ว ทยาศาสตร หมายความว าอย างไร ม ก ประเภท

ชว ยใหก ิง่ ไมจ ําลองยึดตดิ กบั ทรายในกระบะได ซึ่งตางจากกระบะที่ ไมมีแผน ใยขัดทนี่ ํา้ ไหลอยางรวดเร็ว

และพัดเอากิ่งไมและทรายลงไปดวย

เม่ือดําเนินการเสร็จส้ิน 5 ข้นั ตอนน้แี ลว ผูดําเนินการตองจัดทําเปนเอกสารรายงานการศึกษา

การทดลองหรือการปฏิบัตกิ ารน้นั เพื่อเผยแพรต อไป

8

ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร

วทิ ยาศาสตรเปน เรือ่ งของการเรยี นรูเ ก่ียวกบั ธรรมชาติ โดยมนุษยใ ชก ระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ ทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติ และนําผลมาจัดเปนระบบหลักการ แนวคิดและ ทฤษฎี ดังน้ัน ทักษะทางวทิ ยาศาสตร จึงเปน การปฏิบัติเพือ่ ใหไ ดม าซ่ึงคาํ ตอบในขอ สงสัยหรอื ขอ สมมติฐานตาง ๆ ของมนุษยตั้งไว

ทักษะทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย 1. การสังเกต เปนวิธีการไดมาของขอสงสัย รับรูขอมูล พิจารณาขอมูล จากปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขั้น 2. ตั้งสมมติฐาน เปนการกระดมความคิด สรุปสิ่งที่คาดวาจะเปนคําตอบของปญหาหรือขอสงสัยนั้น ๆ 3. ออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลของตัวแปรที่ตองศึกษา โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลตอ

ตวั แปรท่ีตอ งการศกึ ษา 4. ดาํ เนนิ การทดลอง เปนการจดั กระทํากบั ตวั แปรท่ีกาํ หนด ซึ่งไดแก ตัวแปรตน ตัวแปรตามและตวั

แปรที่ตองการศึกษา 5. รวบรวมขอมูล เปนการบันทึกรวบรวมผลการทดลองหรือผลจากการกระทําของตัวแปรที่กําหนด 6. แปลและสรุปผลการทดลอง ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรป ระกอบดวย 13 ทักษะ ดังนี้

1. ทกั ษะขนั้ มูลฐาน 8 ทกั ษะ ไดแก 1. ทักษะการสังเกต ( Observing) 2. ทักษะการวัด (Measuring) 3. ทักษะการจําแนกหรือทักษะการจัดประเภทสิ่งของ ( Classifying) 4. ทักษะการใชความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา (Using Space / Relationship) 5. ทักษะการคํานวณและการใชจํานวน (Using Numbers) 6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Comunication) 7. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) 8. ทักษะการพยากรณ ( Predicting)

2. ทักษะขั้นสูงหรือทกั ษะข้ันผสม 5 ทกั ษะไดแก 1. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน (Formulating Hypothesis) 2. ทักษะการควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) 3. ทักษะการตีความและลงขอสรุป (Interpreting data) 4. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) 5. ทักษะการทดลอง (Experimenting)

9

รายละเอียดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรทั้ง 13 ทกั ษะ มรี ายละเอยี ดโดยสรุปดังน้ี ทักษะการสังเกต ( Observing) หมายถึงการใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการสงั เกต ไดแ ก ใชต าดู รปู ราง ใชห ูฟงเสียง ใชล ้นิ ชมิ รส ใชจ มูกดมกลน่ิ และใชผิวกายสมั ผัสความรอนเย็น หรือใชมือจับตอ ง ความออนแข็ง เปน ตน การใชประสาทสมั ผสั เหลาน้จี ะใชท ลี ะอยา งหรือหลายอยางพรอมกนั เพือ่ รวบรวม ขอมลู กไ็ ดโ ดยไมเ พม่ิ ความคดิ เห็นของผูส ังเกตลงไป

