เฉลย แบบฝึกหัดงาน เครื่องยนต์ ดีเซล 2101 2002

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า เครื่องยนต์ดเี ซล รหัสวชิ า 2101- 2002 ตรงตามจุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ าและคาอธบิ ายรายวชิ า หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 เรียบเรียงโดย นายเริงชัย ทามาหมนั่ วทิ ยาลยั การอาชีพกระนวน สานกั งานคะะกรรมการการอาชีวศกกาา

คานา เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า เครื่องยนตด์ ีเซล รหสั 2101-2002 ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั ร วิชาชีพ เอกสารประกอบการเรียนการสอน ไดจ้ ดั ทาข้ึนเพ่อื เป็นเอกสารประกอบการสอนและเป็นคู่มอื ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ของผเู้ รียนหรือเหมาะสาหรับผเู้ ริ่มเรียนตลอดจนผตู้ อ้ งการศึกษาในรายละเอียดของ เน้ือหา เอกสารประกอบการสอนน้ีมที ้งั หมด 12 หน่วย ครอบคลมุ เน้ือหารายวชิ าตามหลกั สูตรเรียน เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เขา้ ใจไดโ้ ดยง่ายพร้อมอธิบายข้นั ตอนการปฏิบตั ิโดยละเอียดเพ่ือใหผ้ เู้ รียน เรียนรู้ไดจ้ ริง เอกสารประกอบการสอนน้ีคงเป็นประโยชน์ ต่อผเู้ รียน ครูอาจารย์ และผทู้ ่ีสนใจทวั่ ไปเป็นอยา่ งดี ผเู้ ขียนขอขอบคุณ คณะครูอาจารยท์ ุกท่านที่ใหก้ ารสนบั สนุนและส่งเสริมในการจดั ทาเอกสาร ประกอบการสอนน้ีใหส้ าเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี (นายเริงชยั ทามาหมน่ั ) วิทยาลยั การอาชีพกระนวน

สารบญั เรื่อง หน้า คานา ก สารบญั ข จุดประสงคร์ ายวชิ า ค หน่วยการเรียน ง หน่วยที่ 1 หลกั การทางานของเครื่องยนต์ 1 1.1 หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 3 1.2 ไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ดล้ินของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 5 1.3 หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ 6 หน่วยที่ 2 ระบบฉดี นา้ มนั เชื้อเพลงิ 12 2.1 ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ 14 2.2 การทางานของป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ 14 2.3 หวั ฉีด 15

หน่วยที่ 3 หัวเผาและระบบสตาร์ทเคร่ืองยนต์ดีเซล 21 3.1 หนา้ ที่ของหวั เผา 23 3.2 ระบบสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซล 24 หน่วยท่ี 4 ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์ดเี ซล 30 4.1 หนา้ ท่ีของระบบหล่อลื่น 32 4.2 ระบบหล่อลนื่ แบบวดิ สาดและแบบใชแ้ รงฉีด 33 4.3 ระบบป้ัมน้ามนั หลอ่ ลน่ื 34 หน่วยท่ี 5 ระบบระบายความร้อนเคร่ืองยนต์ดีเซล 41 5.1 หนา้ ท่ีของระบบระบายความร้อน 43 5.2 ประเภทของระบบระบายความร้อน 43 5.3 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน 44 หน่วยที่ 6 ระบบไอดแี ละระบบไอเสียเครื่องยนต์ดเี ซล 55 6.1 หนา้ ท่ีของระบบไอเสีย 59 6.2 หนา้ ที่ของซุปเปอร์ชาร์จเจอร์ 61

หน่วยที่ 7 ลกู สูบและแหวนลกู สูบ 68 7.1 หนา้ ท่ีของลูกสูบ 70 7.2 การแบ่งลกั ษณะของลูกสูบ 71 7.3 แหวนลกู สูบ 72 หน่วยที่ 8 เพลาข้อเหวย่ี งและก้านสูบ 79 8.1 เพลาขอ้ เหวี่ยง 81 8.2 หนา้ ท่ีกา้ นสูบ 82 8.3 หนา้ ท่ีลอ้ ช่วยแรง 83 8.4 หนา้ ท่ีฝาสูบ 84 หน่วยท่ี 9 เพลาลูกเบยี้ วและเสื้อสูบ 91 9.1 เพลาลูกเบ้ียว 93 9.2 เส้ือสูบ 96 9.3 ปลอกสูบ 97 หน่วยท่ี 10 แบตเตอร่ี 104 10.1 หนา้ ที่แบตเตอรี่ 106 10.2 ส่วนประกอบของแบตเตอรี่ 107

10.3 ชนิดของแบตเตอร่ี 108 หน่วยที่ 11 อ่างนา้ มนั เครื่องและประเกน็ 116 11.1 อา่ งน้ามนั เคร่ือง 118 11.2 ประเกน็ ฝาสูบ 119 หน่วยที่ 12 การเปลย่ี นถ่ายนา้ มนั เคร่ือง 125 12.1 การเปลี่ยนถ่ายน้ามนั เคร่ือง 127 ทดสอบปลายภาค 137 อ้างองิ

แผนการสอนรายวชิ า ชื่อรายวชิ า งานเคร่ืองยนตด์ ีเซล รหัสวชิ า 2101 - 2002 ระดับช้ัน หน่วยกติ ปวช.2 สาขาวชิ า เคร่ืองกล ภาคเรียนที่ 3 จานวนชั่วโมงรวม 90 ช่ัวโมง 1 ปี การศกกาา 2557 จดุ ประสงค์รายวชิ า 1. เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจหลกั การทางาน หนา้ ที่ระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนตด์ ีเซล 2. เพ่อื ใหส้ ามารถถอดประกอบ ตรวจสภาพชนิ้ ส่วนระบบต่าง ๆ ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล และบารุงรักษา เครื่องยนตด์ ีเซล 3. เพ่ือใหม้ ีกิจนิสยั ท่ีดีในการทางาน ดว้ ยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรกั ษา สภาพแวดลอ้ ม มาตรฐานรายวชิ า 1. เขา้ ใจหลกั การตรวจสอบ บารุงรกั ษา ปรับแต่งชิน้ ส่วนเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2. บารุงรักษาเคร่ืองยนตด์ ีเซล 3. ตรวจสภาพช้นิ ส่วนของระบบต่าง ๆ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 4. ถอด ประกอบช้ินส่วนของระบบต่าง ๆ เคร่ืองยนตด์ ีเซล 5. ปรับแต่งเคร่ืองยนตด์ ีเซล คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกบั หลกั การทางาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วน ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง ระบบหล่อลื่น ระบบไอดี ระบบไอเสีย การติดเคร่ืองยนต์ การปรับแต่ง การบารุงรกั ษาเครื่องยนตด์ ีเซล

ตารางหน่วยการเรียนการสอน รหัส 2101-2002 วชิ า เครื่องยนต์ดเี ซลจานวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห สัปดาห์ที่ ชื่อหน่วยและรายการสอน จานวนช่ัวโมง 1 หน่วยท่ี 1 หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 1.1 หลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 5 1.2ไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ด ล้นิ ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 1.3 หลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ 2 หน่วยท่ี 2 ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ 5 2.1 ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ 2.2 การทางานของป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ 5 2.3 หวั ฉีด 5 3 หน่วยท่ี 3 หัวเผาและระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ดเี ซล 3.1 หนา้ ที่ของหวั เผา 4 3.2 ระบบสตาร์ทเครื่องยนตด์ ีเซล

สัปดาห์ที่ ตารางหน่วยการเรียนการสอน จานวนช่ัวโมง ช่ือหน่วยและรายการสอน 5 5 หน่วยที่ 4 ระบบหล่อล่ืนเคร่ืองยนต์ดเี ซล 4.1 หนา้ ที่ของระบบหลอ่ ลืน่ 4.2 ระบบหลอ่ ลนื่ แบบวิดสาดและแบบใชแ้ รงฉีด 6 4.3 ระบบป้ัมน้ามนั หล่อล่นื 5 5 7 หน่วยท่ี 5 ระบบระบายความร้อนเคร่ืองยนต์ดเี ซล 5.1 หนา้ ที่ของระบบระบายความร้อน 5.2 ประเภทของระบบระบายความร้อน 8 5.3 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน 5

สัปดาห์ท่ี ตารางหน่วยการเรียนการสอน จานวน ช่ือหน่วยและรายการสอน ชั่วโมง 9 หน่วยท่ี 6 ระบบไอดแี ละระบบไอเสียเคร่ืองยนต์ดเี ซล 5 6.1 หนา้ ที่ของระบบไอดี 6.2 หนา้ ที่ของระบบไอเสีย 10 6.3 หนา้ ท่ีของซุปเปอร์ชาร์จเจอร์ 5 5 11 หน่วยที่ 7 ลกู สูบและแหวนลกู สูบ 7.1 หนา้ ท่ีของลกู สูบ 5 7.2 การแบ่งลกั ษณะของลกู สูบ 12 7.3 แหวนลูกสูบ

