้าตาด ี ๔ เลน่ กฬี าได้ดีข้ึน
(เฉลย ๑ เพราะผู้ทส่ี ุขภาพดที ง้ั รา่ งกายและจติ ใจ ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง
และปรับตวั ไดอ้ ย่างเหมาะสม จงึ ดำ�รงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข)

สุดยอดคู่มือครู 16

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 4asean
St St
เว็บไซต์แนะนำา ขน้ั สอื่ สารและนำ� เสนอ

พัฒน�ก�รวัยเรียน www.familynetwork.or.th ๖. นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ส่ ง ตั ว แ ท น
ออกมานำ�เสนอแบบสำ�รวจพัฒนาการ
ผังสรุปสาระสำาคัญ เพศหญงิ จะมีการเจรญิ เตบิ โตเร็วกว่า ทางด้านจิตใจและอารมณ์ของกลุ่ม
การเจรญิ เติบโต เพศชาย ตนเองทลี ะกลมุ่
ทางด้านรา่ งกาย ฟนั แท้เร่ิมขน้ึ แทนทฟ่ี นั นำ้านม
5ep ข้ันประเมนิ เพ่ือเพิม่ คณุ ค่า
การเจรญิ เติบโต ปรากฏลกั ษณะทางเพศที่ชัดเจน บริการสงั คม
และพัฒนาการ และจิตสาธารณะ
ท่ีเหมาะสมตามวยั พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย : กลา้ มเนอื้ แขง็ แรง
สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วว่องไว ๗. นักเรียนนำ�ความรู้เรื่อง การเจริญ-
พฒั นาการ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา : มีความสามารถ เติบโตและพัฒนาการท่ีเหมาะสมตาม
ด้านตา่ ง ๆ ในการคดิ และแกไ้ ขปญั หา รจู้ ักใช้เหตุผล วยั ไปอธบิ ายใหค้ นในชมุ ชนฟงั เพอ่ื ให้
ในการตดั สินใจ อยากรอู้ ยากเห็น เข้าใจถึงพัฒนาการของร่างกายของ
พฒั นาการด้านจติ ใจและอารมณ์ : สามารถ มนุษยใ์ นแตล่ ะช่วงวยั
ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ดี รกั สวยรักงาม
เร่มิ สนใจเรอ่ื งทางเพศ ตอ้ งการเปน็ ที่ยอมรบั
ของกล่มุ เพื่อน
พฒั นาการดา้ นสังคม : ชอบอยกู่ บั กลมุ่ เพอื่ น
เล่นกันเป็นกลุ่ม มีความรักและซื่อสัตย์
ตอ่ กลมุ่

การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการที่เหมาะสมตามวัย 17

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ข้อใดแสดงถึงการมพี ัฒนาการทางด้านร่างกายทีด่ ี
๑ มชี ่วงขายาวกว่าล�ำ ตัว ๒ มฟี นั น้าํ นมขนึ้ แทนฟันแท้
๓ ผู้หญงิ มีหนวดข้ึนทีใ่ บหนา้ ๔ มนี า้ํ หนกั และสว่ นสงู อยูใ่ นเกณฑป์ กติ
(เฉลย ๔ เพราะการมนี ํ้าหนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน แสดงถึงการมี
พฒั นาการทางดา้ นร่างกายทีด่ ี)

17 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชี้วัด กิจกรรมพฒั นาการอา่ น ให้นักเรียนอ่านคำาและความหมายของคำาต่อไปนี้

พ ๑.๑ ป.๔/๑ ความหมาย
ส่ิงทเ่ี กดิ มแี ละเป็นอยตู่ ามธรรมดาของสงิ่ น้นั ๆ
คําศพั ท์ คําอา่ น ทีเ่ ปน็ ไปเองโดยมไิ ดป้ รงุ แต่ง
ธรรมชาติ ทำา-มะ-ชาด

พฒั นาการ พดั -ทะ-นา-กาน การเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดขี ้นึ เจริญขน้ึ
สตปิ ญั ญา สะ-ติ-ปนั -ยา ปญั ญารอบคอบ ปัญญารู้คิด

กจิ กรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมที่ ๑ พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย

๑. ให้นกั เรยี นหากระดาษกราฟมาคนละ ๒ แผ่น แผ่นท่ี ๑ ใช้บันทึก
นาำ้ หนกั ตัว แผน่ ที่ ๒ ใชบ้ ันทึกสว่ นสงู ดังตวั อยา่ งต่อไปน้ี

น้ำ�หนัก
(กิโลกรัม)

28
26
24
22
20

0 1 2 3 4 5 6 7 ช่วงเวลาที่วัด (สัปดาห์)

* แผ่นที่บันทึกส่วนสูงให้ทำาเช่นเดียวกัน

สุดยอดคู่มือครู 18 18 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การกระทำ�ใดทส่ี ่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเจริญเตบิ โตทางดา้ นรา่ งกายท่ดี ี
๑ ตัง้ ใจเรยี นและรักการอ่านหนงั สือ
๒ รบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื
๓ ออกก�ำ ลังกายสมํ่าเสมอ
๔ เสยี สละและแบง่ ปัน
(เฉลย ๓ เพราะการออกก�ำ ลังกายท่เี หมาะสมกบั เพศและวยั ชว่ ยสรา้ งเสริม
ภูมคิ ุม้ กนั โรค ท�ำ ใหร้ ่างกายเจริญเตบิ โตและแขง็ แรง)

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ตัวช้ีวัด

๒. ใหน้ กั เรยี นสรา้ งแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายของตนเอง พ ๑.๑ ป.๔/๑
ดงั ตัวอยา่ ง และบันทกึ ข้อมูลให้ครบถ้วน

แบบบนั ทึกน้ำาหนกั และสว่ นสูง เดือน
กิโลกรัม
ชื่อ นามสกุล
เพศ อายุ ปี
ส่วนสูง เซนติเมตร นำ้าหนัก

นักเรียนมีนำ้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์หรือไม่ (เปรียบเทียบกับตารางในหน้า ๑๓)

นํ้าหนัก ส่วนสูง
มากกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์

ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์

น้อยกว่าเกณฑ์ ตำ่ากว่าเกณฑ์

นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายแตกต่างจากชั้น ป.๓ อย่างไรบ้าง

กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาการทางด้านสตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์และสังคม

๑. ให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า “นิทานหรือข่าว” ที่แสดงถึงคนที่มีนิสัยดี
จิตใจดี หรือมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับคนอื่น ๆ ซ่ึงทำาให้เป็นท่ียอมรับของ
เพอ่ื น ๆ และประสบความสำาเรจ็ ในชวี ติ มาคนละ ๑ เร่อื ง

๒. ใหน้ ักเรยี นเล่านทิ านหรอื ข่าวท่ไี ปศึกษา ค้นคว้ามาใหเ้ พอ่ื น ๆ
ในชนั้ เรียนฟงั

การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการทเี่ หมาะสมตามวัย 19

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ขอ้ ใดเปน็ การพฒั นาดา้ นจติ ใจและอารมณ์ของเดก็ วัย ๙-๑๒ ปี
๑ เร่มิ สนใจเพศตรงขา้ ม ๒ มคี วามอยากรอู้ ยากเห็น
๓ เริม่ มีขนทร่ี กั แรแ้ ละอวัยวะเพศ ๔ เพศหญงิ มีนํ้าหนกั และสว่ นสูงมากกวา่ เพศชาย
(เฉลย ๑ เพราะการพัฒนาดา้ นจติ ใจและอารมณข์ องเดก็ วยั ๙-๑๒ ปี มลี ักษณะดงั นี้
กลัวไมเ่ ปน็ ท่ียอมรบั ของกลุ่มเพ่อื น สนใจตนเองมากขึ้น รักสวยรักงาม และเรม่ิ สนใจเพศตรงข้าม)

19 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชี้วัด ๓. ให้นักเรยี นในชั้นช่วยกันวเิ คราะห์วา่ บุคคลในนทิ านหรอื ขา่ ว
มกี ารปฏบิ ตั ิตนเพื่อใหป้ ระสบความสำาเร็จในชวี ิตไดอ้ ยา่ งไร
พ ๑.๑ ป.๔/๑
๔. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้มีพัฒนาการ
ทางดา้ นจิตใจ อารมณ์และสังคมที่ดี

๕. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แสดงบทบาทสมมุติเก่ียวกับ
การปฏิบัติตนเพ่ือให้มีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี แล้วออกมา
แสดงหนา้ ช้ันเรียนทีละกลุม่

แนวคำ� ตอบ คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

๑. ช่งั นา้ํ หนกั และวัดส่วนสูง ๑. นักเรียนจะทราบพฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายของตนเองได้อย่างไร
๒. ออกกำ�ลังกายสมํ่าเสมอ รับประทาน ๒. นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไรเพื่อใหม้ พี ฒั นาการทางด้านร่างกายที่ดี
๓. การมีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายทเี่ หมาะสมกับวยั ส่งผลอย่างไร
อาหารท่ีมีประโยชน์ พักผอ่ นใหเ้ พียงพอ ๔. นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ นอย่างไรเพอ่ื ใหม้ พี ฒั นาการทางดา้ นจิตใจ
๓. มีสุขภาพท่ีดี ด�ำ รงชีวติ ได้ตามปกติ
๔. ฝกึ ควบคมุ อารมณต์ นเอง นงั่ สมาธิ และอารมณ์ท่ีดี
ใช้เวลาท�ำ กจิ กรรมท่ีชอบ ๕. นกั เรยี นควรปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านสตปิ ัญญาทีด่ ี
๕. อา่ นหนงั สอื ทใี่ หค้ วามรู้ รบั ประทานอาหาร ๖. การมพี ฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญาที่ดจี ะส่งผลอย่างไร
๗. นักเรยี นควรปฏบิ ตั ติ นอย่างไรเพือ่ ให้มพี ัฒนาการทางดา้ นสังคมท่ดี ี
ท่ีบ�ำ รงุ สมอง ไมน่ อนดึก พักผอ่ น ๘. การมีพฒั นาการทางด้านจิตใจและอารมณท์ ไ่ี มด่ ีจะส่งผลอยา่ งไร
ใหเ้ พียงพอ ๙. เม่อื นักเรียนมีปญั หาหรือมเี รือ่ งไมส่ บายใจควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร
๖. เรยี นหนงั สือ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ไดด้ ี ๑๐. เม่ือต้องทาำ งานกลมุ่ ร่วมกับเพอ่ื น นักเรียนควรปฏิบัติตนอยา่ งไร
๗. ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของโรงเรียน
20 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๔
ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ช่วยเหลือ
ผูอ้ ื่นเสมอ
๘. ไม่มใี ครอยากพดู คยุ ดว้ ย
๙. ปรึกษาพ่อแม่ ผปู้ กครอง
๑๐. ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อน
ส่วนใหญ่ รับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ีได้รับ
มอบหมาย

สุดยอดคู่มือครู 20

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เป้าหมายการเรยี นรู้

๒การเรยี นรู้ที่ ระบบอวัยวะที่มีผลต่อการเจริญเติบโต มาตรฐานการเรยี นรู้
และพัฒนาการของร่างกาย
ห ่นวย มาตรฐาน พ ๑.๑
น เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของมนษุ ย์

ตวั ชีว้ ัด สมรรถนะสำ�คญั ของผเู้ รียน
๑. อธิบายความสาำ คัญของกล้ามเนอ้ื กระดกู และขอ้ ทม่ี ีผลตอ่ สขุ ภาพ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ
(พ ๑.๑ ป.๔/๒) ๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. อธิบายวธิ ีดูแลกล้ามเนอ้ื กระดกู และขอ้ ใหท้ าำ งานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (พ ๑.๑ ป.๔/๓) ๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ผังสาระการเรยี นรู้ ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ความสาำ คญั และหน้าที่ การตรวจสอบการเจรญิ -
ของระบบกลา้ มเนอ้ื เติบโตของระบบกลา้ มเน้ือ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
การปฏบิ ัติตนเพอื่ ให้ ระบบกระดูกและขอ้ ต่อ
ระบบกลา้ มเนอ้ื ใฝ่เรยี นรู้
ทาำ งานไดต้ ามปกติ ระบบกล้ามเนอ้ื ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน
การเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
ความสาำ คัญและหนา้ ท่ี ระบบอวยั วะท่ีมีผลตอ่ การ ตัวชี้วัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
ของระบบกระดูก เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ เรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
และข้อตอ่ โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง
การปฏบิ ตั ติ นเพ่อื ให้ ของร่างกาย เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
ระบบกระดูกและข้อตอ่ เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต
ทาำ งานได้ตามปกติ ประจ�ำ วันได้

สาระสาำ คญั ระบบกระดกู และข้อต่อ ม่งุ มัน่ ในการทำ�งาน
หรอื ระบบโครงรา่ ง ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ต้ังใจและรับผิดชอบใน
การปฏิบตั หิ นา้ ทีก่ ารงาน
ร่างกายประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ท่ีทำางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ระบบกล้ามเน้ือและระบบ ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๒ ทำ�งานด้วยความเพียร
โครงรา่ งหรอื ระบบกระดกู และขอ้ ตอ่ ชว่ ยทาำ ใหร้ า่ งกายคงรปู อยไู่ ดแ้ ละชว่ ยในการเคลอ่ื นไหว การปฏบิ ตั ติ น พยายามและอดทนเพื่อให้งานสำ�เร็จ
ได้อย่างถูกต้องในการดูแลรักษาระบบกล้ามเน้ือ ระบบกระดูกและข้อต่อจะส่งผลดีต่อสุขภาพ ทำาให้การ ตามเป้าหมาย
เจริญเติบโตและพัฒนาการเป็นไปอยา่ งปกติ

