โครงงานเรื่องมลพิษทางอากาศ

โครงงาน IS

เรื่อง ปญั หามลพษิ ฝุ่น pm 2.5 ในเดือนมกราคม2563

จัดทาโดย

นายสรวิศ แปงมา

นายศักดิ์สฤษฏิ์ ธรรมะธรี ดารง

นางสาวณภิ า สมถะเขตการณ์

นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5

รายวิชา IS ( I30202 )
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562

โรงเรียนราชวนิ ิตบางแก้ว
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา เขต 6

ชอ่ื ผจู้ ดั ทา: นายสรวศิ แปงมา

นายศักดิ์สฤษฏิ์ ธรรมะธรี ดารง

นางสาวณภิ า สมถะเขตการณ์

เรื่อง: ปัญหามลพิษฝนุ่ pm 2.5 ในเดือนมกราคม2563

รายวชิ า: โครงงาน IS ( I30202 )

ครูทป่ี รึกษา: นายวสิ ตู ร เดชเมอื ง

ปกี ารศกึ ษา: 2562

สถานศกึ ษา: โรงเรียนราชวินิตบางแกว้

สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา เขต 6

บทคดั ย่อ

โครงงาน เรอ่ื ง ปญั หามลพิษฝุ่น pm 2.5 ในเดอื นมกราคม2563 มจี ุดมุ่งหมายเพื่อเพอ่ื ศกึ ษา
ข้อมูลปริมาณpm2.5ในช่วงเดอื นมกราคม และเพื่อศึกษาปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก pm2.5 ใน
จังหวัด สมุทรปราการ เนื่องจากในปัจจุบันมีปญั หาเรื่องมลพิษทางอากาศและฝุน่ pm2.5 ทางคณะ
ผจู้ ดั ทา จงึ ได้ ศึกษาและรวบรวมข้อมลู ปริมาณของฝุ่น pm2.5 ด้วย เวบ็ ไซต์ Air4Thai สถานกี รม
อุตนุ ยิ มวทิ ยาบางนา ทาให้ทราบผลและสรุป ได้วา่ บริเวณในพืน้ ท่ขี องจังหวดั สมุทรปราการ ในเดือน
มกราคม 2563 มีปรมิ าณฝุ่นเปน็ จานวนมาก เปน็ บริเวณทมี่ ีสีแดง ซ่งึ มผี ลกระทบตอ่ สุขภาพ ควร
ปอ้ งกนั ดว้ ยการสวมหนา้ กาก N95และดูแลสุขภาพรา่ งกาย

กติ ตกิ รรมประกาศ

ในการทาโครงงานคณติ ศาสตร์กลุม่ ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคุณ อาจารย์วิสตู ร เดชเมอื ง

ที่ไดใ้ หค้ วามอนุเคราะห์ คอยใหค้ าปรึกษาให้ความสะดวกในการทาโครงงาน และข้อเสนอแนะ
เก่ยี วกับ แนวทางในการทาโครงงาน IS เรอื่ ง ปญั หามลพิษฝ่นุ pm 2.5 ในเดอื นมกราคม2563

ขอบคุณเพ่ือนในกล่มุ ทุกคนท่ีใหค้ วามช่วยเหลอื ตลอดจนคาแนะนาที่เป็น ประโยชน์ในการทา
โครงงาน ทา้ ยท่ีสุด ขอกราบขอบพระคณุ คุณพ่อและคุณแม่ ทเี่ ปน็ ผู้ใหก้ าลังใจและให้โอกาส
การศกึ ษาอันมีคา่ ยิ่ง

คณะผจู้ ัดทาโครงงาน IS ขอขอบพระคณุ ทุกท่านอยา่ งสงู ทใ่ี ห้ การสนับสนนุ เอื้อเฟือ้ และให้
ความอนเุ คราะหช์ ่วยเหลอื จนกระทั่งโครงงาน IS สาเรจ็ ลุล่วงไดด้ ้วยดี

คณะผูจ้ ัดทา
1 กุมภาพันธ์ 2563

สารบญั หนา้

เรอ่ื ง ข
บทคัดย่อ 1
กติ ติกรรมประกาศ
3
บทท่ี 1 บทนา
- ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน 4
-วัตถปุ ระสงค์
-ขอบเขตการศกึ ษาค้นคว้า 5
- ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั
- นิยามศพั ท์เฉพาะ 7
บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกย่ี วข้อง 9
ความหมายของฝนุ่ pm2.5 13
ข้อมลู ดัชนีคุณภาพอากาศ 14
วิธแี กป้ ญั หามลพิษทางอากาศของเมืองใหญท่ วั่ โลก
หนา้ กากN95 หรือหน้ากากกรองฝุ่น 15
บทท่ี 3 วธิ กี ารจดั ทาโครงงาน 16
-เครอื่ งมือที่ใช้ในการดาเนินโครงงาน
- วธิ ีการจดั ทาโครงงาน
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
บทท่ี 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม

บทที่ 1

บทนา

1.1 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา

ในปัจจุบันปัญหาควันหรือมลพิษทางอากาศมาคุกคามกับหมู่มวลมนุษยชาติตลอดจนสิ่งมีชีวิตต่างๆ ก็อันเน่ืองมาจาก
ปัญหามลพษิ จากควัน ตลอดเดอื นมกราคมน้ีคนกรุงเทพต้องทนกับปัญหามลพิษทางอากาศหรือฝุ่น PM 2.5 เกือบทุกๆวัน หลายๆ
คนเริ่มพบความผิดปกตกิ บั รา่ งกายไมว่ า่ จะเปน็ ไมส่ บายตวั หายใจไม่สะดวก เกดิ อาการเจบ็ คอหรอื หน้าอก ซึ่งอาการเหล่านี้ล้วนมี
สาเหตุมาจากฝุ่น PM2.5 กรมควบคมุ มลพษิ รายงานสถานการณฝ์ ุน่ ละอองในกรงุ เทพและปรมิ ณฑลพบว่า ปริมาณฝุ่นละอองเพม่ิ ข้ึน
จนเกินค่ามาตรฐานในทุกพื้นท่ี สร้างปัญหาให้กับ ตนเอง บ้านเรือน ชุมชน ตาบล อาเภอ จังหวัด ประเทศรวมไปถึงหลายๆส่ิง
หลายๆอย่างที่ได้รับผลกระทบอันมหาศาลจากมลพิษควันทั้งจากท่ีมนุษย์ร่วมมือกันก่อมันข้ึนมาเองเช่นการเผาขยะการเผาเศษ
มลพษิ ตา่ งๆท่มี าจากน้ามอื ของมนุษย์ท่ีไมย่ อมตระหนักถึง