สัปดาห์ท่ี ตารางหน่วยการเรียนการสอน จานวนชั่วโมง ชื่อหน่วยและรายการสอน 5 13 หน่วยที่ 8 เพลาข้อเหวย่ี งและก้านสูบ 5 8.1 หนา้ ที่เพลาขอ้ เหวีย่ ง 5 8.2 หนา้ ที่กา้ นสูบ 8.3 หนา้ ท่ีลอ้ ช่วยแรง 8.4หนา้ ที่ฝาสูบ 14 หน่วยที่ 9 เพลาลกู เบี้ยวและเส้ือสูบ 9.1 เพลาลกู เบ้ียว 9.2 เส้ือสูบ 9.3 ปลอกสูบ 15 หน่วยที่ 10 แบตเตอร่ี 10.1 หนา้ ที่แบตเตอรี่ 10.2 ส่วนประกอบของแบตเตอรี่ 10.3 ชนิดของแบตเตอรี่

สัปดาห์ท่ี ชื่อหน่วยและรายการสอน จานวนชั่วโมง 5 16 หน่วยที่ 11 อ่างนา้ มนั เครื่องและประเกน็ 11.1 อา่ งน้ามนั เครื่อง 5 11.2 ประเก็นฝาสูบ 5 17 หน่วยท่ี 12 การเปลยี่ นถ่ายนา้ มนั เคร่ือง 12.1 การเปล่ียนถา่ ยน้ามนั เครื่อง 18 ทดสอบปลายภาค

แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 ช่ือวชิ า งานเคร่ืองยนตด์ ีเซล สอนคร้ังที่ 1 ช่ือหน่วย หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ จานวน 5 ช่ัวโมง หวั ข้อเร่ืองและงาน 1.1 หลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 1.2 ไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ดลิน้ ของเครื่องยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 1.3 หลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ สาระสาคญั 1. เครื่องยนตด์ ีเซลเป็นเคร่ืองยนตท์ ่ีดูดอากาศเขา้ ไปภายในกระบอกสูบเพ่ืออดั อากาศใหร้ ้อน 2. ไดอะแกรมล้ิน คือชว่ งการเปิดปิ ดล้ิน แสดงมมุ เปิ ด-ปิ ดลิ้นไอดีและลิน้ ไอเสีย 3. เครื่องยนต์ 2 จงั หวะ มกี ารทางาน 2 ช่วงชกั คือช่วงชกั ที่ 1 คือช่วงชกั ดูดกบั อดั และ ช่วงชกั ท่ี 2 คือ ช่วงชกั ระเบดิ และคาย สมรรถนะท่ีพงก ประสงค์ ( ความรู้ ทักาะ คุะธรรม จริยธรรม จรรยาบรระวชิ าชีพ ) 1. อธิบายหลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะไดถ้ กู อยา่ งตอ้ ง 2. อธิบายไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ดลิน้ ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. ความมวี นิ ยั : การแต่งกาย , การตรงต่อเวลา 5. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาท่ีกาหนด 6. ความสนใจใฝ่ รู้ : มคี วามสนใจในการหาความรู้เพมิ่ เติม , การกระตือรือร้นทจี่ ะเรียนรู้

แผนการสอน ช่ือวชิ า งานเคร่ืองยนตด์ ีเซล ชื่อหน่วย หลกั การทางานของเครื่องยนต์ เนื้อหาสาระ เคร่ืองยนต์ดเี ซล (องั กฤษ: diesel engine) เป็นเครื่องยนตป์ ระเภทหน่ึง คิดคน้ โดย นายรูดอลฟ์ ดีเซล (Rudolf Diesel) วศิ วกรชาวเยอรมนั ในปี ค.ศ. 1897 อาศยั การทางานของกลจกั ร คาร์โนต์ (Carnot's cycle) ซ่ึงคิดข้ึนโดยชาวฝรั่งเศสชื่อ ซาร์ดิ คาร์โน ( Sardi carnot) ต้งั แต่ปี ค.ศ. 1824 เคร่ืองยนตช์ นิดน้ี ไม่ มหี วั เทียน การจุดระเบิดอาศยั หลกั การอดั อากาศและเช้ือเพลงิ ใหม้ คี วามดนั สูงจนเช้ือเพลิงสามารถติดไฟ ได้ 1. หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 1.1 หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 4 จงั หวะ รูปที่ 1.1 จงั หวะดูด ( Intake stroke ) 1.1.1 จงั หวะดูด ( Intake stroke ) จงั หวะดูดน้นั เริ่มตน้ จากลกู สูบอยดู่ า้ นบนเคล่ือนที่ลงมาดา้ นล่างเพื่อ ดูดส่วนผสมไอดี(น้ามนั และอากาศ) เขา้ มาในกระบอกสูบโดยดูดผา่ นทางวาลว์ ไอดี ซ่ึงวาลว์ ไอดีจะปิ ด เม่ือสิ้นสุดจงั หวะดูดโดยที่การเคล่อื นที่ของลูกสูบจะข้ึนอยกู่ บั เพลาขอ้ เหว่ียง(Crank shaft )

รูปท่ี 1.2 จงั หวะอดั ( Compression stroke ) 1.1.2 จงั หวะอดั ( Compression stroke ) เมื่อวาลว์ ไอดีปิ ดเรียบร้อยแลว้ ลูกสูบกจ็ ะเคลอ่ื นที่จากล่างข้ึน บนเพ่อื อดั ส่วนผสมไอดีท่ีถกู ดูดเขา้ มาท้งั หมด ถูกอดั ตวั ทาใหแ้ รงดนั ในกระบอกสูบสูงข้ึนสมมุติ อตั ราส่วน กาลงั อดั 10ต่อ1 ก็หมายความว่าลูกสูบลูกหน่ึงสามารถดูดอากาศเขา้ ไปได้ 10 ลิตรลกู สูบก็ จะตอ้ งอดั อากาศ 10 ลิตรใหเ้ หลอื เพียง 1 ลติ ร รูปท่ี 1.3 จงั หวะระเบดิ หรือจงั หวะกาลงั ( Power stroke ) 1.1.3 จงั หวะระเบิดหรือจงั หวะกาลงั ( Power stroke )ในจงั หวะน้ีจะต่อเน่ืองกบั จงั หวะท่ีแลค้ ือ ใน ตาแหน่งท่ีลกู สูบข้ึนไปสูงสุดน้นั จะมกี ารเผาไหมเ้ กิดข้ึน ซ่ึงหวั เทียนเป็นตวั ทาใหเ้ กดิ ประกายไฟเพอ่ื ไป จุดส่วนผสมระหว่างน้ามนั กบั อากาศใหเ้ กิดการเผาไหม้ และในจงั หวะระเบิดน้ีเองที่ส่งกาลอั อกมาใหใ้ ช้ งานกนั และลูกสูบก็จะเคลือ่ นท่ีลงมาสู่ดา้ นล่าง และวาลว์ ไอเสียก็จะเร่ิมเปิ ด

รูปที่ 1. 4 จงั หวะคาย ( Exhaust stroke ) 1.1.4 จงั หวะคาย ( Exhaust stroke ) เป็นการทางานต่อจากจงั หวะระเบิด เมือ่ ลกู สูบไดร้ ับแรงกระแทก มาจากการเผาไหม้ ทาใหล้ ูกสูบเคลื่อนที่ลงมาสู่ดา้ นล่าง พร้อมกบั เปิ ดวาลว์ ไอเสีย แลว้ ลกู สูบกจ็ ะ เคล่ือนท่ีข้ึนสู่ดา้ นบนพร้อมกบั จดั การกวาดเอาไอเสียออกไปและเม่ือลูกสูบข้ึนไปจนสุด วาลว์ ไอเสียกจ็ ะ ปิ ด วาลว์ ไอดีก็จะเริ่มเปิ ดเพ่อื เขา้ สู่การดูดอกี คร้ัง และจะวนอยแู่ บบน้ีไปเร่ือยๆExhaust Stroke รูปท่ี 1.5 ไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ด ลนิ้ ของเคร่ืองยนต์ 1.2 ไดอะแกรมเวลาเปิ ด – ปิ ด ลนิ้ ของเคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จงั หวะ ไดอะแกรม (Valve Timing Diagram) คือช่วงชกั การเปิ ดและปิ ดลิน้ แสดงมุมเปิ ด-ปิ ดลิน้ ไอดีและ ลิน้ ไอเสียเปิ ดก่อนศูนยต์ ายลา่ ง และเปิ ดเลยศูนยต์ ายบนไปอีกเป็นการเพม่ิ เวลาคายไอเสีย จากพลงั งาน ถ่ายเทไอเสีย เกิดสุญญากาศช่วยดดู ไอดี เพราะลนิ้ ไอดีเปิ ดก่อนศูนยต์ ายบนและไปเปิ ดหลงั ศูนยต์ าย ลา่ งมผี ลใหไ้ อดีบรรจุไดต้ ่อเน่ืองไปเพ่อื ใหม้ ีประสิทธิภาพการบรรจุสูงจึงออกแบบใหล้ นิ้ ดีกบั ลิ้นไอ เสียเปิ ดเกยกนั (Overlap)