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จุดประกายโครงงา

นักเรยี นแบง่ กล่มุ จับสลากเลอื กหัวข้อ ดงั น้ี
• หนา้ ทขี่ องระบบกลา้ มเนื้อ (๒ กลมุ่ )
• หน้าท่ีของระบบกระดกู (๒ กล่มุ )
แต่ละกลุ่มร่วมกันจัดทำ�แผนภาพความคิดโครงสร้าง หน้าที่ และการทำ�งาน
ของระบบอวยั วะที่จบั สลากได้ และตกแตง่ ให้สวยงาม

21 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตวั ชี้วัด ระบบกลา้ มเนื้อ

พ ๑.๑ ป.๔/๒ จุดประกายความคดิ
พ ๑.๑ ป.๔/๓
St
ภาระงาน/ชนิ้ งาน
แผนภาพความคิดความสำ�คัญของกล้ามเน้ือ นกั เรียนคิดวา่ เกดิ อะไรข้นึ
กับการดูแลรักษากล้ามเน้ืออย่างถูกวิธีและ กับนกั กีฬาในภาพ
ไม่ถกู วิธี
และจะสง่ ผลอยา่ งไรบา้ ง
ep 1 ข้ันสังเกต
๑. ความสำาคัญและหน้าที่ของระบบกล้ามเนื้อ
รวบรวมข้อมูล กล้ามเนื้อ มีหน้าที่ยึดเกาะกับโครงร่างหรือโครงกระดูก เพื่อให้ร่างกาย
เกิดการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อสามารถยืดหยุ่นได้ โดยแบ่งออกเป็น
๑. นักเรยี นสังเกตภาพระบบต่าง ๆ ภายใน ๓ ประเภท ดังนี้
รา่ งกายของตนเอง แลว้ รว่ มกนั สนทนา
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี 22 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔ ระบบอวยั วะที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของรา่ งกาย 22

• อวัยวะใดบ้างที่เก่ียวกับระบบ
กลา้ มเนอ้ื (ตัวอย่างค�ำ ตอบ แขน ขา มือ
ไหล่ คอ เข่า)

• นักเรียนคิดว่าอวัยวะในร่างกาย
ของเรามีกลา้ มเนือ้ หรอื ไม่ (ม/ี ไม่มี)

๒. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่ม แต่ละกล่มุ
ร่วมกันศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับความสำ�คัญและหน้าที่ของ
ระบบกล้ามเนื้อกลุ่มละ ๑ ประเภท
ไม่ซ้�ำํ กัน ดังน้ี

กล่มุ ท่ี ๑ กลา้ มเนอ้ื ลาย
กล่มุ ที่ ๒ กลา้ มเน้ือเรียบ
กลมุ่ ที่ ๓ กลา้ มเนอ้ื หวั ใจ
กลุ่มที่ ๔ การปฏิบตั ิตนเพื่อให ้

ระบบกล้ามเนื้อทำ�งาน
ไดต้ ามปกติ
จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้
ท่หี ลากหลาย

สุดยอดคู่มือครู 22

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

Step 2asean

ข้ันคดิ วเิ คราะห์
และสรุปความรู้

เส้นใยกล้ามเนื้อลาย ๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
โดยตอบคำ�ถาม ดงั นี้
๑. กลา้ มเนอื้ ลาย เปน็ กลา้ มเนอื้ ทีม่ มี ากทสี่ ดุ
ในรา่ งกาย ชว่ ยในการเคลือ่ นไหว และพยงุ รา่ งกาย • การทำ�งานของระบบกล้ามเนื้อ
ทำางานภายใต้การควบคุมของสมอง เช่น กล้ามเนื้อ เกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั
แขน ขา อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ช่วยยึดจับ

เส้นใยกล้ามเนื้อเรียบ โครงร่าง รักษารูปทรงของร่างกาย ทำ�ให้

๒. กล้ามเนื้อเรียบ พบอยู่ตามอวัยวะภายใน รา่ งกายเคล่อื นไหวได้)
เช่น ปอด ผนังกระเพาะอาหาร ผนังลำาไส้ ทำางาน • ถา้ ระบบกลา้ มเนอ้ื มปี ญั หาจะมผี ล
นอกเหนือการควบคุมของสมอง คือ มนุษย์
ไม่สามารถควบคุมได้ อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ เกิดการ

เส้นใยกล้ามเนื้อหัวใจ เจ็บปวด ไม่สามารถเคล่ือนไหวร่างกาย

๓. กล้ามเนื้อหัวใจ เป็นโครงสร้างสำาคัญของ ได)้
หัวใจ และเป็นกล้ามเนื้อที่พบในหัวใจเท่านั้น ๔. นักเรียนคิดประเมินเพื่อเพ่ิมคุณค่า
ทำาหน้าที่สูบฉีดโลหิต อยู่นอกเหนือการควบคุม
ของสมอง และทำางานโดยไม่มีหยุดตลอดชีวิต โดยตอบคำ�ถาม ดงั น้ี
• นักเรียนจะดูแลกล้ามเน้ือให้

ทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ด่ืมนมเป็นประจำ�

ออกก�ำ ลงั กายเปน็ ประจ�ำ ไมย่ กของหนกั )
• ถา้ ดแู ลกลา้ มเนอื้ ไมถ่ กู วธิ จี ะสง่ ผล

อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ กล้ามเน้ือ
บาดเจบ็ เคลือ่ นไหวไมป่ กต)ิ

ระบบกล้ามเนื้อ

ระบบอวยั วะทมี่ ผี ลต่อการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของร่างกาย 23

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การทำ�กิจกรรมใดทำ�ใหร้ ะบบกลา้ มเน้อื แข็งแรง
๑ นง่ั ดูโทรทัศน์ ๒ นอนหลับพักผอ่ น
๓ ยกของหนกั เปน็ ประจ�ำ ๔ ออกก�ำ ลังกายสม่าํ เสมอ
(เฉลย ๔ เพราะกลา้ มเน้ือได้มีการออกกำ�ลงั กายทำ�ให้ยดื หยนุ่ แข็งแรง
และท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ)

23 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 3 ข้ันปฏิบตั ิ
St St St แหลละงั สกราปุรปควฏาิบมัตริู้
๒. การปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ให้ระบบกล้ามเน้ือทำางานได้ตามปกติ