PM 2.5 คอื ฝุ่นละอองขนาดเลก็ ไม่เกิน 2.5 ไมครอน เทียบได้ว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้น
ผมมนุษย์ เล็กจนขนจมูกของมนุษย์ท่ีทาหน้าท่ีกรองฝุ่นนั้นไม่สามารถกรองได้ จึงแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด
และเข้าสู่วยั อื่นๆ ในร่างกายได้ ตัวฝุ่นเป็นพาหะนาสารอ่นื เขา้ มาด้วย เช่น แคดเมยี ม ปรอท โลหะหนัก และสารก่อมะเรง็ อ่นื

PM2.5 มาจากไหน? ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) มาจากการคมนาคมขนส่ง การผลิตไฟฟ้า การผลิตของ
ภาคอุตสาหกรรม กจิ กรรมจากแหล่งทีอ่ ยู่อาศัยและธุรกิจการคา้ และการเผาในท่โี ลง่ แบง่ ไดเ้ ป็นฝุ่นท่ีเกิดจากแหล่งกาเนิดโดยตรง
และฝุน่ ทเ่ี กดิ จากการรวมตัวของก๊าซและมลพิษอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์และออกไซด์ของไนโตรเจน ฝุ่น
ละอองขนาดเล็กไมเ่ กิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ยงั เป็นมลพิษข้ามพรมแดนและปนเปือ้ นอยใู่ นบรรยากาศได้นาน เปน็ ฝนุ่ อนั ตรายไม่ว่า
จะมอี งค์ประกอบทางเคมีใดๆ ก็ตาม เชน่ ปรอท แคดเมยี ม อาร์เซนิก หรอื โพลไี ซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน(PAHs) เป็นต้น ในปี
พ.ศ.2556 องคก์ ารอนามยั โลก(WHO) จงึ กาหนดอย่างเป็นทางการให้ PM2.5 จัดอยใู่ นกลุ่มท่ี 1 ของสารก่อมะเร็ง

ฝุ่นพิษขนาด PM2.5 คือภัยร้ายที่มองไม่เห็น มลพิษทางอากาศไม่ควรเป็นต้นทุนชีวิตท่ีประชาชนต้องแลก กรมควบคุม
มลพิษสามารถปกป้องชวี ติ ของคนไทยได้ ด้วยการลดปัญหามลพิษจากผกู้ ่อมลพิษท้ังจากการเผาในท่ีโล่ง โรงงานอุตสาหกรรมและ
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ โรงไฟฟา้ เชือ้ เพลงิ ฟอสซิลอย่างถ่านหินเดิมท่ีกาลังเดินเคร่ืองอยู่ด้วยการกาหนดมาตรการการวัด PM2.5 ท่ีปลาย
ปล่อง ประกอบกับใช้ค่าเฉลี่ย PM 2.5 ในการคานวณดัชนีคุณภาพอากาศ (PM 2.5 AQI)เพื่อความแม่นยาในการระบุผลกระทบต่อ
สขุ ภาพและแนวทางป้องกัน นี่คือทางออกทางเดียวที่จะช่วยให้เราสามารถรู้ได้ว่าอากาศในพ้ืนท่ีที่เราอยู่นั้นมีมลพิษและอันตราย
มากนอ้ ยเพียงใด

ค่า PM2.5 ตามกาหนดองค์การอนามัยโลก

ในปี 2548 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกคาแนะนาเพิ่มเติมในการกาหนดค่าเป้าหมายของค่ามาตรฐานเฉล่ีย 1 ปี
แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 35, 25, 15 และ 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของประเทศ โดยค่าเฉล่ียรายปี
และคา่ เฉลี่ยใน 24 ช่วั โมงขององคก์ ารอนามัยโลกกาหนดไวท้ ่ี 10 และ 25 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศก์เมตร ตามลาดับ

ระดับความรุนแรงของ PM 2.5 องค์การอนามัยโลก หรือ WHO กาหนดให้ฝุ่น PM 2.5 จัดอยู่ในกลุ่มท่ี 1 ของสารก่อมะเร็ง
ประกอบกับรายงานของธนาคารโลก (World Bank) ท่รี ะบวุ า่ ประเทศไทยมผี เู้ สยี ชวี ิตจากมลพิษทางอากาศมากถึง 50,000 ราย ส่งผล
ไปถึงระบบเศรษฐกิจ รวมไปถงึ ค่าใช้จ่ายทรี่ ัฐต้องสูญเสยี เก่ียวเนื่องกบั ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยจากมลพษิ ทางอากาศน้ี

แตไ่ ทยได้มีการกาหนดคา่ ไว้สงู กวา่ คา่ มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก โดยมีค่าเฉลีย่ รายปแี ละคา่ เฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงไว้ท่ี
25 และ 50 ไมโครกรัมต่อลกู บาศก์เมตร ตามข้อสรุปขององค์การสหประชาชาติ (UN) ทีว่ ่า ประเทศไทยเป็นประเทศกาลังพัฒนา ทา
ใหเ้ ป็นประเทศท่ไี ด้รับสิทธพิ เิ ศษทจี่ ะสามารถปล่อยมลพิษทางอากาศไดม้ ากกวา่ หลายประเทศ หลังจากนั้น กรีนพีซได้นาค่า PM2.5
เข้าไปวัดร่วมกับผลดัชนีคุณภาพอากาศจากกรมควบคุมมลพิษ พบว่าผลดัชนีคุณภาพอากาศย้อนหลัง 3 ปี คือปี 2558-2560 น้ันมี
มลพิษเกนิ คา่ มาตรฐานขององค์การอนามยั โลกและค่ามาตรฐานของประเทศไทย เปน็ ชว่ งเวลา 3 ปีซ้อนที่พบว่าค่ามาตรฐานมลพิษ
ในอากาศของประเทศไทยยงั คงแย่เหมือนเดิม

ไม่ใชเ่ พยี งแค่ในกรุงเทพฯ เทา่ นั้น แตย่ งั มอี กี หลายพื้นท่ีท่ีกาลังจะต้องเผชิญกับปัญหามลภาวะครั้งใหม่ เพราะการขยาย
ฐานอตุ สาหกรรมเพมิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะภาคใตท้ ่ีจะกลายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือแม้กระท่ังแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน โดยที่
ยงั ไมเ่ คยไดม้ กี ารกลา่ วถงึ การจดั การกับตัวการของปญั หาสุขภาพอย่าง PM2.5 ท่กี าลงั จะเพิ่มขึน้ ไปตามการพฒั นาของเมอื ง สวนทาง
กับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals) ซึ่งเป็นหน่ึงหมุดหมายในร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.
2560-2579) ทร่ี ะบุไว้ว่าประเทศไทยจะตอ้ งดาเนินการจดั การปัญหาสิ่งแวดลอ้ มตามท่ีลงนามรองรบั วาระการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื 2030 ของ
องค์การสหประชาชาติ