1.3 หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 2 จงั หวะ รูปท่ี 1.6 จงั หวะคายและดูด 1.3.1 จงั หวะคายและดดู ลกู สูบจะเคล่อื นท่ีจากจุดศนู ยต์ ายบนลงมาเร่ือยๆ จนผา่ นช่องไอเสีย ไอเสียก็ จะผา่ นออกไปทางช่องน้ีเมื่อลูกสูบเคล่ือนต่อไปอกี เลก็ นอ้ ย ช่องไอดีกจ็ ะเปิ ดใหอ้ ากาศเขา้ ไปในกระบอก สูบและไลไ่ อเสียออกไปจนหมดสิ้น ลกู สูบจะเคลอ่ื นลงจนถึงจุดศนู ยต์ ายลา่ ง รูปท่ี 1.7 จงั หวะอดั และระเบดิ 1.3.2 จงั หวะอดั และระเบิด ลกู สูบจะเคลอ่ื นจากศนู ยต์ ายล่างข้ึนไปเร่ือยๆ จนปิ ดช่องไอดีและช่องไอ เสียตามลาดบั พร้อมกบั อดั อากาศไปดว้ ยเม่ือลกู สูบเคล่ือนเขา้ ใกลจ้ ุดศนู ยต์ ายบน หวั ฉีดกจ็ ะทาการฉีด น้ามนั เช้ือเพลงิ ใหแ้ ตกเป็นฝอยเลก็ ๆ เขา้ ไปกระทบกบั อากาศที่ถูกอดั จนร้อน ทาใหเ้ กิดการเผาไหมแ้ ละ ระเบิดดนั ลูกสูบใหท้ างาน ในขณะเดียวกนั ไอเสียกจ็ ะมคี วามดนั สูงดว้ ย เมือ่ ลูกสูบเคล่ือนที่ลงมาเปิ ดช่อง ไอดี อากาศกจ็ ะเขา้ มาและทาการขบั ไล่ไอเสียออกไปทางช่องไอเสียเหลือไว้ เพยี งแต่ไอดีในหอ้ งเผาไหม้

กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ช้ีแนะเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ิในหอ้ งเรียน 2. ช้ีแจงจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ 3. กล่าวนา เกีย่ วกบั หลกั การาทางานเครื่องยนตด์ ีเซล ข้ันสอน 1. อธิบายหวั ขอ้ 1.1 เร่ืองหลกั การทางานของเครื่องยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ ผเู้ รียนบนั ทึกตาม 2. ใหน้ กั ศกึ ษาคนหน่ึงอธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ และใหน้ กั ศกึ ษาคนอ่นื ช่วย อธิบายเพ่ิมเติม และช่วยกนั สรุป 3. สรุปหลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 จงั หวะซ้าโดยใชเ้ คร่ืองยนตจ์ ริงเรื่องการทางานของ เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ 4. อธิบายหวั ขอ้ 1.2 เรื่อง ไดอะแกรมเวลาเปิ ด-ปิ ดลิ้นของเครื่องยนตด์ ีเซล 4 5. ใหน้ กั ศึกษาช่วยอธิบายไดอะแกรมเวลาเปิ ด-ปิ ดล้นิ ของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 4 จงั หวะ 6. อธิบายหวั ขอ้ 1.3 เร่ืองหลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะผเู้ รียนบนั ทกึ ตาม 7. ใหน้ กั ศกึ ษาช่วยกนั อธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองยนตด์ ีเซล 2 จงั หวะ 8. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบ ข้ันสรุป ครูสรุปเน้ือหาจากบทเรียน โดยใชเ้ คร่ืองฉายภาพ (Projector) และจากเคร่ืองยนตจ์ ริง ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เคร่ืองยนตด์ ีเซลจริง การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรงต่อเวลา 2. ความรับผดิ ชอบต่องานที่มอบหมาย 3. ทดสอบ

แบบทดสอบ 1. เครื่องยนต์มหี น้าทอี่ ะไร …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….. 2. หลกั การทางานเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ คือ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. 3. หลกั การทางานของเครื่องยนต์ดเี ซล 2 จงั หวะ คือ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..

เฉลยแบบทดสอบ 1. ตอบ เปล่ยี นพลงั งานความร้อนเป็นพลงั งานกล 2. ตอบ ดูด - อดั - ระเบิด – คาย 3. ตอบ คายและดูด – อดั และระเบิด

เอกสารอ้างองิ 1. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ทฤษฎีดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 2. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ปฏบิ ตั ิดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 3. พงศศ์ กั ด์ิ ศริ ิขนั ธ์ และคณะ. งานเคร่ืองยนตเ์ บ้ืองตน้ . นนทบุรี : เจริญรุ่งเรืองการพมิ พ,์ 2546. 4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแต่งเครื่องยนต.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 5. โตโยตา้ . คู่มอื การซ่อมเคร่ืองยนต์ L, 2L : บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์ประเทศไทย จากดั , 2529.

แผนการสอน หน่วยที่ 2 ชื่อวชิ า งานเครื่องยนตด์ ีเซล สอนคร้ังที่ 2 ช่ือหน่วย ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ จานวน 5 ชั่วโมง หัวข้อเรื่องและงาน 2.1 ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง 2.2 การทางานของป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลิง 2.3 หวั ฉีด สาระสาคญั 1. ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ ทาหนา้ ท่ีลาเลยี งน้ามนั เขา้ ไปสู่เครื่องยนต์ ประกอบดว้ ย ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง น้ามนั เช้ือเพลงิ กรองน้ามนั เช้ือเพลิง ป้ัมน้ามนั เช้ือเพลิง คาร์บูเรเตอร์ และหวั ฉีด 2. ป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ หนา้ ที่ดูดน้ามนั จากถงั น้ามนั สร้างแรงดนั สูงส่งไปยงั หวั ฉีด 3. หวั ฉีดหนา้ ทีฉ่ ีดน้ามนั ใหเ้ ป็นฝอยละเอียด เขา้ หอ้ งเผาไหมข้ องเครื่องยนต์ สมรรถนะทีพ่ งก ประสงค์ ( ความรู้ ทักาะ คะุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรระวชิ าชีพ ) 1. สามารถอธิบายระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลิงไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. สามารถอธิบายหนา้ ที่ป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลิงไดอ้ ยา่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. สามารถอธิบายหนา้ ที่หวั ฉีดไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. ความมวี นิ ยั : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา 5. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาท่ีกาหนด 6. ความสนใจใฝ่ รู้ : มคี วามสนใจในการหาความรู้เพม่ิ เติม, การกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ 7. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ : ยอมรับความคิดเห็นผอู้ น่ื 8. ความอดทน อดกล้นั : มีสติควบคุมอารมณไ์ ดด้ ี

เนื้อหาสาระ 2. ระบบฉีดนา้ มนั เชื้อเพลงิ 2.1 ระบบฉีดนา้ มนั เชื้อเพลงิ ( Fuel injection system ) รูปที่ 2.1 ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ ( Fuel injection system ) ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ ( Fuel injection system )หนา้ ท่ีของระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ จะลาเลียง น้ามนั เขา้ สู่เคร่ืองยนต์ ประกอบดว้ ย ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง น้ามนั เช้ือเพลิง กรองน้ามนั เช้ือเพลิง ป้ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ และคาร์บูเรเตอร์ หรือหวั ฉีด ระบบน้ามนั เช้ือเพลิงแก๊สโซลีน (gasoline fuel system) เป็นระบบ การป้อนน้ามนั เช้ือเพลิงของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี ซ่ึงประกอบดว้ ย ถงั น้ามนั (fuel tank) ป้ัมน้ามนั (fuel pump) และคาร์บูเรเตอร์( carburator) หรือหวั ฉีด(injector) 2.2 ปั๊มนา้ มนั เชื้อเพลงิ รูปท่ี 2.2 ป๊ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ป๊ัมน้ามนั เช้ือเพลิงจะทาหนา้ ที่ดูดน้ามนั จากถงั น้ามนั สร้างแรงดนั สูงส่งใหห้ วั ฉีดโดยจะควบคุปริมาณ น้ามนั และช่วงเวลา(Timing) ในการฉีดใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของเคร่ืองยนตใ์ นสภาวะต่างๆ กนั เช่น เวลาตอ้ งการใชก้ าลงั มากๆ ในเวลาข้ึนทางชนั หรือบรรทุกหนกั กต็ อ้ งจ่ายน้ามนั มากกวา่ ปรกติ