๕. นักเรียนแบง่ กลุม่ ๒ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่ม ๑. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่มีโปรตีน เช่น
ร่วมกันระดมความคิดเก่ียวกับความ เนื้อสัตว์ นม ถั่วเมล็ดแห้ง
ส�ำ คญั ของกลา้ มเนอ้ื กบั การดแู ลรกั ษา
๒. ออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ
กล้ามเนื้ออย่างถูกวิธีและไม่ถูกวิธี
แลว้ เขยี นเป็นแผนภาพความคิด ๓. ใช้กล้ามเนื้ออย่างถูกวิธี ไม่ใช้ การวิ่งออกกำาลังกายเป็นประจำา
๖. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีเข้าใจเป็น กล้ามเนื้อทำางานหนักเกินไป เช่น ไม่ยกของ จะทำาให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
ความร้รู ว่ มกนั ดังน้ี หนักเกินกำาลังตนเอง ไม่เล่นใช้พละกำาลัง
• ร่ า ง ก า ย ข อ ง ทุ ก ค น มี ร ะ บ บ มากเกินไป
กล้ามเน้ือที่มีหน้าที่สำ�คัญ ช่วยให้
รา่ งกายเคลอ่ื นไหวและปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ๔. ไม่ควรเหวี่ยงหรือดึงแขนขาแรง ๆ
เพราะอาจจะทำาให้กล้ามเนื้อฉีกได้

ตา่ ง ๆ เราจงึ ควรดแู ลรกั ษากลา้ มเนอ้ื ระบบกระดกู และขอ้ ตอ่ หรอื ระบบโครงร่าง
อย่างถูกวิธี เพ่ือให้กล้ามเนื้อทำ�งาน
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ep 4 ร่างกายของคนทุกคนมีโครงกระดูกเป็น
ตวั กาำ หนดรปู รา่ ง โครงกระดกู ถกู ยดึ ดว้ ยกลา้ มเนือ้
ขนั้ สอ่ื สารและนำ� เสนอ เอ็น และเนื้อเยื่อสำาหรับห่อหุ้มกระดูก กระดูกเป็น

๗. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา ตัวช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เป็นตัวประคับประคอง

นำ�เสนอผลงานหน้าช้ันเรียน โดยมี ร่างกาย และเป็นตัวกำาหนดโครงสร้างของร่างกาย

ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ใ ห้
ค�ำ แนะน�ำ เพ่ิมเตมิ

5ep ขน้ั ประเมินเพ่อื เพ่มิ คุณค่า 24 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔
บรกิ ารสงั คม
และจติ สาธารณะ ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

๘. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ป้ายนิเทศ ข้อใดไม่ใชค่ วามส�ำ คญั ของกระดกู
การปฏิบัติตนเพ่ือให้ระบบกล้ามเน้ือ ๑ ปกปอ้ งอวัยวะภายในจากการกระแทกจากภายนอก
ทำ�งานได้ตามปกติ และการดูแล ๒ ควบคุมการเคลอ่ื นไหวของร่างกาย
รกั ษาระบบกลา้ มเนอ้ื ของตนเอง ไปตดิ ๓ สรา้ งและแจกจ่ายแคลเซียม
ท่ีห้องพยาบาลหรือมุมความรู้ต่าง ๆ ๔ หอ่ หมุ้ ผิวหนงั
ของโรงเรียน เพื่อเผยแพร่ความรู้ (เฉลย ๔ เพราะกระดูกมหี นา้ ที่ยดึ โครงรา่ งและควบคุมการเคลื่อนไหวของรา่ งกาย
ให้แก่ผู้อนื่ สร้างและแจกจา่ ยแร่ธาตตุ า่ ง ๆ ปกป้องอวัยวะภายใน แตไ่ ม่ไดห้ ่อหุ้มรา่ งกาย
สว่ นทหี่ อ่ หุ้มร่างกายคือผวิ หนงั )
รหะบรบอื กรระบะดบกู โแคลระงขร้อา่ ตง่อ

สุดยอดคู่มือครู 24

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

๑. ความสำาคัญและหน้าทขี่ องระบบกระดูกและข้อตอ่ ตวั ชี้วัด

๑ ยึดโครงร่างและ ความสำาคญั ๒ St St พ ๑.๑ ป.๔/๒
ควบคุมการเคลื่อนไหว และหน้าที่ของ เป็นแหล่งเก็บและ พ ๑.๑ ป.๔/๓
โดยมีข้อต่อเป็น ระบบกระดกู
ตัวเชื่อมกระดูก แจกจ่ายแคลเซียม สำาหรับ ภาระงาน/ช้นิ งาน
๓ กระดูกซี่โครง และขอ้ ต่อ ทาำ ใหเ้ ลอื ด กลา้ มเนอื้ และไต แผนภาพความคิดความสำ�คัญของกระดูก
ปกป้องหัวใจ ปอด แข็งแรงและชว่ ยใหป้ ระสาท และขอ้ ตอ่ กบั การดแู ลรกั ษากระดกู และขอ้ ตอ่
จากแรงกระแทก ส่วนกลางทำางานปกติ อย่างถกู วิธแี ละไม่ถกู วิธี
๔ กระดูกสันหลัง
เป็นแกนของร่างกาย ep 1 ข้ันสงั เกต
และช่วยในการทรงตัว
รวบรวมข้อมลู
๒. การปฏบิ ัติตนเพื่อให้ระบบกระดูกและข้อต่อทาำ งานไดต้ ามปกติ
๑. นกั เรยี นสงั เกตภาพโครงกระดกู แลว้ รว่ มกนั
๑. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง อาหารที่มีแคลเซียม สนทนา โดยตอบคำ�ถาม ดังน้ี
เช่น ปลาตัวเล็ก นม ไข่แดง ช่วยบำารุงกระดูก
• นักเรียนมีโครงกระดูกดังภาพหรือไม่
๒. หมั่นออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ (ม)ี
๓. ไม่ยกของหนักจนเกินไปหรือถือของ
ที่หนักด้วยแขนข้างใดข้างหนึ่งเป็นเวลานาน • ในร่างกายหรือโครงกระดูกของเรา
๔. ยกของขนึ้ จากพืน้ ใหถ้ กู วธิ ี โดยนงั่ ลงแลว้ มีข้อต่อตรงไหนบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ ไหล่
ยกของขึ้นจากพื้น ไม่ควรยืนก้มหลังยกของ เพราะ ขอ้ ศอก โคนขา)
จะทำาให้เคล็ดขัดยอก หรือปวดหลังได้
• นักเรียนคิดว่ากระดูกและข้อต่อ
ระบบอวยั วะทม่ี ผี ลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของร่างกาย 25 ในร่างกายมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่าง
คำ�ตอบ ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง เคลื่อนไหว
เสริมความรู้ ครูควรสอน ไดส้ ะดวก)

• ประสาทสว่ นกลาง ได้แก่ สมอง และไขสนั หลงั ๒. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
เรื่องระบบกระดูกและข้อต่อ หรือระบบ
• ผักทีม่ ีแคลเซยี มสูง เช่น ใบชะพลู ใบยอ ยอดแค ผกั กระเฉด ตำ�ลึง โครงสร้าง จากหนังสือเรียนหรือแหล่ง
• ไขแ่ ดง มโี คลีนซง่ึ ช่วยในการพัฒนาสมองทำ�ให้ความจ�ำ ดีขนึ้ และปอ้ งกนั การเกิด การเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย
โรคอัลซไฮเมอร์ แตค่ วรปรงุ ให้สุกก่อนรับประทานเพือ่ ป้องกนั เชือ้ โรค
ep 2 ขัน้ คดิ วเิ คราะห์