ดงั น้นั ปัญหามลภาวะจาก PM2.5 จึงเปน็ สง่ิ ท่คี วรจัดการควบค่ไู ปกบั แผนพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ เพอื่ พัฒนาคุณภาพอากาศ
ไปสูก่ ารพัฒนาทยี่ ั่งยนื

โดยมตี วั อย่างจากหลายประเทศทป่ี ระสบผลสาเร็จในการควบคุมมลพิษในอากาศ ซึ่งเริ่มแรกมีการกาหนดค่าการปล่อย
PM2.5 ไว้ใกล้เคียงกับไทย แต่ปัจจุบันประเทศเหล่านี้ได้ดาเนินเร่ืองน้ีในเชิงนโยบายเพื่อคุ้มครองสุขภาพพลเมืองในปร ะเทศ เช่น
สิงคโปร์, ญ่ีปุ่น, อเมริกา ที่ปัจจุบันมีค่า PM2.5 อยู่ที่ 12, 14 และ 15 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใกล้เคียงกับค่าเป้าหมายของ
องค์การอนามัยโลก และเอาจริงเอาจังในการคุ้มครองประชาชนด้วยจัดการแก้ไขปัญหาระบบขนส่งสาธารณะเพื่อสนับสนุนให้
ประชาชนหนั มาใช้ระบบขนส่งสาธารณะเปน็ ทางเลอื กหลกั ตลอดจนควบคมุ การปลอ่ ยสารพษิ ของโรงงานอตุ สาหกรรม สาเหตุของ
ปญั หามลภาวะอยา่ งจริงจงั

ในขณะทปี่ ระเทศไทยกาลังเรม่ิ ตน้ รับรูใ้ นเรื่องของ PM2.5 อยู่นี้ องค์การอนามัยโลกและนานาชาติก็ก้าวไปอีกขั้นด้วยการ
หันไปจับตามองและถกกันในเร่ืองของฝุ่นที่มีขนาดเล็กระดับนาโน (Environmental Nano-pollutants: ENP) และหาวิธีการรับมือเพ่ือ
ค้มุ ครองประชาชนอย่างจริงจัง จากมลภาวะที่กาลังก่อตัวเป็นหมอกควันขึ้นไปเกาะตัวบนช้ันโอโซน แล้วย้อนกลับลงมาเพื่อสร้าง
ผลกระทบต่อสขุ ภาพของมนษุ ยโ์ ดยตรง

อาจต้องมาดูกันว่าอากาศหมอกควันท่ีแผ่คลุมท้องฟ้าอยู่ในขณะนี้จะได้รับการแก้ไขอย่างไร เพราะน่ีไม่ใช่เพียง
ปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ่เี กิดข้ึนในชว่ งรอยตอ่ ของฤดกู าลเท่านัน้ หากแต่เกดิ ข้ึนจากการสะสมของสารพิษทม่ี ากขน้ึ ทุกขณะโดยขาด
การรบั มอื อยา่ งจรงิ จงั

ผลกระทบที่ตามมา จนทาให้รับผลพลอยได้ คือคาว่า ความเดือดร้อนของเหล่ามวลมนุษยชาติ จนทาให้ส่ิงต่างๆท่ี
เราไม่อยากให้มนั เกดิ มนั กเ็ กดิ ขน้ึ เชน่ สถานการณ์หมอกควันปกคลุมทั่วภมู ิภาคตา่ งๆ ควันกระจายอยู่ทั่วบริเวณน่านฟา้ ของเมือง

ดังนั้นกลุ่มผู้ศึกษาเล็งเห็นว่าปัญหา เหล่านี้อาจจะทาให้มันคืบคลานจนเป็นปัญหาใหญ่ คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทา
โครงงานเร่ือง การศกึ ษามลพษิ ทางอากาศฝนุ่ pm2.5ในเดอื นมิถนุ ายน จงั หวดั สมทุ รปราการ เพ่ือให้รเู้ ท่าทันฤทธ์อิ ันมหาศาลของฝุ่น
pm2.5

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดสรา้ งโครงงาน

1.เพ่อื ศกึ ษาข้อมูลปริมาณฝนุ่ pm2.5ในชว่ งเดอื นมกราคม

2.เพอ่ื ศกึ ษาปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก pm 2.5 ในจังหวัด สมทุ รปราการ

1.3 ขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน

ขอบเขตด้านระยะเวลา

วันที่ 1 มกราคม– 31 มกราคม2563

ขอบเขตในการศึกษาค้นคว้า

Air4Thai สถานีกรมอุตนุ ิยมวิทยาบางนา

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ

1. ไดค้ วามรู้และข้อมลู ปริมาณpm2.5ในช่วงเดอื นมกราคม
2. สามารถศึกษาปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ในจังหวัด สมทุ รปราการ

1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

-ค่า PM หรือ Particulate Matters เป็นคาเรียกค่ามาตรฐานของฝุ่นขนาดเล็กที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของทาง US.
EPA (United state Environmental Protection Agency) ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ได้แก่ PM 10 และ
PM 2.5

-สาหรับ PM 10 มคี าเรยี กโดยทว่ั ไปว่า ฝุ่นหยาบ (Course Particle)
-สว่ น PM 2.5 มคี าเรียกโดยท่ัวไปวา่ ฝุ่นละเอยี ด (Final Particles)

บทท2่ี

เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาในคร้ังน้ีเป็นการศึกษาเก่ียวกับ สารวจมลพิษทางอากาศฝุ่นpm2.5ในเดือนมกราคมของจังหวัด
สมทุ รปราการ ผจู้ ัดทาโครงงานได้ศกึ ษาเอกสารและเว็บไซต์ที่เกยี่ วขอ้ งตามลาดับ ดังนี้

2.1 ความหมายของฝ่นุ pm2.5
2.2 ขอ้ มลู ดัชนีคุณภาพอากาศ
2.3 วธิ ีแกป้ ญั หามลพิษทางอากาศของเมืองใหญท่ ่ัวโลก
2.4 หนา้ กากN95 หรอื หนา้ กากกรองฝนุ่

2.1 ความหมายของฝุน่ pm2.5

2.1.1ฝนุ่ เปน็ อนภุ าคในอากาศที่มีแหล่งทม่ี าจากหลาย ๆ ที่ เช่น ฝนุ่ จากดนิ ที่ถกู ลมพดั ขน้ึ มา ฝุ่นจากการระเบดิ ของภเู ขา
ไฟ หรอื จากมลภาวะตา่ งๆ ฝุ่นในที่พักอาศยั สานกั งาน หรอื แม้แต่ ละอองเกสรของพืช เส้นผมหรือขนของคนและสัตว์ ส่ิงทอ เส้น
ใย เศษผวิ หนงั ของมนุษย์ ส่ิงหลงเหลอื จากอุกกาบาต และจากอีกหลายอย่าง หลายวัตถุ ในสภาพแวดล้อมทั่วไป

2.1.2.แหล่งทมี่ า
แหล่งท่มี าของฝุน่ ละอองในบรรยากาศ โดยทัว่ ไปจะแบง่ เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