2.3 หัวฉีดเคร่ืองยนต์ดเี ซล รูปท่ี 2.3 หวั ฉีด หวั ฉีดน้ามนั จะทาหนา้ ที่ฉีดน้ามนั ใหเ้ ป็นฝอยละเอียด เขา้ หอ้ งเผาไหมข้ องเครื่องยนต์ ละอองของ น้ามนั ดีเซลที่ละเอยี ดจะสามารถคลุกเคลา้ กบั อากาศไดด้ ี ทาใหน้ ้ามนั ถกู เผาไหมไ้ ดห้ มด ไมม่ เี ขม่าตกคา้ ง เครื่องยนตท์ ่ีมอี ายกุ ารใชง้ านมานาน จะเกิดคราบสกปรกทห่ี วั ฉีด การฉีดของหวั ฉีดไมเ่ ป็นฝอยละเอยี ด แรงดนั หวั ฉีดต่ากวา่ มาตรฐานหรือ หวั ฉีดแต่ละตวั จ่ายน้ามนั ไมเ่ ท่ากนั มผี ลใหน้ ้ามนั เผาไหมไ้ ม่หมด มี ควนั ดา เคร่ืองยนตไ์ ม่มีกาลงั กินน้ามนั ผดิ ปกติ

กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. กล่าวนา ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ 2. ช้ีแจงจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ 3. กล่าวความสาคญั ระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ เพิ่มเติม ข้ันสอน 1. อธิบายหวั ขอ้ 2.1 เร่ืองหนา้ ที่ของระบบฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง ผเู้ รียนบนั ทึกตาม 2. อธิบายหวั ขอ้ 2.2 เรื่องปั๊มน้ามนั เช้ือเพลงิ ผเู้ รียนบนั ทึกตาม 3. ใหน้ กั ศกึ ษาวาดภาพป้ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ 4. อธิบายหวั ขอ้ 2.3 เร่ืองหวั ฉีดน้ามนั เช้ือเพลงิ 5. ครูสรุปฉีดน้ามนั เช้ือเพลิง 6. ใหน้ กั ศึกษาเขียนรายงานเร่ืองหวั ฉีด 7. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบ ข้ันสรุป ครูสรุปเน้ือหาจากบทเรียน โดยใชเ้ คร่ืองฉายภาพ (Projector) และจากเคร่ืองยนตจ์ ริง สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เคร่ืองยนตด์ ีเซลจริง การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรงต่อเวลา 2. ความรับผดิ ชอบต่องานทมี่ อบหมาย 3. ทดสอบ

แบบทดสอบ 2.1 1. ระบบฉดี นา้ มนั เชื้อเพลงิ ทาหน้าทีอะไร …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………….. 2. ป้ัมนา้ มนั เชื้อเพลงิ ทาหน้าทอี่ ะไร …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… 3. หัวฉีดทาหน้าทอี่ ะไร …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….

เฉลยแบบทดสอบ 2.1 1. ตอบ ลาเลียงน้ามนั เขา้ สู่เคร่ืองยนต์ ประกอบดว้ ย ถงั น้ามนั เช้ือเพลิง น้ามนั เช้ือเพลงิ กรองน้ามนั เช้ือเพลงิ ป้ัมน้ามนั เช้ือเพลงิ และคาร์บูเรเตอร์ หรือหวั ฉีด 2. ตอบ ดดู น้ามนั จากถงั น้ามนั สร้างแรงดนั สูงส่งใหห้ วั ฉีด โดยจะควบคุมปริมาณน้ามนั และ ช่วงเวลา(Timing) ในการฉีดใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของเคร่ืองยนตใ์ นสภาวะต่างๆ 3. ตอบ ฉีดน้ามนั ใหเ้ ป็นฝอยละเอยี ด เขา้ หอ้ งเผาไหมข้ องเคร่ืองยนต์ ละอองของน้ามนั ดีเซลที่ ละเอียดจะสามารถคลุกเคลา้ กบั อากาศไดด้ ี ทาใหน้ ้ามนั ถกู เผาไหมไ้ ดห้ มด ไม่มเี ขมา่ ตกคา้ ง เคร่ืองยนตม์ ีอายกุ ารใชง้ านไดน้ าน

เอกสารอ้างองิ 1. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ทฤษฎีดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 2. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ปฏบิ ตั ิดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 3. พงศศ์ กั ด์ิ ศริ ิขนั ธ์ และคณะ. งานเคร่ืองยนตเ์ บ้ืองตน้ . นนทบุรี : เจริญรุ่งเรืองการพมิ พ,์ 2546. 4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแต่งเครื่องยนต.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 5. โตโยตา้ . คู่มอื การซ่อมเคร่ืองยนต์ L, 2L : บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์ประเทศไทย จากดั , 2529.

แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 ช่ือวชิ า งานเครื่องยนตด์ ีเซล สอนคร้ังท่ี 3-4 ช่ือหน่วย หวั เผาและระบบสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซล จานวน 10 ชั่งโมง หวั ข้อเร่ือง 3.1 หนา้ ที่ของหวั เผา 3.2 ระบบสตาร์ทเครื่องยนตด์ ีเซล สาระสาคญั 1. หวั เผาทาหนา้ ท่ีเป็นตวั ช่วยทาความร้อนใหอ้ ากาศมีความร้อนข้ึนเพื่อในการสตาร์ทติดง่ายข้ึนขณะ อากาศเครื่องยนตเ์ ยน็ 2. การสตาร์ทเครื่องยนตด์ ีเซลทาไดโ้ ดยการบิดกญุ แจ 3 จงั หวะ คือ AC , ON และ START สมรรถนะทีพ่ งก ประสงค์ (ความรู้ ทักาะ คะุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรระ วชิ าชีพ) 1. สามารถอธิบายหนา้ ที่หวั เคร่ืองยนตเ์ ผาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. สามารถอธิบายการสตาร์ทเครื่องยนตไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. ความมีวนิ ยั : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา 4. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาท่ีกาหนด 5. ความสนใจใฝ่ รู้ : มีความสนใจในการหาความรู้เพ่ิมเติม, การกระตือรือร้นท่จี ะเรียนรู้ 6. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ : ยอมรับความคิดเห็นผอู้ น่ื 7. ความอดทน อดกล้นั : มีสติควบคุมอารมณ์ไดด้ ี 8. ความซื่อสตั ยส์ ุจริต : ไมน่ าผลงานผอู้ ่นื มาแอบอา้ งเป็นของตน 9. การประหยดั : ใชว้ สั ดุที่เหมาะสมกบั งาน, ปิ ดไฟฟ้าและน้าทุกคร้ังท่ีเลกิ ใช้ 10. ความกตญั ญูกตเวที : อาสาช่วยเหลืองานครู – อาจารย์ และส่วนรวม

เนื้อหาสาระ 3. หวั เผาและระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ ( Diesel engine start system and glow plug ) รูปที่3.1 หัวเผา ใชใ้ นเวลาเมื่อเคร่ืองยนตด์ ีเซลเยน็ ในการสตาร์ทคร้ังแรก หรือในตอนเชา้ กระบวนการอดั ตวั ของ อากาศอาจไม่ถึงอณุ หภูมทิ ่ีจะติดเคร่ืองได้ หวั เผาจึงเป็นตวั ช่วยที่ดี หวั เผาเป็นแท่งความร้อนไฟฟ้า สร้าง ความร้อนในหอ้ งเผาไหม้ และเพม่ิ อณุ หภูมิอากาศ เมอ่ื เคร่ืองยนตเ์ ยน็ ซ่ึงทาใหเ้ คร่ืองยนตส์ ตาร์ทไดง้ ่าย ตามที่ เคลย์ บราเธอร์ตนั (Cley brotherton) เป็นผคู้ ิดคน้ หวั เผาข้ึนมา 3.1 หนา้ ที่ของหวั เผาควบคุมความเร็ว รูปท่ี 3.2 วงจรไฟหัวเผา