และสรุปความรู้

๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
โดยตอบคำ�ถาม ดังนี้

• ระบบกระดูกมีหน้าท่ีอะไรบ้าง
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ทำ�ให้ร่างกายส่วนต่าง ๆ
เคล่ือนไหวได้ ทำ�ให้สามารถงอ พับอวัยวะได้
ช่วยปกป้องอวัยวะภายใน ช่วยสร้างและ
แจกจ่ายแรธ่ าตแุ คลเซียมและสร้างเมด็ เลือด)

• เราควรดูแลรักษากระดูกและข้อต่อ
ด้วยวิธีใด (ตัวอย่างคำ�ตอบ ด่ืมนมท่ีมี
แคลเซียมสูง ออกกำ�ลังกายเป็นประจำ�
รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ มีโปรตีนสูง
ระมดั ระวังไม่ใหเ้ กดิ อบุ ัติเหต)ุ

25 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขนั้ คดิ วเิ คราะห์
St St และสรปุ ความรู้ 3
7

๔. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่า การยกของที่ผิดวิธี การยกของที่ถูกวิธี
โดยตอบคำ�ถาม ดังน้ี
การใช้ผ้าคล้องคอ ๕. ไม่เอี้ยวตัวหรือบิดข้อต่อโดยแรง เพราะ
• การศึกษาเก่ียวกับระบบกระดูก เพื่อพยุงแขนไว้เมื่อ อาจจะทำาให้เอ็นหุ้มข้อฉีกขาด
และขอ้ ตอ่ มปี ระโยชนอ์ ย่างไร กระดูกแขนได้รับบาดเจ็บ
๖. ไมป่ นี ปา่ ยหรอื ขึน้ ไปเลน่ บนทีส่ งู เพราะอาจ
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ทำ�ให้ทราบถึงหน้าท่ี ตกลงมาทำาให้กระดูกหักได้
และวิธีการดูแลรักษาระบบกระดูกและ
ข้อตอ่ ) ๗. เมื่อได้รับบาดเจ็บที่กระดูกหรือข้อต่อ
ตอ้ งใหอ้ วยั วะสว่ นนนั้ อยนู่ งิ่ ๆหรอื มกี ารเคลอื่ นไหว
จากนั้นนำ�ข้อมูลที่ได้มาสรุปเป็น นอ้ ยทีส่ ดุ กอ่ นทาำ การปฐมพยาบาลและเคลือ่ นยา้ ย
แผนภาพความคดิ บนกระดาน อย่างถูกวิธี

ep 3 ขัน้ ปฏิบตั ิ
แหลละังสกราุปรปควฏาบิ มตั ริู้

๕. นักเรียนฝึกปฏิบัติท่าทางการยกของ
ทถ่ี กู วธิ ี โดยมผี ตู้ รวจสอบความถกู ตอ้ ง
และใหค้ �ำ แนะน�ำ เพิ่มเติม

เสริมความรู้ ครูควรสอน ปลอดภัยไว้ก่อน
นักเรียนไม่ควรเล่นผาดโผนเลียนแบบกีฬาบางชนิด เพราะหากไม่มีความชำานาญ
• เอน็ หุ้มข้อ ทำ�หน้าท่ียึดข้อไม่ให้
หลุดออกจากกนั อาจทำาให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บหรือกระดูกหัก และเกิดความพิการทางร่างกายได้
• การปฐมพยาบาล เป็นการให้
ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ดู แ ล เ บ้ื อ ง ต้ น แ ก่ คำาถามท้าทาย ถ้าไม่มีกระดูกมนุษย์จะเคลื่อนที่ได้ด้วยวิธีใด
ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกะทันหัน โดย
กระทำ�ในบริเวณท่ีเกิดเหตุก่อนส่งไป 26 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔
ทำ�การรักษาต่อไป ซึง่ ต้องท�ำ โดยผู้ทีม่ ี
ความรู้อย่างถูกต้อง เพ่ือป้องกัน ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ความพิการ
การปฏิบัติตนในข้อใดช่วยให้รา่ งกายมกี ระดกู ทแ่ี ข็งแรง
๑ รับประทานผักและผลไมม้ าก ๆ ๒ รับประทานอาหารประเภทไขมนั
๓ ดม่ื นา้ํ อัดลมเปน็ ประจ�ำ ๔ ด่ืมนมทม่ี แี คลเซียมสูง
(เฉลย ๔ เพราะนมมแี คลเซียมที่ชว่ ยใหก้ ระดูกและฟันแขง็ แรง
และป้องกนั โรคกระดกู พรุน)

สุดยอดคู่มือครู 26

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St ขัน้ ปฏิบตั ิ
และสรปุ ความรู้
การตรวจสอบการเจริญเตบิ โตของ หลังการปฏบิ ตั ิ
ระบบกลา้ มเนอื้ ระบบกระดูกและขอ้ ตอ่
๖. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม ๒ กลุ่ม แต่ละกลุ่ม

การเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อต่อ ร่ ว ม กั น ร ะ ด ม ค ว า ม คิ ด เ กี่ ย ว กั บ
แสดงถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย ความสำ�คัญของกระดูกและข้อต่อกับ
ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ด้วยการชั่งนำ้าหนักตัวและ ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ก ร ะ ดู ก แ ล ะ ข้ อ ต่ อ
วัดส่วนสูง แล้วนำาผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ อย่างถูกวิธีและไม่ถูกวิธี แล้วเขียน
มาตรฐานตามอายุและเพศ ถ้าเป็นไปตามเกณฑ์ก็ เปน็ แผนภาพความคดิ
แสดงว่าการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อต่อ ๗. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็น
เป็นไปตามปกติ ความรู้ร่วมกนั ดงั น้ี
• กระดูกและข้อต่อเป็นส่วน-
ตอนนีเ้ พือ่ น ๆ มีนาํ้ หนัก การชั่งนำ้าหนักและวัดส่วนสูง ประกอบสำ�คัญของโครงสร้างของ
และส่วนสงู เท่าไรคะ เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโต ร่างกาย ช่วยรองรับน้ำํ�หนัก ให้ความ
ของระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูก แข็งแรงและการเคลื่อนไหว การดูแล
รักษาอย่างถูกวิธีจะช่วยให้มีร่างกาย
และข้อต่อ ท่ีแข็งแรง ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต
ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ส รุป ระบบกล้ามเนื้อและระบบกระดูกและข้อต่อมีความสำาคัญมาก เพราะ

ทำาให้ร่างกายคงรูปอยู่ได้ สง่ ผลให้ระบบอวยั วะอืน่ ๆ สามารถทาำ งานไดต้ ามปกต ิ
จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูแลรักษาระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูกและข้อต่อ
อย่างถูกต้องเพื่อให้ทำางานได้ตามปกติ