ทกั ษะการวดั (Measuring) หมายถึง การเลือกและการใชเครื่องมือวัดปริมาณของสิ่งของออกมา เปน ตัวเลขทแ่ี นนอนไดอยางเหมาะสม และถกู ตองโดยมหี นวยกํากบั เสมอในการวดั เพื่อหาปรมิ าณของ ส่ิงทว่ี ัดตอ งฝก ใหผูเรยี นหาคําตอบ 4 คา คือ จะวดั อะไร วดั ทําไม ใชเครอื่ งมอื อะไรวดั และจะวัดได อยางไร

ทักษะการจําแนกหรอื ทกั ษะการจัดประเภทสง่ิ ของ (Classifying) หมายถึง การแบงพวกหรือการ เรียงลําดับวัตถุ หรือส่งิ ทอ่ี ยใู นปรากฏการณโดยการหาเกณฑห รือสรา งเกณฑในการจําแนกประเภท ซงึ่ อาจใชเกณฑความเหมือนกนั ความแตกตา งกนั หรอื ความสัมพนั ธกนั อยางใดอยางหน่ึงก็ได ซงึ่ แลว แต ผเู รียนจะเลือกใชเกณฑใ ด นอกจากนค้ี วรสรา งความคิดรวบยอดใหเกดิ ขึ้นดว ยวา ของกลุมเดยี วกนั นั้นอาจ แบงออกไดห ลายประเภท ทั้งนี้ขึน้ อยกู ับเกณฑทีเ่ ลอื กใช และวตั ถุชน้ิ หนึง่ ในเวลาเดยี วกนั จะตอ งอยูเพียง ประเภทเดียวเทานัน้

ทกั ษะการหาพ้ืนทแ่ี ละความสัมพนั ธร ะหวา งพนื้ ทแ่ี ละเวลา ( Using Space / Relationship) หมายถึง การหาความสัมพันธระหวางมิติตาง ๆ ที่เกี่ยวกับสถานที่ รูปทรง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ เวลา ฯลฯ เชน การหาความสัมพันธระหวาง สเปสกับสเปส คือ การหารูปรางของวัตถุ โดยสังเกตจากเงาของ วัตถุเม่อื ใหแสงตกกระทบวตั ถุในมมุ ตาง ๆ ฯลฯ การหาความสัมพันธระหวาง เวลากับเวลา เชน การหาความสัมพันธระหวางจังหวะการแกวง ของลูกตุมนาฬิกากับจังหวะการเตนของชีพจร ฯลฯ การหาความสัมพันธระหวาง สเปสกับเวลา เชน การหาตําแหนงของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปเมื่อเวลา เปลยี่ นไป ฯลฯ

ทักษะการคํานวณและการใชจาํ นวน ( Using Numbers) หมายถึง การนําเอาจํานวนที่ไดจากการ วัด การสังเกต และการทดลองมาจัดกระทําใหเกิดคาใหม เชน การบวก ลบ คูณ หาร การหาคาเฉลี่ย การ หาคาตาง ๆ ทางคณิตศาสตร เพื่อนําคาที่ไดจากการคํานวณไปใชประโยชนในการแปลความหมาย และ การลงขอสรุป ซึ่งในทางวิทยาศาสตรเราตองใชตัวเลขอยูตลอดเวลา เชน การอา น เทอรโ มมเิ ตอร การตวง สารตาง ๆเปน ตน

10

ทกั ษะการจัดกระทาํ และส่อื ความหมายขอ มูล ( Communication) หมายถึง การนาํ เอาขอ มูล ซ่งึ ไดมาจากการสังเกต การทดลอง ฯลฯ มาจัดกระทาํ เสยี ใหม เชน นํามาจดั เรียงลาํ ดับ หาคา ความถ่ี แยกประเภท คํานวณหาคาใหม นํามาจัดเสนอในรูปแบบใหม ตัวอยางเชน กราฟ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร ฯลฯ การนาํ ขอ มูลอยา งใดอยา งหนงึ่ หรือหลาย ๆ อยา งเชนน้เี รียกวา การสือ่ ความหมาย ขอ มลู

ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ มลู ( Inferring) หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นใหกับขอมูลที่มี อยูอยางมีเหตผุ ล โดยอาศัยความรหู รอื ประสบการณเ ดมิ มาชว ย ขอมูลอาจจะไดจากการสงั เกต การวดั การทดลอง การลงความเห็นจากขอมูลเดียวกันอาจลงความเห็นไดหลายอยาง

ทักษะการพยากรณ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนหาคําตอบลวงหนากอนการทดลอง โดย อาศัยขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด รวมไปถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ไดศึกษามาแลว หรือาศัย ประสบการณท เ่ี กดิ ซํ้า ๆ

ทกั ษะการตง้ั สมมุตฐิ าน ( Formulating Hypothesis) หมายถึง การคิดหาคาคําตอบลวงหนากอน จะทําการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน คําตอบที่คิดลวงหนายังไม เปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน คาํ ตอบทคี่ ดิ ไวล วงหนา น้ี มักกลา วไวเ ปน ขอความทบ่ี อก ความสัมพันธระหวา งตัวแปรตนกบั ตัวแปรตามเชน ถาแมลงวนั ไปไขบ นกอ นเนื้อ หรือขยะเปยกแลวจะ ทาํ ใหเ กดิ ตวั หนอน

ทักษะการควบคมุ ตัวแปร ( Controlling Variables) หมายถึง การควบคมุ ส่งิ อ่ืน ๆ นอเหนือจาก ตวั แปรอิสระ ทจ่ี ะทาํ ใหผ ลการทดลองคลาดเคลื่อน ถา หากวาไมค วบใหเ หมอื น ๆ กัน และเปนการ ปอ งกนั เพ่ือมิใหมีขอ โตแ ยง ขอผดิ พลาดหรอื ตดั ความไมนา เชอื่ ถอื ออกไป ตวั แปรแบง ออกเปน 3 ประเภท คอื

1. ตวั แปรอสิ ระหรอื ตวั แปรตน 2. ตวั แปรตาม 3. ตัวแปรที่ตองควบคุม ทักษะการตีความและลงขอสรปุ (Interpreting data) ขอมูลทางวิทยาศาสตร สวนใหญจะอยูในรูปของลักษณะตาราง รูปภาพ กราฟ ฯลฯ การนําขอมูล ไปใชจึงจําเปนตองตีความใหสะดวกที่จะสื่อความหมายไดถูกตองและเขาใจตรงกัน การตีความหมายขอมูล คือ การบรรยายลักษณะและคุณสมบัติ การลงขอสรุป คือ การบอกความสมั พันธของขอ มูลทีม่ อี ยู เชน ถา ความดนั นอย นํ้าจะเดอื ดที่ อุณหภมู ติ ํ่าหรือนํา้ จะเดอื ดเรว็ ถาความดนั มากนาํ้ จะเดอื ดทอี่ ณุ หภูมสิ ูงหรอื น้าํ จะเดอื ดชาลง

11

ทักษะการกาํ หนดนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ าร ( Defining Operationally) หมายถึง การกําหนด ความหมายและขอบเขตของคําตาง ๆ ที่มีอยูในสมมุติฐานที่จะทดลองใหมีความรัดกุม เปนที่เขาใจ ตรงกนั และสามารถสงั เกตและวดั ได เชน “การเจรญิ เตบิ โต” หมายความวาอยางไร ตองกําหนดนิยามให ชัดเจน เชน การเจรญิ เตบิ โตหมายถงึ มีความสูงเพ่ิมขน้ึ เปนตน

ทักษะการทดลอง ( Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการ โดยใชทักษะตาง ๆ เชน การสงั เกต การวัด การพยากรณ การตั้งสมมตุ ฐิ าน ฯลฯ มาใชร วมกนั เพ่อื หาคําตอบ หรือทดลอง สมมตุ ฐิ านทีต่ ง้ั ไว ซึ่งประกอบดวยกจิ กรรม 3 ขน้ั ตอน