3.1.1 กล่องควบคุมหวั เผา (Timer) ควบคุมการทางานตามสญั ญาณจากเซนเซอร์อุณหภูมิ ป้องกนั ไมใ่ หห้ วั เผาทางานนานจนเกิดความเสียหาย 3.1.2 รีเลยห์ วั เผาตดั ต่อวงจรไฟไปยงั หวั เผาคงที่ 3.1.3 หวั เผาเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานความร้อนโดยความร้อนเกิดที่ไสห้ วั เผาที่ร้อนแดง 3.1.4 เซนเซอร์อณุ หภูมนิ ้าหล่อเยน็ (Thermo Switch) ทาหนา้ ท่ีส่งสญั ญาณไปยงั กลอ่ งควบคุม เพื่อ กาหนดเวลาหวั เผา 3.1.5 ไฟเตือนทาหนา้ ที่แสดงความพร้อมท่ีหวั เผา สีแดง หมายถงึ ใหค้ อยอยา่ เพิ่งติดเครื่องยนต์ สีเขียว หมายถงึ พร้อมแลว้ ติดเคร่ืองได้ 3.2 ระบบสตาร์ทเคร่ืองยนต์ดเี ซล รูปท3ี่ .3 ระบบสตาร์ท รถยนตเ์ ครื่องยนตเ์ บนซินและเครื่องยนตด์ ีเซลระบบสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซลจะตอ้ งบิดกุญแจ 3 จงั หวะ คือ AC , ON และ START ผขู้ บั ข่ีปิ ดกุญแจรวดเดียว 3 จงั หวะไปท่ี START ถา้ รถยนตร์ ถใหมก่ ็ อาจจะไมม่ ีปัญหาอะไร แต่ถา้ รถผา่ นการใชง้ านมานาน ๆหรือรถมือสอง อาจตอ้ งสตาร์ทหลายคร้ังก่อนท่ี เคร่ืองยนตจ์ ะติด และมวี ธิ ีการสตาร์ทเครื่องยนตด์ ีเซล 3.2.1. ปิ ดอุปกรณ์ท่ีใชร้ ะบบไฟท้งั หมดในรถ เช่น เคร่ืองปรับอากาศไฟหนา้ และเคร่ืองเสียงต่าง ๆ เพื่อใหแ้ บตเตอร์รี่จ่ายไฟเตม็ ท่ี 3.2.2 เหยบี ครัชใหส้ ุด (สาหรับเกียร์ AUTO ใหเ้ ขา้ เกียร์ที่ตาแหน่ง N หรือ P เพอื่ ผอ่ นแรงมอร์เตอร์ สตาร์ท 3.2.3 บิดกุญแจมาทีต่ าแหน่ง ON คา้ งไว้ ตราวจเชค็ ไฟเตือนต่าง (รายละเอยี ดใหศ้ กึ ษาจากคู่มอื รถ) รอ จนไฟเตือนหวั เผารูปขดสปริงเปลีย่ นจาก สีแดงเป็นสีเขียว หากเครื่องยนตเ์ ยน็ ควรกดแป้นคนั เร่ง 1 คร้ัง

กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวนา หวั เผาและระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ 2. ครูช้ีแจงจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ 3. ครูอธิบายหวั เผาเคร่ืองยนตแ์ ละระบบสตาร์ทเครื่องยนต์ ข้ันสอน 1. ครูอธิบายหวั ขอ้ 4.1 เร่ืองหนา้ ที่ของหวั เผาควบคุมความเร็ว 2. ครูใหน้ กั ศกึ ษาเขียนรายงานหวั เผาเคร่ืองยนตด์ ีเซล 3. ครูครูอธิบายหวั ขอ้ 4.2 เร่ืองระบบสตาร์ทเครื่องยนตด์ ีเซล 4. ครูใหน้ กั ศกึ ษาวาดภาพระบบสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซล 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบ ข้นั สรุป ครูสรุปเน้ือหาจากบทเรียน โดยใชเ้ ครื่องฉายภาพ (Projector) และจากเครื่องยนตจ์ ริง สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครื่องยนตด์ ีเซลจริง การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรงต่อเวลา 2. ความรับผดิ ชอบต่องานทมี่ อบหมาย 3. ทดสอบ

แบบทดสอบ 3.1 1. ไฟเตอื นทาหน้าทแี่ สดงความพร้อมท่หี วั เผาเคร่ืองยนต์ดีเซล สีแดงหมายถกงอะไร ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. 2. เซนเซอร์อุะหภูมนิ า้ หล่อเยน็ (Thermo Switch) ทาหน้าทอ่ี ะไร …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 3. จงอธบิ ายระบบสตาร์ทเคร่ืองยนต์ดเี ซล . …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….. ….………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………..

เฉลยแบบทดสอบ 1. ตอบ สีแดง หมายถึง ใหค้ อยอยา่ เพง่ิ ติดเครื่องยนต์ 2. ตอบ ส่งสญั ญาณไปยงั กล่องควบคุม เพอ่ื กาหนดเวลาหวั เผาเคร่ืองยนตด์ ีเซล 3. ตอบ ระบบสตาร์ทเคร่ืองยนตด์ ีเซลจะตอ้ งบิดกุญแจ 3 จงั หวะ คือ AC , ON และ START

เอกสารอ้างองิ 1. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ทฤษฎีดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 2. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ปฏบิ ตั ิดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 3. พงศศ์ กั ด์ิ ศริ ิขนั ธ์ และคณะ. งานเคร่ืองยนตเ์ บ้ืองตน้ . นนทบุรี : เจริญรุ่งเรืองการพิมพ,์ 2546. 4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแต่งเครื่องยนต.์ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 5. โตโยตา้ . คู่มือการซ่อมเคร่ืองยนต์ L, 2L : บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์ประเทศไทย จากดั , 2529.

แผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ช่ือวชิ า งานเครื่องยนตด์ ีเซล สอนคร้ังที่ 5-6 ชื่อหน่วย ระบบหล่อลน่ื เคร่ืองยนตด์ ีเซล จานวน 10 ชั่วโมง หัวข้อเร่ืองและะงาน 4.1 หนา้ ท่ีของระบบหลอ่ ลื่น 4.2 ระบบหล่อลน่ื แบบวิดสาดและแบบใชแ้ รงฉีด 4.3 ระบบป้ัมน้ามนั หล่อลน่ื สาระสาคญั 1. ระบบหล่อลน่ื มีหนา้ ท่ีหล่อลนื่ ช้ินส่วนท่ีเคลื่อนท่ีของเครื่องยนต์ ป้องกนั สนิม ทาความสะอาด ช้ินส่วนต่าง ๆ ภายในเคร่ืองยนต์ ระบายความร้อนออกจากเครื่องยนต์ และช่วยอดุ รอยรว่ั ของแหวน ลกู สูบ 2. ระบบหลอ่ ลืน่ แบบวดิ สาดเป็นระบบหล่อล่ืนในเครื่องยนตส์ ูบเดียวเป็นการระบายความร้อนดว้ ย อากาศ 3. ระบบป้ัมน้ามนั หล่อลน่ื มีหลายแบบ ,แบบเฟื อง,แบบโรเตอร์,แบบเฟื องภายใน สมรรถนะท่พี งก ประสงค์ ( ความรู้ ทักาะ คะุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรระวชิ าชีพ ) 1. นกั เรียนสามารถอธิบายหนา้ ท่ีระบบหล่อล่นื ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. นกั เรียนสามารถอธิบายระบบหลอ่ ลื่นแบบวดิ สาดและระบบใชแ้ รงฉีด 3. นกั เรียนสามารถอธิบายระบบป้ัมน้ามนั หลอ่ ลน่ื แบบเฟื อง,แบบโรเตอร์,แบบเฟื องภายใน ไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง 4. ความมวี นิ ยั : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา 5. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาที่กาหนด 6. ความสนใจใฝ่ รู้ : มคี วามสนใจในการหาความรู้เพิ่มเติม, การกระตือรือร้นท่จี ะเรียนรู้ 7. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ : ยอมรับความคิดเห็นผอู้ นื่ 8. ความกตญั ญูกตเวที : อาสาช่วยเหลืองานครู – อาจารย์ และส่วนรวม