-ฝนุ่ ละอองท่ีเกิดขนึ้ ตามธรรมชาติ (Natural Particle)
เกดิ จากกระแสลมทพี่ ัดผา่ นตามธรรมชาติ ทาให้เกิดฝ่นุ เชน่ ดนิ ทราย ละอองน้า เขมา่ ควนั จากไฟปา่ ฝุ่นเกลอื

จากทะเล
-ฝุ่นละอองทเ่ี กิดจากกิจกรรมทีม่ นษุ ย์ (Man-made Particle)

-การคมนาคมขนสง่
1.รถบรรทกุ หนิ ดิน ทราย ซีเมนต์หรือวัตถุท่ีทาให้เกิดฝุ่น หรือดินโคลนที่ติดอยู่ท่ีล้อรถ ขณะแล่นจะมีฝุ่นตกอยู่บนถนน
แล้วกระจายตวั อยู่ในอากาศ
2.ไอเสียจากรถยนต์ เครือ่ งยนตด์ เี ซลปลอ่ ยเขมา่ ฝนุ่ ควันดา ออกมา

3.ถนนทีส่ กปรก มีดินทรายตกค้างอยมู่ าก หรือมกี องวัสดุขา้ งถนนเมอื่ รถแล่นจะทาใหเ้ กิดฝุ่นปลวิ อยใู่ นอากาศ

4.การก่อสร้างถนนใหม่ หรอื การปรบั ปรงุ ผิวจราจร ทาให้เกิดฝุน่ มาก

5.ฝุ่นทีเ่ กดิ จากยางรถยนต์ และผ้าเบรค

-การก่อสร้าง

การก่อสรา้ งหลายชนดิ มกั มีการเปิดหน้าดินกอ่ นการก่อสร้าง ซึ่งทาให้เกดิ ฝนุ่ ได้งา่ ย เช่น อาคาร สง่ิ กอ่ สรา้ ง การปรบั ปรุง
สาธารณูปโภค การกอ่ สร้างอาคารสงู ทาใหฝ้ นุ่ ปนู ซีเมนตถ์ ูกลมพัดออกมาจากอาคารการร้ือถอน ทาลาย อาคารหรอื ส่งิ กอ่ สร้าง

-โรงงานอุตสาหกรรม

การเผาไหมเ้ ชอื้ เพลิง เชน่ นา้ มนั เตา ถ่านหนิ ฟืน แกลบ เพ่ือนาพลังงานไปใชใ้ นการผลิต กระบวนการผลิตที่มีฝุ่นออกมา
เช่น การปนั่ ฝา้ ย การเจยี รโลหะ การเคลอ่ื นยา้ ยวัตถดุ ิบ

2.1.3ผลกระทบ

ตอ่ มนุษย์

ฝุ่นท่มี อี นภุ าคขนาดใหญ่มกั จะไมเ่ ป็นอันตรายต่อมนุษย์มากนัก เนื่องจากจมูกของคนเราสามารถกรองฝุ่นที่มีขนาดใหญ่
ประมาณ 10 ไมครอนข้ึนไป ส่วนฝนุ่ ทมี่ ขี นาดเล็กสามารถผ่านเข้าสปู่ อดได้ มีผลงานวิจยั ในสหรัฐอเมรกิ าระบุวา่ ผู้ทีอ่ าศัยในบริเวณ
ทม่ี ีฝนุ่ ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน อยู่ในปริมาณมากจะทาให้มีความเส่ียงที่จะเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคหอบ
หืด นอกจากนี้ฝุ่นท่ีมีขนาดเล็กในทุกปริมาณ 10 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร จะทาให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเกี่ยวกับระบบ
ทางเดินหายใจเพ่ิมข้ึนร้อยละ 3 อาการกาเริบของโรคหอบหืดก็เพิ่มข้ึนร้อยละ 3 เช่นกัน นอกจากฝุ่นละอองจะทาให้เกิดอาการ
ระคายเคืองตาแล้ว ยังทาอันตรายต่อระบบหายใจเม่ือเราสูดเอาอากาศที่มีฝุ่นละอองเข้าไป โดยอาการระคายเคืองนั้นจะเกิดขึ้น
ตามส่วนตา่ งๆ ของระบบทางเดนิ หายใจขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของฝ่นุ ละออง โดยฝุ่นท่ีมีขนาดใหญ่รา่ งกายจะดกั ไวไ้ ดท้ ขี่ นจมกู ส่วนฝนุ่ ท่ีมี
ขนาดเล็กนนั้ สามารถเล็ดลอดเข้าไปในระบบหายใจ ทาใหร้ ะคายเคืองแสบจมูก ไอ จาม มีเสมหะ หรือมีการสะสมของฝุ่นในถุงลม
ปอด ทาให้การทางานของปอดเส่ือมลง

ต่อส่ิงแวดล้อม

ฝุน่ ละอองจะลดความสามารถในการมองเห็น ทาให้ทศั นวสิ ยั ไม่ดี เนื่องจากฝนุ่ ละอองในบรรยากาศเปน็ อนภุ าคของแข็งท่ี
ดูดซับและทาให้เกิดหักเหแสงได้ ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับขนาดและความหนาแน่น และองค์ประกอบของฝุ่นละออง ฝุ่นละอองท่ีตกลงมา
นอกจากจะทาใหเ้ กิดความสกปรกเลอะเทอะแก่บ้านเรือน อาคาร สิ่งก่อสร้างแล้ว ยังทาให้เกดิ การทาลายและกัดกร่อนผิวหน้าของ
โลหะ หนิ ออ่ น หรือวัตถุอื่นๆ เชน่ ร้ัวเหลก็ หลงั คาสังกะสี รูปป้นั

ในกรงุ เทพมหานครของไทยมกี ารตรวจวัดคณุ ภาพอากาศมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2531 มีฝุ่นละอองขนาดเลก็ กว่า 10 ไมครอน สูง
กวา่ มาตรฐานท่กี าหนดไว้ท่ี 50 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเ์ มตร ในการสารวจ 1,692 คร้งั มีปรมิ าณเกนิ กวา่ ค่ามาตรฐาน 108 ครั้ง

2.2 ข้อมลู ดัชนีคณุ ภาพอากาศ

ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบท่ีง่ายต่อความเข้าใจ
ของประชาชนทั่วไป เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศในแต่ละพื้นที่ว่าอยู่ใน
ระดับใด มผี ลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัยหรือไม่ ดัชนคี ุณภาพอากาศ 1 ค่า ใช้เป็นตัวแทนค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศ
6 ชนดิ ไดแ้ ก่

ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) เป็นฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน เกิดจากการเผาไหม้ทั้ง
จากยานพาหนะ การเผาวสั ดกุ ารเกษตร ไฟป่า และกระบวนการอุตสาหกรรม สามารถเข้าไปถึงถุงลมในปอดได้ เป็นผลทาให้เกิด
โรคในระบบทางเดนิ หายใจ และโรคปอดต่างๆ หากได้รบั ในปริมาณมากหรือเป็นเวลานานจะสะสมในเนอ้ื เยอื่ ปอด ทาให้การทางาน
ของปอดเสือ่ มประสิทธิภาพลง ทาใหห้ ลอดลมอักเสบ มีอาการหอบหืด

ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ 10 ไมครอน (PM10) เป็นฝ่นุ ทีม่ ขี นาดเส้นผ่านศูนยก์ ลางไม่เกนิ 10 ไมครอน เกดิ จากการเผาไหม้
เช้อื เพลงิ การเผาในทโ่ี ลง่ กระบวนการอุตสาหกรรม การบด การโม่ หรอื การทาให้เป็นผงจากการก่อสร้าง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
เนือ่ งจากเมื่อหายใจเข้าไปสามารถเข้าไปสะสมในระบบทางเดินหายใจ

ก๊าซโอโซน (O3) เป็นกา๊ ซทีไ่ มม่ สี หี รือมีสีฟ้าอ่อน มกี ล่นิ ฉุน ละลายนา้ ได้เล็กน้อย เกดิ ข้นึ ไดท้ ง้ั ในระดับบรรยากาศช้ันที่สูง
จากผวิ โลก และระดับชั้นบรรยากาศผิวโลกท่ีใกล้พ้ืนดิน ก๊าซโอโซนท่ีเป็นสารมลพิษทางอากาศคือก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศผิว
โลก เกดิ จากปฏกิ ริ ิยาระหว่างกา๊ ซออกไซดข์ องไนโตรเจน และสารประกอบอินทรยี ร์ ะเหยง่าย โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มี
ผลกระทบต่อสุขภาพ โดยก่อให้เกิดการระคายเคืองตาและระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจและเย่ือบุต่างๆ ความสามารถใน
การทางานของปอดลดลง เหน่อื ยเรว็ โดยเฉพาะในเด็ก คนชรา และคนทีเ่ ปน็ โรคปอดเรือ้ รงั

ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็นก๊าซทไ่ี ม่มสี ี กลิน่ และรส เกิดจากการเผาไหม้ท่ีไม่สมบูรณ์ของเช้ือเพลิงท่ีมีคาร์บอน
เป็นองค์ประกอบ ก๊าซนีส้ ามารถสะสมอย่ใู นร่างกายได้โดยจะไปรวมตัวกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจนประมาณ
200-250 เทา่ เมอ่ื หายใจเข้าไปทาให้ก๊าซชนิดน้ีจะไปแย่งจับกับฮีโมโกลบินในเลือด เกิดเป็นคาร์บอกซีฮีโมโกลบิน (CoHb) ทาให้
การลาเลยี งออกซเิ จนไปสู่เซลลต์ า่ งๆ ของรา่ งกายลดนอ้ ยลง ส่งผลใหร้ ่างกายเกดิ อาการอ่อนเพลีย และหัวใจทางานหนักข้นึ

กา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เปน็ กา๊ ซทไ่ี ม่มสี ีและกลนิ่ ละลายนา้ ได้เลก็ น้อย มอี ยทู่ วั่ ไปในธรรมชาติ หรือเกดิ จากการ
กระทาของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชือ้ เพลงิ ตา่ งๆ อุตสาหกรรมบางชนิด เป็นต้น ก๊าซนี้มีผลต่อระบบการมองเห็นและผู้ที่มีอาการ
หอบหดื หรอื โรคเก่ยี วกับทางเดนิ หายใจ

กา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซท่ีไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อนๆ มีรสและกล่ินที่ระดับความเข้มข้นสูง เกิดจาก
ธรรมชาติและการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ที่มกี ามะถัน (ซัลเฟอร)์ เปน็ สว่ นประกอบ สามารถละลายน้าได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษ
อน่ื แล้วก่อตวั เป็นอนุภาคฝนุ่ ขนาดเล็กได้ กา๊ ซน้ีมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเย่ือบุตา ผิวหนัง และ
ระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเปน็ เวลานาน ๆ จะทาให้เปน็ โรคหลอดลมอักเสบเร้ือรังได้

ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ต้ังแต่ 0 ถึง 201 ขึ้นไป ซึ่งแต่ละระดับจะใช้สีเป็น
สัญญลักษณ์เปรียบเทียบระดับของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย (ตารางท่ี 1) โดยดัชนีคุณภาพอากาศ 100 จะมีค่าเทียบเท่า
มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทว่ั ไป หากดชั นีคุณภาพอากาศมีค่าสูงเกินกว่า 100 แสดงว่าค่าความเข้มข้นของมลพิษ
ทางอากาศมีค่าเกินมาตรฐานและคณุ ภาพอากาศในวันน้นั จะเรมิ่ มผี ลกระทบตอ่ สุขภาพอนามยั ของประชาชน

ตารางท่ี 1 เกณฑข์ องดัชนคี ุณภาพอากาศของประเทศไทย

การคานวณดชั นคี ณุ ภาพอากาศรายวนั ของสารมลพษิ ทางอากาศแตล่ ะประเภท
คานวณจากค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศจากข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยมีระดับของค่าความ

เข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศที่ระดับต่างๆ ดัง (ตารางท่ี 2) การคานวณดัชนีคุณภาพ
อากาศภายในช่วงระดบั เป็นสมการเส้นตรง ดังนี้
กาหนดให้

I = คา่ ดัชนยี ่อยคณุ ภาพอากาศ
X = ความเขม้ ขน้ ของสารมลพิษทางอากาศจากการตรวจวัด
Xi , Xj = ค่าตา่ สดุ , สงู สุด ของช่วงความเขม้ ขน้ สารมลพษิ ท่มี ีคา่ X
Ii , Ij = ค่าต่าสดุ , สงู สดุ ของชว่ งดชั นคี ุณภาพอากาศท่ตี รงกับช่วงความเข้มข้น X จากค่าดัชนีย่อยท่ีคานวณได้ สารมลพิษทาง
อากาศประเภทใดมีค่าดชั นสี งู สุด จะใช้เปน็ ดัชนคี ณุ ภาพอากาศ (AQI) ณ ช่วงเวลานนั้

ตารางที่ 2 คา่ ความเขม้ ข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทยี บเท่ากับคา่ ดชั นีคุณภาพอากาศ