สนุกกับคำาศัพท์ ความรู้เพิ่มเติม

bone (โบน) กระดูก เมื่อร่างกายเจริญเติบโตเต็มที่จะมีกระดูก
muscle (มัส ่ เซิล) กล้ามเนื้อ ๒๐๖ ชิ้น แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ

เว็บไซต์แนะนำา ๑. กระดูกส่วนที่เป็นแกน หรือส่วนของ
ลำาตัว เช่น กระดูกสันหลัง ซี่โครง
ระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
www.vcharkarn.com ๒. กระดูกส่วนที่ยื่นออกไปจากลำาตัว
เช่น กระดูกแขน ขา

ระบบอวยั วะทม่ี ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของร่างกาย 27

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การช่ังน้ําหนักและวัดส่วนสูง ควรใช้เคร่ืองมือที่ได้มาตรฐาน และ
ควรเป็นเครื่องเดียวกันเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวและ
ควรจดบนั ทึกทุกคร้งั เพ่อื ดูการเจริญเตบิ โตของร่างกาย

27 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 4
St St ผังสรุปสาระสำาคัญ
ขนั้ สอื่ สารและนำ� เสนอ

๘. นักเรียนออกมานำ�เสนอผลงานของ ระบบกลา้ มเน้อื ระบบอวัยวะที่มี ระบบกระดูกและข้อต่อ
ตนเองหนา้ ช้นั เรียน ผลต่อการเจรญิ เตบิ โต หรือระบบโครงรา่ ง
ความสำาคัญและหน้าท่ีของ
5ep ขัน้ ประเมนิ เพือ่ เพ่ิมคุณคา่ ระบบกลา้ มเนอ้ื : กลา้ มเนื้อมี และพฒั นาการ ความสำาคัญและหน้าท่ีของ
บรกิ ารสงั คม หนา้ ทย่ี ดึ เกาะกบั โครงกระดกู ของรา่ งกาย ระบบกระดกู และข้อตอ่ :
และจติ สาธารณะ เพ่ือให้ร่างกายเคล่ือนไหวได้ กระดกู และขอ้ ตอ่ ทาำ หนา้ ทย่ี ดึ
มี ๓ ประเภท คอื การตรวจสอบการเจริญ- โครงร่างของร่างกาย ควบคุม
๙. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการดูแล กลา้ มเนอื้ ลาย กลา้ มเนอ้ื เรยี บ เตบิ โตของระบบกลา้ มเน้อื การเคลื่อนไหว เปน็ แหล่งเกบ็
ระบบกระดกู และขอ้ ตอ่ อธบิ ายใหน้ อ้ ง และกล้ามเน้อื หวั ใจ ระบบกระดูกและขอ้ ต่อ และแจกจา่ ยแคลเซยี ม ปกปอ้ ง
หรอื พอ่ แม่ ผปู้ กครองฟัง เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจ การปฏิบัติตนเพ่ือให้ระบบ สามารถตรวจสอบไดโ้ ดย อวัยวะภายในจากการกระแทก
ถงึ การดแู ลรกั ษาอยา่ งถกู วธิ ี จะชว่ ยให้ กล้ามเน้ือทำางานได้ตามปกติ การชัง่ นำ้าหนัก และวดั ส่วนสงู ช่วยในการทรงตัวของร่างกาย
มสี ุขภาพร่างกายทีแ่ ขง็ แรงตอ่ ไป ทำาได้โดยการรับประทาน แลว้ เปรียบเทยี บกบั เกณฑ์ การปฏิบัติตนเพื่อให้ระบบ
อาหารท่ีมีประโยชน์ ออกกำาลังกาย กระดกู และขอ้ ตอ่ ทาำ งานไดต้ าม
สม่ำาเสมอ ใช้กล้ามเน้ืออย่างถูกวิธี มาตรฐาน ปกติทำาได้โดยการรับประทาน
ไม่ทำางานหนกั เกนิ กำาลัง อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ดมื่ นมเปน็
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ประจาำ ออกกาำ ลงั กายสมา่ำ เสมอ
เลน่ หรอื ทาำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดว้ ย

ความระมดั ระวงั

กจิ กรรม ระบบอวัยวะทม่ี ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของร่างกาย

ตัวช้ีวัด ๑. ให้นักเรียนเสนอแนวทางในการดูแลรักษาระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูก
และขอ้ ตอ่ ให้ทำางานอย่างมปี ระสิทธภิ าพมา ๒ วธิ ี และอธบิ ายผลทเี่ กิดขนึ้ เปน็
พ ๑.๑ ป.๔/๓ แผนภาพ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

การดแู ลรักษาระบบกลา้ มเนอ้ื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ
ระบบกระดกู และข้อตอ่

28 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

(ตัวอยา่ งแผนภาพ) ผลทเ่ี กิดขึน้
ถา้ ปฏบิ ัติเปน็ ประจำ�
การดูแลรักษาระบบกล้ามเน้ือ
ระบบกระดูกและขอ้ ตอ่ (สามารถทำ�กิจกรรมได้ตาม
ปกติ กล้ามเนื้อ กระดกู และ
(ออกกำ�ลงั กายสมํา่ เสมอ ขอ้ ตอ่ แขง็ แรง)
รบั ประทานอาหารครบ ๕ หมู่)

สุดยอดคู่มือครู 28

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

๒. ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายสรปุ ความสาำ คญั และการดแู ลรกั ษาระบบกลา้ มเนอื้ และ ตัวชี้วัด
ระบบกระดูกและขอ้ ตอ่ บันทกึ เปน็ ตาราง ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี
พ ๑.๑ ป.๔/๒
ระบบ ความสาำ คัญ การดแู ลรกั ษา พ ๑.๑ ป.๔/๓

ระบบกล้ามเนื้อ

ระบบกระดูก
และข้อต่อ

คำาถามพัฒนากระบวนการคิด แนวค�ำตอบ

๑. นกั เรียนควรรบั ประทานอาหารประเภทใดเพอ่ื ทำาใหก้ ล้ามเนือ้ แขง็ แรง ๑. เนื้อสตั ว์ นม ถัว่ ต่าง ๆ
๒. ถ้ากลา้ มเน้อื ไดร้ ับบาดเจ็บจะส่งผลอยา่ งไร ๒. ทำ�กจิ กรรมต่าง ๆ ไม่ไดต้ ามปกติ
๓. สารอาหารชนิดใดช่วยบาำ รุงกระดกู ๓. แคลเซียม
๔. การยนื แล้วก้มตัวยกของหนกั จากพนื้ จะสง่ ผลต่อร่างกายอย่างไร ๔. ปวดหลงั กลา้ มเนือ้ อาจไดร้ บั บาดเจบ็
๕. นกั เรยี นควรปฏิบัตติ นอยา่ งไรเพ่ือให้กระดูกและข้อต่อทำางานได้ ๕. ออกก�ำ ลังกายอยา่ งสมาํ่ เสมอ
รบั ประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์
ตามปกติ มีแคลเซียมสงู