1. การออกแบบการทดลอง 2. การปฏิบัติการทดลอง 3. การบันทึกผลการทดลอง การใชกระบวนการวิทยาศาสตร แสวงหาความรูหรือแกปญหาอยางสม่ําเสมอ ชวยพัฒนา ความคิดสรา งสรรคทางวิทยาศาสตร เกดิ ผลผลติ หรอื ผลิตภณั ฑท างวิทยาศาสตรท แ่ี ปลกใหม และมีคุณคา ตอการดํารงชีวิตของมนุษยมากขึ้น คณุ ลกั ษณะของบคุ คลท่ีมีจติ วทิ ยาศาสตร 6 ลักษณะ 1. เปน คนมเี หตผุ ล

  1. จะตองเปนคนที่ยอมรับ และเชื่อในความสําคัญของเหตุผล
  2. ไมเ ชื่อโชคลาง คาํ ทํานาย หรอื ส่ิงศักดสิ์ ิทธิต์ าง ๆ
  3. คนหาสาเหตุของปญหาหรือเหตุการณและหาความสัมพันธของสาเหตุกับผลที่เกิดขึ้น
  4. ตอ งเปนบุคคลทส่ี นใจปรากฏการณต า ง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ และจะตอ งเปน บุคคลท่ีพยายาม

คน หาคําตอบวา ปรากฏการณตาง ๆ น้ันเกดิ ข้นึ ไดอยางไร และทําไมจึงเกดิ เหตกุ ารณ เชน นน้ั 2. เปน คนทม่ี ีความอยากรอู ยากเหน็

  1. มีความพยายามที่จะเสาะแสวงหาความรูในสถานการณใหม ๆ อยูเสมอ
  2. ตระหนักถึงความสําคัญของการแสวงหาขอมูลเพิ่มเติมเสมอ
  3. จะตองเปนบุคคลที่ชอบซักถาม คนหาความรูโดยวิธีการตาง ๆ อยูเสมอ 3. เปนบุคคลที่มใี จกวาง
  4. เปนบุคคลที่กลายอมรับการวิพากษวิจารณจากบุคคลอื่น
  5. เปนบคุ คลทีจ่ ะรบั รูและยอมรับความคิดเหน็ ใหม ๆ อยูเสมอ
  6. เปน บุคคลทเี่ ต็มใจทจี่ ะเผยแพรค วามรูแ ละความคิดใหแ กบ ุคคลอ่นื
  7. ตระหนักและยอมรับขอจํากัดของความรูที่คนพบในปจจุบัน

12

4. เปนบุคคลทีม่ ีความซอ่ื สตั ย และมใี จเปน กลาง

  1. เปนบุคคลที่มีความซื่อตรง อดทน ยุติธรรม และละเอียดรอบคอบ
  2. เปน บคุ คลทมี่ คี วามมั่นคง หนักแนนตอผลที่ไดจ ากการพิสูจน
  3. สังเกตและบันทึกผลตาง ๆ อยางตรงไปตรงมา ไมลําเอียงและมีอคติ

5. มีความเพียรพยายาม

  1. ทํากิจกรรมที่ไดรับมอบหมายใหเสร็จสมบูรณ
  2. ไมทอ ถอย เม่ือผลการทดลองลมเหลว หรือมอี ุปสรรค
  3. มีความตั้งใจแนวแนตอการคนหาความรู

6. มีความละเอยี ดรอบคอบ

  1. รจู กั ใชว ิจารณญาณกอ นทจี่ ะตัดสินใจใด ๆ
  2. ไมย อมรบั ส่ิงหนง่ึ สง่ิ ใดจนกวาจะมกี ารพสิ ูจนที่เชือ่ ถอื ได
  3. หลกี เลี่ยงการตัดสนิ ใจ และการสรปุ ผลท่ียังไมมกี ารวิเคราะหแลวเปนอยา งดี