เนื้อหาสาระ 4. ระบบหล่อล่ืนเครื่องยนต์ดเี ซล ( Diesel engine lubricating system ) รูปที่ 4.1 วงจรระบบหล่อลนื่ ในการทางานของเคร่ืองยนต์ มีช้ินส่วนต่างๆ ของเครื่องยนตเ์ กิดการเคลอื่ นไหว ลกั ษณะการ เคลอ่ื นไหวต่างๆ ดงั กลา่ วเป็นการหมนุ การเสียดสีทาใหช้ ้ินส่วนและเครื่องยนตเ์ กอดการสึกหรอและเกิด ความร้อนข้ึน ถา้ ไมไ่ ดร้ ับการระบายความร้อนซีลระหว่างช้ินส่วนน้นั จะทาใหช้ ้ินส่วนเคร่ืองยนตเ์ กิดการ สึกหรออยา่ งรวดเร็วและทาใหเ้ กดการชารุดเสียหายในท่ีสุด การลดปัญหาดงั กลา่ วสามารถทาไดโ้ ดยการใช้ ระบบหลอ่ ลื่นเขา้ มาช่วยระบบหล่อล่ืนส่วนต่างๆ และระบายความร้อน 4.1 หน้าทีข่ องระบบหล่อลื่น รูปที่ 4.2 การเตมิ นา้ มนั หล่อลืน่ 4.1.1 ลดความเสียดทานของช้ินส่วนต่างๆ ของเครื่องยนตเ์ พอื่ ลดการสึกหรอ 4.1.2 ระบายความร้อนที่เกิดข้ึนจากการเคลื่อนท่ีและเสียดสีของชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ 4.1.3 ทาหนา้ ท่ีเป็นซีลระหว่างแหวนลูกสูบกบั ผนงั กระบอกสูบเพื่อป้องกนั การรั่วของแรงอดั ภายใน กระบอกสูบ

4.1.4 ระบบหล่อลืน่ ช่วยป้องกนั การกดั กร่อนหรือการสึกหรอของหนา้ สมั ผสั ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ 4.1.5 ช่วยพาเศษ หรือเขมา่ ที่เกดจากการทางานของเคร่ืองยนตไ์ ปยงั ส่วนระบบจากดั 4.2 ระบบป้ัมนา้ มนั หล่อล่ืนแบบต่าง ๆ ( Type of lubricating system ) รูปท่ี 4.3 วงจรนา้ มนั หล่อลื่น 4.2.1 ระบบวิดสาด ( Splash system ) ระบบหล่อลื่นแบบวิดสาดง่ายและใชม้ ากในเครื่องยนตส์ ูบ เดียวที่มกี ารระบายความร้อนดว้ ยอากาศ น้ามนั หล่อลื่นท่ีอยใู่ นหอ้ งน้ามนั เคร่ืองจะถูกป้ัมดูดส่งน้ามนั จาก หอ้ งน้ามนั เครื่องไปยงั อ่างน้ามนั เคร่ืองซ่ึงอยใู่ ตก้ า้ นสูบที่ปลายกา้ นสูบจะมเี หลก็ วดิ สาด (dipper) จุ่มลงใน อา่ งน้ามนั เคร่ืองและวดิ เอาน้ามนั เครื่องสาดไปทวั่ ช้ินส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ 4.2.2 ระบบใชแ้ รงฉีด ( Pressure feed system ) ใชก้ นั มากสาหรับเครื่องยนตข์ องรถ แทรกเตอร์ ซ่ึงมีความยงุ่ ยากและซบั ซอ้ นกวา่ แบบวิดสาด แต่ทาการหล่อลื่นดีกว่า ระบบหลอ่ ลนื่ แบบใช้ แรงฉีดประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ดงั น้ี 4.2.1.1. เคร่ืองกรองน้ามนั ก่อนเขา้ ป้ัม 4.2.1.2 ป้ัม 4.2.1.3 ลิ้นควบคุมความดนั 4.2.1.4 หมอ้ กรองน้ามนั เครื่อง 4.2.1.5 เครื่องวดั ความดนั น้ามนั เคร่ือง

4.3 ป้ัมนา้ มนั หล่อล่ืน 4.3.1 ปั๊มน้ามนั เคร่ือง ( Oil pump )มีหลายแบบดงั น้ี รูปท4ี่ .4 รูปเฟื่ องป้ัมนา้ มนั 4.3.1.1 แบบเฟื อง (Gear type) ภายในชุดของป้ัมแบบเฟื องจะมีเฟื องจานวน 2 ตวั ทางานขบกนั อยู่ โดยมีเพลาขบั ชุด รูปท่ี 4.5 เฟื่ องป้ัมแบบโรเตอร์ 4.3.1.2 ป้ัมแบบโรเตอร์ (Rotor type) ภายในป้ัมจะประกอบดว้ ยโรเตอร์ตวั ใน และตวั นอก

รูปที่ 4.6 เฟื่ องป้ัมนา้ มนั 4.3.1.3 แบบเฟื องภายใน (Internal gear type) เป็นป้ัมที่เฟื องขบั ตอ่ โดยตรงกบั เพลาขอ้ เหว่ยี ง 4.3.2 ลิ้นระบายแรงดนั ( Relief pressure cobe )ลิน้ ระบายแรงดนั ทาหนา้ ที่รักษาแรงดนั น้ามนั ใน ช่องทางออกไปยงั หวั ฉีดและตวั กกั แรงดนั น้ามนั ไมใ่ หส้ ูงเกินไป 4.3.3 กรองน้ามนั เครื่อง ( Oil filter ) รูปท่ี 4.7 กรองนา้ เคร่ือง เครื่องยนตท์ ่ีใชง้ านไปนานๆน้ามนั เคร่ืองท่ีอยใู่ นเคร่ือง ยนตจ์ ะมีเศษเขม่า ฝ่ นุ ละออง เศษผง และเศษ โลหะเลก็ ๆ ผสมอยกู่ บั น้ามนั เคร่ือง และในระหวา่ งการทางานของเคร่ืองยนต์ เศษของฝ่ นุ ละอองหรือ โลหะที่มีขนาดใหญ่จะจมอยขู่ า้ งลา่ งอ่างน้ามนั เคร่ือง แต่เศษ ที่เลก็ ๆ อาจจะไหลรวมไปตามท่อทางกบั น้ามนั เครื่องไปยงั ผวิ หนา้ แบร่ิงและจบั หรือฝังอยใู่ น ในแบร่ิง ทาใหแ้ บริ่งและเพลาชารุดเสียหาย ดว้ ยเหตุน้ี จึงไดม้ กี ารออกแบบกรองน้ามนั เครื่อง เพอ่ื ทาหนา้ ท่ีในการกรองเอาเศษ ฝ่ นุ ละออง เศษโลหะ และเศษเขม่า ออกจากน้ามนั เคร่ือง โดยทว่ั ไปหมอ้ กรองน้ามนั เคร่ืองจะมไี สก้ รองท่ีทาดว้ ย วสั ดุที่ทาดว้ ยไมห้ รือฝ้ายท่ี สามารถร่ัวซึมไดง้ ่าย ฝอยโลหะ หรือวสั ดุที่คลา้ ยกนั

กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวนา ระบบหล่อลื่นเครื่องยนตด์ ีเซล 2. ครูช้ีแจงจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ 3. ครูอธิบายระบบหลอ่ ล่ืนและระบบป้ัมน้ามนั หล่อล่ืน ข้ันสอน 1. ครูอธิบายหวั ขอ้ 4.1 เรื่องหนา้ ท่ีหนา้ ที่ของระบบหล่อล่ืน ผเู้ รียนบนั ทึกตาม 2. ครูใหน้ กั เรียนเขียนรายงานเรื่องระบบหล่อลนื่ 3. ครูอธิบายหวั ขอ้ 4.2.1 เร่ืองระบบหลอ่ ลนื่ แบบวดิ สาด 4. ครูใหน้ กั ศกึ ษาเขียนรายงาน เร่ืองระบบหล่อล่ืนแบบวดิ สาด 5. ครูครูอธิบายหวั ขอ้ 4.3 เรื่องป้ัมน้ามนั หลอ่ ล่ืน 6. ครูใหน้ กั ศกึ ษาวาดภาพ ป้ัมน้ามนั หล่อล่นื ป้ัมแบบโรเตอร์ 7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบ ข้ันสรุป ครูสรุปเน้ือหาจากบทเรียน โดยใชเ้ ครื่องฉายภาพ (Projector) และจากเคร่ืองยนตจ์ ริง ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เคร่ืองยนตด์ ีเซลจริง การวดั และประเมนิ ผล 1. ตรงต่อเวลา 2. ความรับผดิ ชอบต่องานทมี่ อบหมาย 3. ทดสอบ

แบบทดสอบ 4.1 1. หน้าที่ของระบบหล่อลื่น คือ ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………… 2. ป๊ัมนา้ มนั เคร่ือง ( Oil pump ) มกี แ่ี บบ อะไรบ้าง ....................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………

เฉลยแบบทดสอบ 4.1 1. ตอบ 1. ลดความเสียดทานของชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนตเ์ พอื่ ลดการสึกหรอ 2. ระบายความร้อนที่เกิดข้ึนจากการเคล่ือนทแี่ ละเสียดสีของช้ินส่วนของเคร่ืองยนต์ 3. ทาหนา้ ที่เป็นซีลระหว่างแหวนลกู สูบกบั ผนงั กระบอกสูบเพ่ือป้องกนั การรว่ั ของแรงอดั ภายในกระบอกสูบ 2. ตอบ 1. แบบเฟื อง (Gear type) ภายในชุดของป้ัมแบบเฟื องจะมเี ฟื องจานวน 2 ตวั ทางานขบกนั อยู่ โดยมีเพลาขบั ชุด 2. ป้ัมแบบโรเตอร์ (Rotor type) ภายในป้ัมจะประกอบดว้ ยโรเตอร์ตวั ใน และตวั นอก