ช่วงเวลาเฉลีย่ และหน่วยสารมลพิษทางอากาศทีใ่ ชใ้ นการคานวน
PM2.5 เฉลย่ี 24 ชั่วโมงตอ่ เน่อื ง : ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร หรอื มคก./ลบ.ม. หรอื µg./m3
PM10 เฉลีย่ 24 ชัว่ โมงต่อเนอื่ ง : ไมโครกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร หรอื มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3
O3 เฉลย่ี 8 ชั่วโมงตอ่ เน่ือง : ส่วนในพันล้านสว่ น หรอื ppb หรอื 1/1,000,000,000
CO เฉลี่ย 8 ช่ัวโมงต่อเนอ่ื ง : สว่ นในล้านสว่ น หรือ ppm หรือ 1/1,000,000
NO2 เฉลยี่ 1 ช่ัวโมง : ส่วนในพันลา้ นสว่ น หรอื ppb หรือ 1/1,000,000,000
SO2 เฉลย่ี 1 ชว่ั โมง : สว่ นในพนั ลา้ นสว่ น หรอื ppb หรอื 1/1,000,000,000

2.3วิธแี ก้ปญั หามลพิษทางอากาศของเมืองใหญท่ ่ัวโลก

ปัญหามลพิษทางอากาศกาลังเป็นภัยคุกคามผู้คนท่ัวโลก โดยเฉพาะผู้ท่ีอาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่รวมท้ังกรุงเทพฯ ซึ่งมี
กิจกรรมท่กี อ่ ใหเ้ กิดมลพิษทเี่ ปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพมากมาย ด้วยเหตุน้ีเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกจึงพยายามหาทางออกในการแก้ปัญหา
มลพษิ ทางอากาศทกี่ าลงั คกุ คามสขุ ภาพของชาวเมอื ง

2.3.1ท่อี ังกฤษ รัฐบาลเพ่งิ ประกาศยุทธศาสตร์อากาศสะอาด (Clean Air Strategy) วานน้ี (14 ม.ค. 2561) ให้คาม่ันว่า
จะกาหนดเปา้ หมายใหมท่ ีช่ ัดเจนเพ่ือลดฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ พีเอ็ม 2.5 ที่ปัจจุบันเมืองกว่า 40 แห่งในส
หราชอาณาจักร มคี ่าพเี อ็ม 2.5 ในระดับเดยี วกับที่องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) กาหนด หรือสูงกวา่

รัฐบาลอังกฤษตง้ั เป้าวา่ จะเปน็ "แกนนาโลก" ในการควบคุมพเี อม็ 2.5 อย่างไรกด็ ี ไม่ได้ใหร้ ายละเอียดทชี่ ัดเจนหรือลาดับแผนงานท่ี
จะทาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทก่ี าหนดไว้วา่ ภายในปี 2030 เมอื งต่าง ๆ ทั่วอังกฤษจะมีค่าพีเอ็ม 2.5 ต่ากว่าท่ีดับเบิลยูทีโอกาหนดดังน้ัน
กลุม่ อนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มหลายแหง่ จงึ ไมม่ ่ันใจและไม่เชื่อว่ายทุ ธศาสตรอ์ ากาศสะอาดจะเป็นทางออกสาหรับการแก้ปัญหามลพิษใน
เมือง

ฝุ่น : ฝนหลวงช่วยบรรเทาทุกขช์ าวกรุงเทพฯ ไดห้ รือไม่

มลพษิ ทางอากาศ : เดินทางแบบไหนไดร้ บั พิษมากทีส่ ุด

ฝ่นุ : ผลวิจยั เผย มลพิษอากาศทาให้เสี่ยงแทง้ พอ ๆ กับสบู บุหร่ี

กจิ กรรมสาคัญทีส่ ดุ อยา่ งหนงึ่ ที่ทาให้เกิดฝุน่ ละอองขนาดเลก็ คือการเผาเชื้อเพลิงท้ังไมแ้ ละถา่ นหินทงั้ กลางแจง้ และท่ใี ชใ้ น
ครัวเรือน นอกจากน้ีการทาเกษตรยังเป็นอีกปัญหาหลัก เนื่องจากการระเหยของก๊าซแอมโมเนียที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเพ่ิมมากข้ึน
ก๊าซชนิดน้ีทาปฏิกิริยากับสารเคมีชนิดอ่ืนในชั้นบรรยากาศและก่อให้เกิดอนุภาคมลพิษท่ีถูกลมพัดพาไปยังบริเวณที่มีประชากร
อาศยั อยู่อยา่ งหนาแนน่ ได้

ดงั น้นั รฐั บาลอังกฤษจะห้ามขายเชื้อเพลิงทีก่ อ่ ให้เกิดมลพษิ สาหรับใชใ้ นครวั เรือน และต้งั แตป่ ี 2022 เปน็ ต้นไป เตาหุงหา
อาหารทีใ่ ช้จะเปน็ ประเภททีไ่ มก่ ่อเกิดมลพษิ นอกจากนี้รัฐบาลยังอยู่ระหว่างปรึกษาหารือว่าจะค่อย ๆ เลิกขายเช้ือเพลิงถ่านหินท่ี
ใช้ในบา้ นและจากัดการขายไมเ้ ปียก ทีถ่ ูกนาไปใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ดว้ ย

สาหรบั เกษตรกรนนั้ รฐั บาลจะออกมาตรการกาหนดใหใ้ ช้วิธีทาเกษตรที่ส่งผลให้มีการปลดปล่อยก๊าซแอมโมเนียน้อยลง
โดยรัฐบาลจะชว่ ยเหลอื ในการลงทุนในเทคโนโลยที จี่ ะจากัดการปลดปลอ่ ยกา๊ ซแอมโมเนยี ได้

2.3.2เกาหลใี ต้ ใหบ้ รกิ ารขนส่งมวลชนฟรแี ละเทคโนโลยี

เมือ่ ต้นปี 2017 ทางการเกาหลใี ต้ใชม้ าตรการฉุกเฉินแก้ปญั หามลพษิ ในกรุงโซล ด้วยการจัดให้บริการขนส่งมวลชนฟรีใน
ชว่ งเวลาเร่งดว่ น เพ่ือชว่ ยลดปรมิ าณการใช้รถยนต์สว่ นบุคคล

ปัญหามลพิษทางอากาศของกรงุ โซลเชือ่ ว่าเปน็ ผลมาจากการใช้ถา่ นหนิ และน้ามนั ดเี ซล ประกอบกับการได้รับหมอกควัน
จากประเทศเพ่ือนบ้านอย่างจีน

นอกจากมาตรการดงั กลา่ วแลว้ ทางการเกาหลีใต้ยังใช้วิธีแก้ปัญหามลพิษทางอากาศอื่น ๆ เช่น การจากัดการใช้รถยนต์
รุ่นเก่า การจากดั การใชร้ ถยนต์ส่วนบคุ คลของลกู จ้างรฐั การปดิ ลานจอดรถตามหนว่ ยงานรฐั 360 แห่ง และการลดการกอ่ สรา้ งของ
โครงการท่ไี ด้รับงบประมาณจากภาครฐั