ระบบอวัยวะท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของรา่ งกาย 29

(ตัวอย่างค�ำ ตอบ) ความสำ�คัญ การดูแลรักษา

ระบบ (ท�ำ ใหร้ า่ งกายสามารถเคลอ่ื นไหวได)้ (ออกก�ำ ลงั กาย รบั ประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์
ระบบกล้ามเนอ้ื ใช้กล้ามเนื้ออยา่ งถูกวธิ ี)

ระบบกระดูกและขอ้ ต่อ (ยดึ โครงรา่ งของรา่ งกาย ท�ำ ใหเ้ คลอ่ื นไหวได้ (ออกก�ำ ลังกายสม่าํ เสมอ รับประทานอาหารทม่ี ี
ปกป้องอวยั วะภายใน ชว่ ยในการทรงตัว) แคลเซยี มสูง ไมย่ กของหนักผิดวธิ ี)

29 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

เป้าหมายการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรียนรู้ ๓การเรยี นรู้ที่ คุณค่าของครอบครัวและเพื่อน
ห ่นวย
มาตรฐาน พ ๒.๑ น
เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว
เพศศกึ ษา และมที กั ษะในการดำ�เนินชีวติ

สมรรถนะส�ำ คญั ของผเู้ รยี น ตัวช้ีวัด
อธบิ ายคณุ ลักษณะของความเปน็ เพือ่ นและสมาชกิ ท่ีดขี องครอบครวั (พ ๒.๑ ป.๔/๑)
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด ผงั สาระการเรียนรู้ คณุ ลักษณะ การปฏบิ ัติตน
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ครอบครวั ของสมาชกิ เป็นสมาชิกที่ดี
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ของครอบครวั
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ลักษณะของ ครอบครัวและ ทดี่ ีใน การดแู ลรกั ษา
ครอบครัวทด่ี ี ลกั ษณะของ ครอบครัว สุขภาพกาย
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ครอบครวั ทดี่ ี และจติ ใจ
ของสมาชิก
ใฝเ่ รียนรู้ ความสำาคญั ของเพือ่ น คณุ คา่ ของครอบครัว ในครอบครวั
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน และความเป็นเพอื่ น และเพือ่ น
การเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ ลักษณะของเพอ่ื นท่ีดี
ตัวชี้วัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก วิธกี ารสร้าง คณุ ลักษณะของ
โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง สมั พนั ธภาพกับเพื่อน ความเป็นเพอ่ื น
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต สาระสำาคญั
ประจ�ำ วันได้ ๑. ครอบครวั ที่ดคี วรเปน็ ครอบครัวที่สมาชกิ ในครอบครัวมีชวี ิตท่มี คี วามสุขและมสี ุขภาพดีท้งั รา่ งกาย

ม่งุ มน่ั ในการทำ�งาน และจิตใจ ซงึ่ ถ้าสมาชิกในครอบครวั ทุกคนมีความรกั ความซ่อื สัตย์ไวว้ างใจกนั รู้จกั รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี
ตัวชี้วัดท่ี ๖.๑ ต้ังใจและรับผิดชอบใน ของตน และมีความสามัคคีกนั ก็ย่อมเปน็ ครอบครวั ทีด่ แี ละมีความสขุ ได้
การปฏิบัตหิ น้าท่กี ารงาน ๒. เม่ืออยู่โรงเรียนต้องมีเพ่ือนที่เรียนร่วมกัน เล่นด้วยกัน ทำากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยกัน การรู้จักคบ
ตัวชี้วัดท่ี ๖.๒ ทำ�งานด้วยความเพียร เพ่อื นทดี่ ี และปฏิบัตติ นเป็นเพอื่ นท่ดี ีของเพื่อน ๆ จะทาำ ใหใ้ ช้ชีวติ อย่ใู นโรงเรียนไดอ้ ย่างมีความสขุ
พ ย า ย า ม แ ล ะ อ ด ท น เ พื่ อ ใ ห้ ง า น สำ � เ ร็ จ
ตามเปา้ หมาย บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จุดประกายโครงงา

นกั เรยี นแตง่ ค�ำ ขวญั เกย่ี วกบั ครอบครวั คนละ ๑ ค�ำ ขวญั แลว้ ออกมาน�ำ เสนอ

หน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันลงคะแนนว่าชอบคำ�ขวัญของนักเรียน

คนใดมากทส่ี ดุ โดยมรี างวลั ใหก้ บั ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การลงคะแนนใหม้ ากทสี่ ดุ ๕ ค�ำ ขวญั

สุดยอดคู่มือครู 30

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ครอบครวั และลกั ษณะของครอบครวั ทด่ี ี St ตวั ช้วี ัด
พ ๒.๑ ป.๔/๑
จดุ ประกายความคิด ภาระงาน/ช้นิ งาน
แบบสำ�รวจการปฏบิ ัติตนของสมาชกิ
“ความรัก ความเข้าใจ ในครอบครัวของตนเอง
คอื สายใยของครอบครวั ”
นกั เรยี นมีความคิดเหน็ ep 1 ข้นั สังเกต