เอกสารอ้างองิ 1. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ทฤษฎีดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 2. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ปฏบิ ตั ิดีเซล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541. 3. พงศศ์ กั ด์ิ ศิริขนั ธ์ และคณะ. งานเคร่ืองยนตเ์ บ้ืองตน้ . นนทบุรี : เจริญรุ่งเรืองการพมิ พ,์ 2546. 4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแต่งเคร่ืองยนต.์ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541. 5. โตโยตา้ . คู่มอื การซ่อมเครื่องยนต์ L, 2L : บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์ประเทศไทย จากดั , 2529

แผนการเรียนรู้ หน่วยท่ี 5 ช่ือวชิ า งานเครื่องยนตด์ ีเซล สอนคร้ังที่ 7-8 ช่ือหน่วย ระบบระบายความร้อนเครื่องยนตด์ ีเซล จานวน 10 ช่ัวโมง หัวข้อเรื่อง 5.1 หนา้ ท่ีของระบบระบายความร้อน 5.2 ประเภทของระบบระบายความร้อน 5.3 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน สาระสาคญั 1. ระบบระบายความร้อนทาหนา้ ท่ีรักษาอณุ หภูมขิ องเคร่ืองยนตใ์ หอ้ ยใู่ นอณุ หภูมิที่มีความเหมาะสมใน การทางานไมใ่ หเ้ คร่ืองยนตร์ ้อนหรือเยน็ จนเกนิ ไป 2. ระบบระบายความร้อน สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ระบายความร้อนดว้ ยอากาศและระบาย ความร้อนดว้ ยน้า 3. ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อนคือ ป้ัมน้า วาลว์ น้า พดั ลมระบายความร้อน หมอ้ น้า สมรรถนะท่พี งก ประสงค์ (ความรู้ ทกั าะ คุะธรรม จริยธรรม จรรยาบรระ วชิ าชีพ) 1. นกั เรียนสามารถอธิบายความหนา้ ที่ระบบระบายความร้อนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. นกั เรียนสามารถอธิบายความร้อนดว้ ยอากาศและระบายความร้อนดว้ ยน้าไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. นกั เรียนสามารถอธิบายส่วนประกอบของระบบระบายความร้อนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. ความมวี นิ ยั : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา 5. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาที่กาหนด 6. ความสนใจใฝ่ รู้ : มีความสนใจในการหาความรู้เพม่ิ เติม, การกระตือรือร้นทจ่ี ะเรียนรู้ 7. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ : ยอมรับความคิดเห็นผอู้ ื่น 8. ความอดทน อดกล้นั : มสี ติควบคุมอารมณ์ไดด้ ี

เนื้อหาสาระ 5. ระบบระบายความร้อนเครื่องยนต์ดีเซล ( Diesel engine cooling system ) 5.1 ความหมายของระบบระบายความร้อน รูปท่ี 5.1 ระบบระบายความร้อน พลงั งานความร้อนถกู เปลย่ี นเป็นพลงั งานกลเพอ่ื นาไปใชง้ านน้นั เกิดจากการเผาไหมภ้ ายใน เครื่องยนต์ ความร้อนท่ีเกิดจากาการเผาไหมน้ ้ีมีมากแต่ถูกเปลย่ี นเป็นพลงั งานกลนอ้ ย ความร้อนส่วนใหญ่จะสูญเสีย ไปโดยการถ่ายเทความร้อนไปท่ีเส้ือสูบ ฝาสูบ ลกู สูบ และลิ้น ดงั น้นั ถา้ หากชนิ้ ส่วนต่างๆ เหล่าน้ีไม่ได้ รับการระบายความร้อนท่ีดี และเพียงพอแลว้ จะทาใหเ้ ครื่องยนตไ์ ดร้ ับความเสียหายและก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ได้ การระบายความร้อนในเคร่ืองยนตจ์ ึงมคี วามสาคญั เพราะถา้ หากว่ามกี ารระบายความร้อนนอ้ ยเกินไป เคร่ืองยนตจ์ ะร้อนมาก ช้ินส่วนต่างๆ อาจจะชารุดแตกเสียหาย ลกู สูบและล้ินอาจจะไหม้ เครื่องยนตอ์ าจจะเกิดการน๊อค และ ระบบหลอ่ ล่ืนจะทางานไดไ้ ม่ดี แต่ถา้ หากมีการระบายความร้อนมากเกนิ ไป เครื่องยนตจ์ ะเยน็ ทาให้ สิ้นเปลืองน้ามนั เช้ือเพลิง 5.2 หน้าทีข่ องระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนทาหนา้ ท่ีรกั ษาอุณหภูมขิ องเครื่องยนตใ์ หอ้ ยใู่ นอุณหภูมทิ ่ีมคี วามเหมาะสมใน การทางานไมใ่ หเ้ ครื่องยนตร์ ้อนหรือเยน็ จนเกินไป 5.3ประเภทของระบบระบายความร้อน 5.3.1 ระบบระบายความร้อนดว้ ยอากาศ การระบายความร้อนดว้ ยอากาศ (Air Cooling System) ส่วนใหญ่จะใชก้ บั เคร่ืองยนตข์ นาดเลก็ สูบ เดียว โดยการใชอ้ ากาศท่ีผา่ นเคร่ืองยนตเ์ ป็นตวั รับความร้อนที่ระบายจากเคร่ืองยนต์ เส้ือสูบและฝาสูบจะ ออกแบบใหม้ ลี กั ษณะเป็นครีบเพอ่ื เพ่ิมเน้ือที่การระบายความร้อนใหก้ บั อากาศ อาจจะมีพดั ลมติด

อยตู่ รงลอ้ ช่วยแรง และมีแผน่ โลหะบงั คบั ทิศทางลมใหผ้ า่ นบริเวณตวั เคร่ืองเพอื่ ที่จะใหก้ ารระบายความ ร้อนดีข้ึน 5.3.2 ระบบระบายความร้อนดว้ ยน้า ระบบระบายความร้อนดว้ ยของเหลว (Liquid Cooling System) ส่วนใหญ่อาศยั น้ารับความร้อนท่ี ระบายออกจากเคร่ืองยนตแ์ ละใชอ้ ากาศรับความร้อนจากน้า ทาใหน้ ้าเยน็ ลงแลว้ ใหน้ ้าเยน็ น้นั ไหลกลบั ไป รับความร้อนจากเครื่องใหม่ ระบบระบายความร้อนดว้ ยของเหลวน้ีสามารถควบคุมอณุ หภูมขิ อง เครื่องยนตไ์ ดด้ ีกว่า และช่วยใหเ้ คร่ืองยนตเ์ ยน็ เร็วกว่าระบบระบายความร้อนดว้ ยอากาศ 5.4 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน 5.4.1 หมอ้ น้า ( Radiator ) รูปท่ี 5.2 หม้อนา้ หนา้ ที่การทางานหมอ้ น้า ( Radiator ) ระบายความร้อนของน้าที่เดินทางมาจากเครื่องยนต์ โดยที่หมอ้ น้าจะมีท่อทางเดินน้า แลว้ ปิ ดดว้ ยครีบ รังผ้งึ เพอ่ื ระบายความร้อนมาท่ีครีบ เม่ือลมพดั ผา่ นท่อทางเดินน้ากเ็ กิดการถา่ ยเทความร้อนไปกบั ลม ทาให้ น้าเยน็ ตวั ลง ปัญหาหมอ้ น้า ( Radiator ) การร่ัวของหมอ้ น้า ถา้ ร่ัวตามตะเขบ็ ตวั ลา่ งจะทาใหส้ งั เกตไดย้ ากเพราะเพราะส่วนของหมอ้ น้าจะบงั เอาไว้ แต่ถา้ มกี ารรั่วซึมในบริเวณอื่นจะสงั เกตไดง้ ่าย ปัญหาอกี อยา่ งหน่ึงของหมอ้ น้ากค็ ือการอดุ ตนั ถา้ มี การอุดตนั ของหมอ้ น้า ตอ้ งมีการถอดหมอ้ น้าออกมาทาความสะอาดโดยการทะลวงเอาส่ิงสกปรกออกมา แต่ถา้ เป็นหมอ้ น้ารุ่นใหมท่ ่ีเป็นอลมู เิ นียมและใชฝ้ าครอบพลาสติกจะใหญ่จะถอดออกมาไม่ได้ การใชน้ ้ายา ลา้ งหมอ้ น้าแกก้ ารอดุ ตนั ของหมอ้ น้าส่วนใหญ่จะไดผ้ ลไม่ดีนกั ดงั น้นั ผขู้ บั ขค่ี วรจะมกี ารป้องกนั การอดุ ตนั