13

แบบทดสอบ ทักษะวิทยาศาสตร

คาํ ช้ีแจง จงนําตัวอกั ษรหนาทกั ษะตา ง ๆ ไปเติมหนาขอ ท่ีสัมพันธกัน ก. ทักษะการสังเกต ข. ทักษะการวัด ค. ทักษะการคํานวณ ง. ทักษะการจําแนกประเภท จ. ทักษะการทดลอง

............1. ด.ญ.อริษากําลังทดสอบวิทยาศาสตร ............2. ด.ญ.วิไล วัดอุณหภมู ิของอากาศได 40 ํC ............3. มามี 4 ขา สุนขั ม4ี ขา ไกม ี 2 ขา นกมี 2 ขา ชางมี 4 ขา ............4. ด.ญ. พนิดา กําลังเทสารเคมี ............5. ด.ช. สุบินใชตลับเมตรวัดความยาวของสนามตะกรอ ............6. ด.ญ. อพิจติ รแบง ผลไมไ ด 2 กลุม คอื กลมุ รสเปรยี้ วและรสหวาน ............7. ด.ญ.วรรณนิภา ดูภาพยนตรวทิ ยาสาสตร 3 มติ ิ ............8. ด.ญ. นนั ทพร หยดสารละลายไอโอดนี ลงบนขา วเหนยี วทเ่ี ตรยี มไว ............9. รูปทรงกระบอกมีความสูงประมาณ 4 นิว้ ผิวเรียบ ............10. นักวิทยาศาสตรแบงพืชออกเปน 2 พวก คือ พชื ใบเลีย้ งเดีย่ วและพืชใบเลี้ยงคู

กิจกรรม ท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหนักศึกษาออกแบบแกปญหาจากสถานการณตอไปนี้

โดยมอี ปุ กรณ ดังน้ี เมล็ดถวั่ ถวยพลาสติก กระดาษทิชชู น้าํ กระดาษสดี าํ

กาํ หนดปญ หา................................................................................................................................. การตั้งสมมติฐาน.................................................................................................................................... การกาํ หนดตวั แปร ตวั แปรตน...................................................................................................................................

ตวั แปรตาม................................................................................................................................ ตัวแปรควบคุม................................................................................................................................

14

การทดลอง........................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

15

เรอ่ื งที่ 2 เทคโนโลยี

เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง ความรู วิชาการรวมกับความรูวิธีการและความชํานาญที่ สามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนสูงสุด สนองความตองการของมนุษยเปนสิ่งที่มนุษยพัฒนาขึ้น เพอ่ื ชวยในการทาํ งานหรอื แกป ญ หาตาง ๆ เชน อุปกรณ , เคร่ืองมอื , เครือ่ งจกั ร, วสั ดุ หรอื แมก ระทั่งท่ี ไมไดเ ปนสิ่งของทีจ่ ับตองได เชน ระบบหรือกระบวนการตา ง ๆ เทคโนโลยี มีความสัมพันธกับการ ดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ยม าเปน เวลานาน เปนส่ิงที่มนษุ ยใ ชแ กปญหาพ้ืนฐาน ในการดาํ รงชีวติ เชน การ เพาะปลกู ท่อี ยอู าศยั เครอ่ื งนุงหม ยารักษาโรค ในระยะแรกเทคโนโลยีทีน่ ํามาใช เปน เทคโนโลยพี ื้นฐาน ไมสลับซับซอนเหมือนดังปจจุบัน การเพิ่มของประชากร และขอจํากัดดานทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งมี การพัฒนาความสัมพันธกับตางประเทศเปนปจจัยดานเหตุสําคัญในการนําและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช มากขึ้น