อย่างไรกับข้อความนี้ รวบรวมข้อมลู

๑. ครอบครัว ๑. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ
ลักษณะของครอบครัวที่ดีตามความคิด
ครอบครวั หมายถงึ คนตงั้ แต่ ๒ คนขนึ้ ไป ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั ทางการแตง่ งาน ของตนเอง ตัวแทนนักเรียนบันทึก
ทางสายเลือด ทางการรับเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม และพ่อแม่บุญธรรม หรือ คำ�ตอบท่ีได้เป็นแผนภาพความคิด
ความสัมพันธ์แบบคู่ชีวิต สมาชิกในครอบครัว ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก หรือพ่อ บนกระดาน ดงั ตวั อยา่ ง
กบั ลกู แมก่ บั ลกู ปยู่ า่ กบั หลาน ยายกบั หลาน หรอื ผปู้ กครองกบั เดก็ แตบ่ างครอบครวั
อาจมี ลงุ ป้า น้า อา ปู่ ยา่ ตา ยาย อยดู่ ้วย บางครอบครวั สมาชิกประกอบด้วย พ่อ รบั ประทาน พ่นี ้อง
ลูก และผู้ชายที่เป็นคู่ชีวิตของพ่อ หรือแม่ ลูก และผู้หญิงท่ีเป็นคู่ชีวิตของแม่ อาหารรว่ มกัน ไม่ทะเลาะกัน
ครอบครัวไทยมีหลายลักษณะ แบ่งตามประเภท ได้ดงั นี้
๑. ครอบครัวเดี่ยว (Single Family) คือ กลุ่มคนตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ลักษณะของ
ใช้ชีวิตร่วมกันและมีความสัมพันธ์กันเป็นครอบครัว มีสมาชิกประกอบด้วย ครอบครัวท่ดี ี
ผู้ชายกับผู้หญิงอยู่ด้วยกันเป็นสามีภรรยา หรือ
พ่อกับแม่และลูก รวมถึงครอบครัวท่ีมีสมาชิก ทำ�กจิ กรรม มีความรกั
เป็นผู้มีความหลากหลายทางเพศ เช่น คู่ชีวิตชาย ร่วมกนั ความอบอ่นุ
กับชาย คชู่ ีวิตหญิงกบั หญิง ค่ชู ีวิตชายกบั กะเทย ซง่ึ
อาจจะมลี กู ตดิ หรอื บตุ รบุญธรรมอยูด่ ้วย ๒. ตวั แทนนกั เรยี น๑คนทม่ี ปี ระสบการณ ์
ไปเที่ยวพักผ่อนกับครอบครัวใน
ลักษณะครอบครัวในเมือง วันหยุดออกมาเล่าประสบการณ์ให้
ที่เป็นครอบครัวเดี่ยว เพอ่ื น ๆ ฟงั พรอ้ มทง้ั อธบิ ายความรสู้ กึ
เมอื่ ได้ไปเทย่ี วกบั ครอบครวั
คุณคา่ ของครอบครัวและเพ่อื น 31
๓. นักเรียนแต่ละคนบอกว่าครอบครัว
๔. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับครอบครัวและลักษณะของ ของตนเองมีลักษณะของครอบครัว
ครอบครวั ทดี่ ี จากหนังสอื เรยี นหรือแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ประเภทใด โดยรว่ มกนั ตรวจสอบความ
ถูกต้องและจำ�แนกข้อมูลลงในตาราง
บนกระดาน

31 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขัน้ คิดวเิ คราะห์
St St และสรุปความรู้
๒. ครอบครัวขยาย (Extended Family)
คือ กลุ่มคนหลายคนที่เป็นญาติพี่น้อง ใช้ชีวิตร่วมกัน
๕. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และมีความสัมพันธ์กันเป็นครอบครัว มีสมาชิก ลักษณะครอบครัวในชนบท
โดยตอบค�ำ ถาม ดังน้ี ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก และมีญาติ เช่น ปู่ ย่า ที่เป็นครอบครัวขยาย
ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา หลาน สมาชิกครอบครัว
• เม่ือพูดถึงคำ�ว่า “สมาชิกใน เป็นผู้มีความหลากหลายทางเพศด้วยก็มี
ครอบครัว” นักเรียนนึกถึงอะไรบ้าง
จากน้ันตัวแทนนักเรียนบันทึกคำ�ตอบ ๓. ครอบครัวพ่อแม่เดี่ยว
ของนกั เรยี นเปน็ แผนภาพความคดิ บน (Single-parent Family) คือ กลุ่มคนตั้งแต่
กระดาน ดงั ตัวอย่าง ๒ คนขึ้นไป ใช้ชีวิตร่วมกันและมีความสัมพันธ์กัน

ตา เป็นครอบครัว มีสมาชิกประกอบด้วย พ่อหรือแม่
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอยู่กับลูก หรือผู้ปกครองคนเดียว
พอ่ ยาย อยู่กับเด็ก รวมถึงครอบครัวพ่อแม่เดี่ยวของ
ผู้มีความหลากหลายทางเพศ เช่น กะเทยกับลูกติด
แม่ สมาชกิ ใน น้อง ลักษณะพ่อกับลูก หรือบุตรบุญธรรม
ครอบครัว ในครอบครัวพ่อแม่เดี่ยว

ผู้ปกครอง ตนเอง ๔. ครอบครัวข้ามรุ่น (Skipped-generation Family) คือ กลุ่มคนตั้งแต่

ep 3 ขน้ั ปฏบิ ัติ ๒ คนขึ้นไป ใช้ชีวิตร่วมกันและมีความสัมพันธ์กัน
และสรปุ ความรู้ เป็นครอบครัว มีสมาชิกประกอบด้วย หลานอยู่กับ
หลงั การปฏิบตั ิ ปู่ ย่า หรือตา ยาย เนื่องจากพ่อแม่ส่งลูกไปอยู่กับ
ญาติ หรือพ่อแม่ไม่สามารถเลี้ยงดูลูกได้ หย่าร้าง
หรือเสียชีวิต สมาชิกครอบครัวเป็นผู้มีความ
หลากหลายทางเพศด้วยก็มี
๖. นั ก เ รี ย น บั น ทึ ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ลกั ษณะความสมั พนั ธข์ องยายกบั หลาน
เป็นสมาชิกในครอบครัวของตนเอง ในครอบครวั ขา้ มรนุ่
ดงั ตัวอย่าง
๒. ลักษณะของครอบครัวที่ดี
การปฏิบตั ติ น (๒เปน็คปะแระนจนำ�) (๑บคางะคแรนั้งน) (๐ไคมะเ่ แคนยน) ครอบครัวที่ดีสมาชิกควรมีชีวิตที่มีความสุขและมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและ
จิตใจ สมาชิกของครอบครัวสามารถทําให้ครอบครัวของตนเองเป็นครอบครัว
ที่ดีได้โดยการปฏิบัติ ดังนี้
๑. ชว่ ยเหลือครอบครัว ✓
ท�ำ ความสะอาดบ้าน

๒. ท�ำ การบ้านด้วยตนเอง ✓ 32 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔

๓. พูดจาสภุ าพน่าฟัง ✓

๔. ไมร่ ังแกพี่น้อง ✓

๕. ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ✓ • นักเรยี นควรปรบั ปรุงแก้ไขการปฏบิ ตั ิตนในข้อใดบ้าง
ของทุกคนในบ้าน (ตัวอย่างค�ำ ตอบ ท�ำ การบา้ นด้วยตนเอง)
๗. นกั เรียนร่วมกันสรุปสิ่งทเ่ี ขา้ ใจเป็นความร้รู ่วมกัน ดังนี้
ไดค้ ะแนนรวม (๑๐) คะแนน • สมาชิกในครอบครัวมสี ว่ นสำ�คญั ในการสร้างครอบครัว การปฏบิ ัติตนเป็น

เกณฑก์ ารประเมิน สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครัวจะท�ำ ใหค้ รอบครวั มคี วามสขุ
๘-๑๐ คะแนน ปฏบิ ตั ิตนอยู่ในระดับ ดี
๕-๗ คะแนน ปฏบิ ตั ติ นอยู่ในระดับ พอใช้
๐-๔ คะแนน ปฏบิ ตั ิตนอยใู่ นระดบั ควรปรบั ปรุง

• นักเรียนมีการปฏิบัติตนเพื่อสร้าง
สมั พนั ธภาพทด่ี ตี อ่ สมาชกิ ในครอบครวั
อยใู่ นระดับใด

(ตัวอย่างค�ำ ตอบ ระดับด)ี

สุดยอดคู่มือครู 32