นอกจากน้ี เมื่อปี 2018 กระทรวงสิ่งแวดล้อมเกาหลีใต้ได้ประกาศใช้โครงการนาร่อง โดยใช้โดรนติดกล้องบินตรวจตรา
พื้นที่แถบชานกรุงโซล เพ่ือตรวจสอบว่าโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ไม่ได้ลักลอบปล่อยควันเสียท่ีมาของฝุ่นละอองขนาดเล็กและ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงเจ้าหน้าที่กระทรวงฯ เช่ือว่ามาตรการนี้จะช่วยให้ตรวจพบผู้ลักลอบปล่อยควันเสียได้รวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพกว่าการตรวจสอบของเจ้าหนา้ ทภี่ าคพื้นดนิ

2.3.3มาตรการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศในยุโรป

กรุงมาดรดิ

เมอื่ ปลายปี 2018 ทางการสเปนเร่มิ ใช้มาตรการจากดั รถยนตท์ ี่จะว่งิ เขา้ ไปในเขตควบคมุ คุณภาพอากาศย่านใจกลางกรุง
มาดริด ซ่ึงทางการหวังว่าจะช่วยลดมลพิษทางอากาศได้ถึง 40% ช่วยลดมลพิษทางเสียง และกระตุ้นให้ผู้คนใช้รถจักรยาน และ
ระบบขนสง่ สาธารณะมากขึ้น

มาตรการนี้ ผู้ใช้รถจะตอ้ งนารถไปตรวจวัดการปล่อยไอเสีย ซ่ึงรถยนต์รุ่นเก่าที่ก่อมลพิษมากที่สุดจะถูกห้ามขับเข้าไปใน
เขตควบคมุ ทอ่ี ยู่ใจกลางกรงุ มาดรดิ ขณะที่รถยนต์ไฮบรดิ ท่เี ป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อมจะไดร้ บั อนุญาตใหส้ ญั จรได้อย่างเสรี เป็นต้น

กรุงปารีส

ทางการห้ามรถที่ผลิตก่อนปี 1997 ขับเข้าไปในย่านใจกลางเมืองช่วงวันจันทร์-ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.00-20.00 รวมท้ัง
ห้ามรถยนต์ดีเซลทง้ั หมดท่ีข้ึนทะเบยี นกอ่ นปี 2001 ขับเข้าพน้ื ทดี่ งั กล่าว

นอกจากนี้ ทางการฝรั่งเศสยังใช้กลยุทธ์เพื่อห้ามรถรุ่นเก่าและรถดีเซลขับเข้าย่านใจกลางเมืองหลวงอย่างส้ินเชิง
ขณะเดียวกนั ก็ใชม้ าตรการอุดหนุนให้ประชาชนเดินทางด้วยวิธีอื่นท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และวางแผนให้ย่านใจกลางเมืองเป็น
เขตถนนคนเดิน

กรุงสตอกโฮลม์

ทางการสวีเดนใช้มาตรการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมรถที่ขับรถเข้าไปในพ้ืนที่การจราจรหนาแน่นย่านใจกลางเมืองหลวง
รวมทั้งจดั จุดให้ประชาชนจอดรถส่วนบุคคลในย่านชานเมืองแลว้ ขึ้นรถโดยสารเขา้ เมืองแทน

นอกจากนี้ทางการยังใช้แผนการคมนาคมในเขตเมือง Urban Mobility Strategy โดยเพ่ิมการลงทุนในระบบรถโดยสาร
ประจาทาง รถราง และรถไฟใต้ดนิ

ภัยของฝ่นุ ละอองพษิ

แคเธอรีน เบเซลล์ บรรณารักษ์ที่เกษียณแล้วชาวอังกฤษเป็นอีกคนท่ีเป็นโรคหอบหืด รวมถึงอาการท่ีเรียกว่า โรค
หลอดลมพอง (Bronchiectasis)

โรคหลอดลมพอง หรือทบ่ี างครัง้ เรยี กว่า โรคมองคร่อ คอื อาการทีห่ ลอดลมภายในปอดขยายตัวถาวรอย่างผิดปกติ ทาให้
เกิดการส่ังสมของมูกมากข้ึน ทาให้ปอดเส่ยี งตอ่ การติดเชอื้ ไดง้ ่าย

2.3.4 5 วิธหี ลีกเลี่ยงมลพษิ ทางอากาศ

-หลีกเลยี่ งการเดินทางในถนนที่มกี ารจราจรคับคง่ั เพราะระดบั ความเข้มข้นของมลพษิ มักพบอย่โู ดยรอบพ้ืนที่เหลา่ น้ี

-ใช้ถนนทไี่ ม่ใชเ่ ส้นหลัก เพราะมรี ถสญั จรน้อยกว่าจึงทาให้มมี ลพษิ น้อยกวา่

-หลกี เลี่ยงแหล่งกระจกุ ตวั ของอากาศเปน็ พษิ ซ่งึ หมายถงึ บริเวณที่รถจอดนิ่งโดยท่ีติดเคร่ืองยนต์ไว้ โดยเฉพาะบริเวณรถ
ติด หรือจุดท่ีรถจอดติดไฟแดง ส่งผลให้บริเวณนี้มีมลพิษทางอากาศหนาแน่น ดังน้ันหากต้องรอข้ามถนนในแถบนี้ จึงควรกด
สัญญาณไฟคนขา้ ม แลว้ ถอยใหห้ ่างจากถนนจนกวา่ สญั ญาณไฟให้ขา้ มถนนจะปรากฏขนึ้

-เมอื่ เดินขึ้นเขา ใหเ้ ลือกเดนิ ฝ่ังทีร่ ถวง่ิ ลงเขา เพื่อหลีกเลย่ี งการรบั ควนั จากทอ่ ไอเสยี ในปรมิ าณมาก

-หน้ากากกันฝุ่นละอองแบบธรรมดาไม่สามารถป้องกันฝุ่นละอองเป็นพิษได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะท่ีหน้ากาก
ปอ้ งกันมลพษิ แบบเต็มประสิทธภิ าพกม็ ักเทอะทะไมส่ ะดวกในการใชง้ าน นกั วทิ ยาศาสตร์จึงแนะนาให้หลีกเลี่ยงถนนที่มีการจราจร
คับคั่งแทน

2.4 หนา้ กากN95 หรือหนา้ กากกรองฝนุ่

หน้ากาก N95 (Particulate Respirators) หรือหน้ากากกรองอากาศ N95 นอกจากจะเป็นตัวช่วยสาคัญในการป้องกัน
ฝุ่น PM 2.5 ซึ่งมีอนุภาคขนาดเล็กมากๆ กรองได้ถึง 0.3 ไมครอน และป้องกันได้ถึง 95% แล้ว หน้ากากชนิดนี้ยังถูกใช้ในทาง