เทคโนโลยีในการประกอบอาชพี

1. เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การนําเทคโนโลยีมาใชในการผลิต ทําใหประสิทธิภาพ ในการผลติ เพิ่มขนึ้ ประหยดั แรงงาน ลดตนทนุ และ รักษาสภาพแวดลอ ม เทคโนโลยที ี่มบี ทบาท ในการพัฒนาอตุ สาหกรรมในประเทศไทย เชน คอมพิวเตอร และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส การสื่อสาร เทคโนโลยชี ีวภาพและพันธุกรรม วศิ วกรรม เทคโนโลยีเลเซอร การสอ่ื สาร การแพทย เทคโนโลยพี ลังงาน เทคโนโลยีวัสดุศาสตร เชน พลาสตกิ แกว วสั ดุกอ สราง โลหะ

2. เทคโนโลยกี บั การพัฒนาดา นการเกษตร ใชเ ทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลติ ปรับปรงุ พันธุ เปน ตน เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอยางมาก แตทั้งนี้การนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาจะตอง ศึกษาปจจัยแวดลอมหลายดาน เชน ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ความเสมอภาคในโอกาสและการ แขงขันทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใหเกิดความ ผสมกลมกลืนตอการพัฒนาประเทศชาติและ สว นอ่ืน ๆ อีกมาก

เทคโนโลยีที่ใชใ นชีวติ ประจาํ วนั

การนําเทคโนโลยีมาใชในชีวิตประจําวันของมนุษยมีมากมายเนื่องจากการไดรับการพัฒนา ทางดานเทคโนโลยีกันอยางกวางขวาง เชน การสงจดหมายผานทางอินเตอรเน็ต การหาความรูผาน อนิ เตอรเ นต็ การพดู คุยและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกัน การอานหนงั สือผานอินเตอรเน็ต ลว นแตเ ปน เทคโนโลยีที่มีความกาวหนาอยางรวดเร็ว เปนการประหยัดเวลาและสามารถหาความรูตาง ๆ ไดรวดเร็ว ย่ิงข้ึน

16

เทคโนโลยีกอเกิดผลกระทบตอสังคมและพื้นที่ที่มีเทคโนโลยีเขาไปเกี่ยวของในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีไดชวยใหสังคมหลาย ๆ แหงเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นซึ่งรวมทั้งเศรษฐกิจโลกใน ปจ จบุ ัน ในหลาย ๆ ขนั้ ตอนของการผลิตโดยใชเทคโนโลยไี ดก อให เกดิ ผลผลติ ทีไ่ มต อ งการ หรอื เรียกวา มลภาวะ เกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเปนการทําลายสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีหลาย ๆ อยางที่ถูก นํามาใชมีผลตอคานิยมและวัฒนธรรมของสังคม เมื่อมีเทคโนโลยีใหม ๆ เกิดขึ้นก็มักจะถูกตั้งคําถามทาง จรยิ ธรรม เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม

คําวาเทคโนโลยีที่เหมาะสม หมายความถึงเหมาะสมตอสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความตองการ ของประเทศ เทคโนโลยีบางเรื่องเหมาะสมกับบางประเทศ ทั้งนข้ี น้ึ อยูก ับสภาวะของแตล ะประเทศ

1. ความจําเปนที่นําเทคโนโลยีมาใชในประเทศไทย ประชาชนสวนใหญเปนเกษตรกร รายได จากผลผลิตทางการเกษตรมีมากกวารายไดอยางอื่น และประมาณรอยละ 80 ของประชากรอาศัยอยูใน ชนบท ดังนั้นการนําเทคโนโลยีมาใชจึงเปนเรื่องจําเปน โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีทางการเกษตร สินคาทางการเกษตร สวนใหญสงออกจาํ หนา ยตางประเทศในลักษณะวัตถดุ บิ เชน การขายเมล็ดโกโกให ตางประเทศแลวนําไปผลิตเปนช็อคโกแลต หากตั้งโรงงานในประเทศไทยตองใชเทคโนโลยีเขามามี บทบาทในการพัฒนาการแปรรูป

2. เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีผูรูหลายทานไดตีความหมายของคําวา “เหมาะสม” วาเหมาะสมกับ อะไรตอเศรษฐกิจระยะเวลาหรือระดับเทคโนโลยีที่เหมาะสม เทคโนโลยีที่สามารถนํามาใชใหเกิด ประโยชนตอการดาํ เนนิ กิจการตาง ๆ และสอดคลองกับความรู ความสามารถ ประสบการณ สภาพแวดลอ ม วฒั นธรรมส่งิ แวดลอ ม และกาํ ลังเศรษฐกิจของคนทั่วไป เทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวของ ไดแก

1. การตดั ตอยนี (genetic engineering) เทคโนโลยดี เี อน็ เอสายผสม ( recombinant DNA) และ เทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)

2. การเพาะเลี้ยงเซลล และ/หรือ การเพาะเลยี้ งเน้ือเย่ือ (cell and tissue culturing) พืช และสตั ว 3. การใชประโยชนจุลินทรียบางชนิดหรือใชประโยชนจากเอนไซนของจุลินทรีย เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ไดแ กก ารพฒั นาการเกษตร ดานพืช และสตั ว ดวยเทคโนโลยชี วี ภาพ 1. การปรับปรุงพันธุพชื และการผลติ พืชพันธุใหมcr(op improvement) เชน พืชไรพชื ผกั ไมดอก 2. การผลติ พชื พันธดุ ีใหไดปรมิ าณมาก ๆ ในระยะเวลาอันส้ัน ในระยะเวลาอัน(mสic้นั ropropaagation) 3. การผสมพนั ธุส ตั วแ ละการปรบั ปรงุ พันธุสัตว (breeding and upgrading of livestocks) 4. การควบคมุ ศตั รพู ชื โดยชีววิธbี (iological pest control) และจลุ นิ ทรียท ี่ชว ยรกั ษาสภาพแวดลอม 5. การปรับปรุงขบวนการการผลิตอาหารใหมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยตอผูบริโภค 6. การริเริ่มคนควาหาทรัพยากรธรรมชาติมาใชประโยชน ( search for utilization of unused resources) และการสรางทรัพยากรใหม

17

เร่ืองที่ 3 วสั ดุและอุปกรณท างวทิ ยาศาสตร

อุปกรณทางวิทยาศาสตร คือเครอื่ งมอื ท่ีใชทัง้ ภายในและภายนอกหอ งปฏิบตั กิ ารเพ่อื ใชท ดลองและหา คําตอบตางๆทางวิทยาศาสตร

ประเภทของเครอ่ื งมอื ทางวิทยาศาสตร 1. ประเภททัว่ ไป เชน บกี เกอร หลอดทดสอบ ไพเพท บวิ เรต กระบอกตวง หลอด หยดสาร

แทงแกวคนสาร ซ่ึงอปุ กรณเ หลาน้ีผลติ ขน้ึ จากวัสดุท่เี ปน แกว เนื่องจากปองกันการทําปฏิกิริยากับสารเคมี นอกจากน้ียังมี เครอ่ื งช่งั แบบตา งๆ กลองจลุ ทรรศน ตะเกียงแอลกอฮอลเปนตน ซ่ึงอุปกรณเหลานวี้ ธิ ใี ช งานที่แตกตางกันออกไป ตามลักษณะของงาน

2. ประเภทเครือ่ งมือชา ง เปนอุปกรณทีใ่ ชไ ดท้งั ภายในหองปฏบิ ัติการ และภายนอก หอ งปฏบิ ัตกิ าร เชน เวอรเนยี คมี และแปลง เปนตน

3. ประเภทสิ้นเปลือง และสารเคมี เปนอุปกรณทางวิทยาศาสตรที่ใชแลวหมดไปไมสามารถนํา กลับมาใชไดอีก เชน กระดาษกรอง กระดาษลิตมัส และสารเคมี

การใชอ ปุ กรณทางวิทยาศาสตรประเภทตา งๆ

1.การใชง านอุปกรณว ทิ ยาศาสตรป ระเภททัว่ ไป บีกเกอร( BEAKER)