5.4.2 ปั๊มน้า ( Water pump ) รูปท่ี 5.3 การระบายความร้อน หนา้ ท่ีการทางานปั๊มน้า ( Water pump ) ทาใหน้ ้าหมุนเวยี นจากเครื่องไปยงั หมอ้ น้าแลว้ ไหลกลบั เขา้ เครื่องการทางานของ ป๊ัมน้าจะอาศยั สายพานจาก เคร่ืองยนตม์ าหมนุ และจะมลี กู ปื น มารองรับในการหมนุ ปัญหาป๊ัมน้า ( Water pump ) สาเหตุที่ทาใหป้ ๊ัมน้าไมท่ างาน สาเหตุแรกกค็ ือสายพานขาด เมอ่ื สายพาน ขาดป๊ัมน้ากไ็ มส่ ามารถหมุน เมื่อป๊ัมน้าไมห่ มนุ ก็ไมม่ ีการไหลเวียนของน้าเพอื่ เอาความร้อนออกจาก เคร่ืองยนตส์ าเหตุอกี ประการหน่ึง คือการสึกหรอ หรือแตกของลกู ปื นจะทาใหป้ ั๊มน้าปิดตายไมย่ อมหมนุ หรือหมุนแบบแกวง่ ตวั ทาใหส้ ่วยอ่ืนของเครื่องยนตเ์ สียหายตามไปดว้ ย ส่วนปัญหาท่ีเจอกนั บ่อยของป๊ัม น้าก็คือป๊ัมน้าร่ัว การตรวจสอบทาโดยการติดเคร่ืองและเร่งเคร่ืองยนตจ์ ะทาใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจนว่าจะมนี ้าไหล ออกมาแต่ถา้ จอดรถไวเ้ ฉย ๆ โดยไมม่ กี ารติดเครื่องยนต์ หรือติดเคร่ืองในรอบเดินเบาน้าจะไม่ร่ัวซึมให้ เห็นการรั่วของปั๊มน้าส่วนมากมกั จะเกิดในบริเวณซิลแกนหมุนน้าจะไหลออกมาทางดา้ นหนา้ และออกจาก รูระบายอากาศ วิธีดูแลรักษาป๊ัมน้า ( Water pump ) 1. ตอ้ งคอยตรวจสอบสายพานใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีใชง้ านได้ อยา่ ใหข้ าด สายพานควรจะเปลี่ยนใหมเ่ มอ่ื มี การใชง้ านรถเป็นระยะทาง 40,000 ก.ม 2. เมือ่ ลกู ปื นปั๊มน้ามเี สียงดงั แสดงวา่ ลกู ปื นสึกหรอควรรีบเปลยี่ นทนั ที 3. การตรวจสอบแบริ่งของป้ัมน้า ทาโดยจบั ใบพดั ท้งั ส่วนบนและลา่ งและโยกไปมาขา้ งหนา้ และขา้ ง หลงั ถา้ ใบพดั ขยบั ไดแ้ สดงวา่ แบริ่งป้ัมน้าสึกหล่อ ตอ้ งเปลย่ี นใหม่ แต่ถา้ ปั๊มน้าไม่มใี บพดั ใหจ้ บั บนพูลเลย์

5.4.3 พดั ลมเครื่องยนต์ ( Engine fan ) รูปท่ี 5.4 พดั ลมระบายความร้อน หนา้ ที่การทางานพดั ลมเคร่ืองยนต์ ( Engine fan ) มีหนา้ ที่ดูดลมใหผ้ า่ นรังผ้งึ หมอ้ น้า เพอื่ ระบายความร้อนน้าหล่อเยน็ พดั ลมจะมีปะโยชน์เมอ่ื รถวิ่งดว้ ย ความเร็วต่าหรือการจอดรถเป็นเวลานาน ๆ เช่น รถตดิ แต่ถา้ รถว่ิงดว้ ยความเร็วระดบั 60 กม./ชม.ข้ึนไป จะ มกี ระแสลมที่มาปะทะรังผ้งึ หมอ้ น้า เคร่ืองยนตก์ ไ็ มจ่ าเป็นตอ้ งใชพ้ ดั ลม ในเวลารถติดถา้ พดั ลมมี ประสิทธิภาพในการทางานไมเ่ พยี งพอ จะทาใหเ้ คร่ืองยนตม์ คี วามร้อนสูง ปัญหาพดั ลมเครื่องยนต์ ( Engine fan ) สาเหตุท่ีพดั ลมมปี ระสิทธิภาพในการทางานไม่เพียงพอ เนื่องมาจาก ใบพดั เสื่อมสภาพไม่กินลม ชุด ฟรีคลทั ชข์ องแกนใบพดั เส่ือม ทาใหใ้ บพดั หมนุ ชา้ ในรอบต่า วิธีดูแลรักษาพดั ลมเครื่องยนต์ ( Engine fan ) เม่อื ชุดฟรีคลทั ชข์ องแกนใบพดั เสื่อม วธิ ีแกไ้ ขตอ้ งอดั น้ายาประเภทพาราฟินเพิ่ม หรือเปล่ียนชุด ฟรีคลทั ชใ์ หม่ ส่วนรถที่ใชพ้ ดั ลมไฟฟ้า จะมีปัญหาเกี่ยวกบั ระบบควบคุมทาใหใ้ บพดั ไมห่ มนุ หรือหมุนแต่ ไม่เร็วพอเน่ืองจากการเส่ือมสภาพของมอเตอร์ใบพดั หรือถา่ นสึก ตอ้ งซ่อมหรือเปลีย่ นใหม่

5.4.4 เทอร์โมสตทั ( Thermo stat ) รูปที่ 5.5 เทอร์โมสตทั หนา้ ที่การทางานเทอร์โมสตทั ( Thermo stat ) ทาหนา้ ที่ปิ ดก้นั ทางเดินน้าไมใ่ หไ้ หลเขา้ เครื่องเม่ือเคร่ืองยนตเ์ ยน็ เพ่ือท่ีจะทาใหเ้ ครื่องยนตร์ ้อนถึง อณุ หภูมกิ ารทางานเร็วข้ึน ปัญหาเทอร์โมสตทั ( Thermo stat ) วาลว์ น้าเป็นอปุ กรณ์ที่ไมค่ ่อยมีปัญหา แต่กย็ งั มโี อกาสเสีย เช่น วาลว์ น้าไม่เปิ ดเม่ือร้อนเนื่องจากเกิด การเส่ือมสภาพ ทาใหเ้ ครื่องร้อนจดั (โอเวอร์ ฮีท) การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ทาไดโ้ ดยการถอดวาลว์ น้าออก ชว่ั คราว ก่อนถอดวาลว์ น้าออก ใหถ้ ่ายน้าหล่อเยน็ ออกบางส่วน ถอดท่อน้าออกจากโลหะ ถอดแป้นเกลยี ว ที่ยดึ ฝาครอบวาลว์ น้า ควรคลายแป้นเกลยี วออกทีละนอ้ ย ๆ เพอ่ื ไม่ใหฝ้ าครอบบิดตวั ถา้ ฝาครอบติดแน่น บนเส้ือหุม้ ใหใ้ ชแ้ ท่งไมต้ อกเบา ๆ เพอื่ ใหฝ้ าครอบหลุดออกมา หลงั จากน้นั ยกวาลว์ น้าออกและควรใช้ เศศษผา้ อุดช่องเปิ ดไวก้ ่อน ขูดปะเกน็ เก่าออกใหห้ มดแลว้ ทาความสะอาดผวิ หนา้ ประกบและเปล่ียน ประเกน็ ใหม่ สงั เกตว่าวาลว์ น้าเสียหรือไม่ดูจากจากการเปิดฝาหมอ้ น้าแลว้ ติดเคร่ืองยนตจ์ นร้อนแลว้ เร่ง เคร่ือง ถา้ เกจว์ ดั ความร้อนข้ึนสูงแต่ไม่มกี ารหมนุ วนของน้าอยา่ งเร็วโดยดจู ากช่องฝาปิ ดหมอ้ น้าท่ีเปิ ดไว้ แสดงวา่ วาลว์ น้ามีปัญหา หรืออีกกรณีหน่ึงการที่วาลว์ เปิ ดตลอดเวลาทาใหเ้ ครื่องยนตร์ ้อนชา้ ถา้ เปิ ดฝาหมอ้ น้าแลว้ เร่งเคร่ืองถึงแมว้ า่ เคร่ืองยนตจ์ ะเยน็ กต็ ามแต่จะมกี ารหมุนวนของน้าอยา่ งเร็ว