การแพทย์มาอย่างยาวนาน เปน็ เครอื่ งมอื ปอ้ งกนั เช้อื โรคขนาด Airborne Particle ไม่ว่าจะเปน็ เชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย อย่างเช่น
กรณีโรควัณโรคที่ติดตอ่ กันทางระบบทางเดนิ หายใจ หรอื ในเคสผา่ ตัดท่ีต้องป้องกนั เชอื้ โรคต่างๆ เขา้ สู่ร่างกาย

นอกจากประโยชน์ในทางการแพทย์แล้ว ในทางงานช่าง หน้ากาก N95 ยังเป็นตัวช่วยสาคัญในการกรองฝุ่นละอองหรือ
การทางานท่ีต้องเกี่ยวข้องกับสารเคมี อย่างการทาสี พ่นสี งานเล่ือยไม้ ติดวอลล์เปเปอร์ เทปูน แต่หากต้องอยู่กับสารเคมีนานๆ
ควรเลือกใชห้ นา้ กากกรองอนุภาค ( Air Purifying Devices) ทส่ี ามารถเปลี่ยนไส้กรองอากาศได้จะปลอดภัยมากกว่า อย่าลืมว่าไม่
เฉพาะงานช่างเท่าน้นั ทต่ี ้องสวมหน้ากากเพื่อความปลอดภยั งานทาความสะอาดบา้ น กาจัดฝุ่นละอองในบ้าน ก็จาเป็นต้องป้องกัน
ดว้ ยการสวมหนา้ กากอนามยั (Surgical Mask) ดว้ ยเช่นกัน

หน้ากาก N95 แบ่งเป็น 2 รูปแบบด้วยกัน คือ แบบที่เป็นผืนเดียวแนบปิดกับใบหน้า และแบบท่ีมีช่องหายใจ
(Exhalation Valve) หรือวาลว์ ตรงกลาง เพือ่ ช่วยใหห้ ายใจสะดวกขนึ้ การใช้งานอย่างถกู วธิ คี อื ต้องแนบส่วนบนสดุ ของหน้ากากให้
แนบชดิ กบั จมกู การหายใจเขา้ จะทาใหเ้ กิดความดันในหน้ากากต่ากวา่ ภายนอก ทาให้หายใจไดล้ าบาก จงึ อาจไมเ่ หมาะกบั คนทีเ่ ป็น
โรคหอบหดื โรคปอด โรคเก่ียวกบั ระบบทางเดินหายใจ และหญงิ ต้งั ครรภ์ (ควรปรกึ ษาแพทย)์

บทที่ 3
วธิ กี ารจดั ทาโครงงาน

ในการจดั ทาโครงงานเรอื่ งฝุ่นPM 2.5 นี้ ผู้จดั ทาต้องอาศยั เคร่อื งมือเป็นตวั ชว่ ยในการวดั โดยมีวิธกี ารดงั นี้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือหรอื โปรแกรมท่ีใช่ในการพฒั นา

3.1.1 สมารท์ โฟน
3.1.2 เวบ็ ไซต์ Air4Thai สถานกี รมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาบางนา

3.2 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน

3.2.1 คิดหัวขอ้ โครงงานเพอ่ื นาเสนอคณุ ครทู ีป่ รกึ ษา
3.2.2 ศกึ ษาและค้นควา้ ข้อมลู ที่เกยี่ วข้องกบั เรื่องทส่ี นใจคือ ฝนุ่ PM2.5 วา่ มีเน้ือหามาน้อยเพียงใด และตอ้ งศกึ ษาคน้ ควา้
เพิม่ เตมิ จากเว็บไซดต์ า่ งๆ และเกบ็ ข้อมลู ไวจ้ ดั ทาเนือ้ หาตอ่ ไป
3.2.3 ศึกษาค่าของฝุ่นPM2.5 และหาวิธกี ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาฝุ่นPM2.5
3.2.4 จัดทาโครงงานฝนุ่ PM2.5 เพือ่ นาเสนอครูที่ปรกึ ษา

บทที่ 4
ผลการดาเนินงานโครงงาน

การจดั ทาโครงงานเรือ่ งฝุน่ PM2.5น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ นาขอ้ มลู ของฝุ่นPM2.5 จาก Air4Thai สถานีกรมอุตนุ ยิ มวิทยาบาง
นา มาใชใ้ นการศกึ ษาข้อมูลทางดา้ นความปลอดภัยเพ่อื ใหส้ ามารถหาวิธีป้องกนั ภยั จากฝุน่ PM2.5ได้

4.1 ผลการดาเนนิ งาน

ในการรวบรวมขอ้ มลู โดยใช้ขอ้ มลู ของ เว็บไซต์ Air4Thai สถานีกรมอุตุนยิ มวิทยาบางนา

บทที่ 5

สรุป และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการดาเนนิ โครงงาน

จากการศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู ปริมาณของฝุน่ pm 2.5 ในจงั หวัดสมุทรปราการ ในเดือนมกราคม 2563 วนั ทม่ี ี
ปริมาณฝนุ่ มากทีส่ ุด คอื วันที่ 10 มกราคม 2563 ช่วงเวลา 07.00 น. มปี รมิ าณ 165 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร และวนั ทม่ี ี
ปรมิ าณฝุน่ น้อยทสี่ ุด คือวนั ที่ 26 มกราคม 2563 ชว่ งเวลา 03.00 น.มปี ริมาณ 7 ไมโครกรมั ต่อลกู บาศก์เมตร สามารถดูปรมิ าณฝ่นุ
pm 2.5 ได้จากกราฟ

ปัญหาและอปุ สรรค

1.เนอ่ื งจากโรงเรียนมีวันหยดุ ราชการเป็นจานวนมาก จงึ ทาใหค้ ณะผ้จู ดั ทาไมไ่ ดป้ รกึ ษาและแสดงความคดิ เห็นร่วมกนั บ่อยครั้ง
2.ช่องทางในการรวบรวมปรมิ าณของฝนุ่ pm 2.5 มนี อ้ ยจงึ อาจทาให้ได้ข้อมลู ทไ่ี ม่ครอบคลมุ

ประโยชน์ท่ีจะได้รับ

1. ไดค้ วามรูแ้ ละข้อมลู ปรมิ าณpm2.5ในชว่ งเดือนมกราคม
2. ได้ทราบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ในจงั หวัด สมทุ รปราการ

ขอ้ เสนอแนะ

1.คณะผจู้ ดั ทาควรหาเวลาทตี่ รงกนั มา ประชมุ และรวบรวมข้อมลู ใหม้ ากขึ้น
2.ควรหาชอ่ งทางในการรับขอ้ มลู และควรตรวจสอบปรมิ าณฝ่นุ อยเู่ สมอ และบนั ทึกขอ้ มูลเป็นประจา

บรรณานกุ รม

กรมควบคุมมลพิษ.//(2563).//ปรมิ าณฝ่นุ pm2.5.//สบื ค้นเมื่อ1 กมุ ภาพนั ธ์ 2563./
จาก ://air4thai.pcd.go.th/webV2/history