บีกเกอรมีหลายขนาดและมีความจุตางกัน โดยที่ขางบีกเกอรจะมีตัวเลขระบุความจุของบีกเกอร ทํา ใหผูใชสามารถทราบปริมาตรของของเหลวที่บรรจุอยูไดอยางคราวๆ และบีกเกอรม ีความจุตงั้ แต 5 มิลลเิ มตรจนถึงหลายๆลติ ร อีกทั้งเปนแบบสงู แบบเตี้ย และแบบรูปทรงกรวย ( conical beaker) บกี เกอร จะมีปากงอเหมือนปากนกซึ่งเรียกวา spout ทาํ ใหก ารเทของเหลวออกไดโ ดยสะดวก spout ทาํ ใหส ะดวก ในการวางไมแกวซึ่งยื่นออกมาจากฝาที่ปดบีกเกอร และ spout ยังเปนทางออกของไอน้ําหรือแกสเมื่อทํา การระเหยของเหลวในบีกเกอรที่ปดดวยกระจกนาฬิกา (watch grass)

การเลอื กขนาดของบกี เกอรเ พอ่ื ใสข องเหลวนน้ั ขน้ึ อยกู บั ปริมาณของเหลวที่จะใส โดยปกตใิ หร ะดบั ของเหลวอยูต่ํากวาปากบีกเกอรประมาณ 1 - 1 1/2 นิ้ว ประโยชนของบกี เกอร

1. ใชสําหรับตมสารละลายที่มีปริมาณมากๆ 2. ใชสําหรับเตรียมสารละลายตางๆ 3. ใชสาํ หรบั ตกตะกอนและใชระเหยของเหลวทีม่ ีฤทธิก์ รดนอย

18

หลอดทดสอบ ( TEST TUBE ) หลอดทดสอบมหี ลายชนดิ และหลายขนาด ชนิดที่มีปากและไมมีปาก ชนดิ ธรรมดาและชนดิ ทน

ไฟ ขนาดของหลอดทดสอบระบุได 2 แบบคือ ความยาวกับเสนผาศูนยกลางริมนอกหรือขนาดความจุเปน ปริมาตร ดังแสดงในตารางตอไปนี้

ความยาว * เสน ผาศูนยก ลางรมิ นอก ความจุ (มลิ เิ มตร) (มลิ ิเมตร)

75 * 11 4

100 * 12 8

120 * 15 14

120 * 18 18

150 * 16 20

150 * 18 27

หลอดทดสอบสวนมากใชสําหรับทดลองปฏิกิริยาเคมีระหวางสารตางๆ ที่เปนสารละลาย ใชต ม

ของเหลวที่มีปริมาตรนอยๆ โดยมี test tube holder จับกันรอ นมอื หลอดทดสอบแบบทนไฟจะมขี นาดใหญ และหนากวา หลอดธรรมดา ใชสําหรับเผาสารตางๆ

ดวยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมิท่ีสูง หลอดชนิดนี้ไมควรนําไปใชสําหรับทดลองปฏิกิริยาเคมีระหวาง สารเหมอื นหลอดธรรมดา

ไพเพท (PIPETTE) ไพเพทเปนอปุ กรณท่ีใชใ นการวดั ปริมาตรไดอ ยางใกลเ คยี ง มีอยูห ลาย

ชนดิ แตโ ดยทัว่ ไปทม่ี ใี ชอ ยูใ นหองปฏบิ ัตกิ ารมีอยู 2 แบบ คือ Volumetric pipette หรอื Transfer pipette และ Measuring pipette Transfer pipette ซ่งึ ใชใ นการวัด ปริมาตรไดเพียงคาเดียว คือถาหาก Transfer pipette จุ 25 มล. ก็จะวัดปริมาตรของ ของเหลวไดเฉพาะ 25 มล. เทา นนั้ Transfer pipette มีหลายขนาดตั้งแต 1 มล. ถึง 100 มล. ถึงแมไพเพทชนิดนี้จะใชวัดปริมาตรไดอยางใกลเคียงความจริงก็ตาม แต ก็ยังมขี อ ผิดพลาดซง่ึ ขึ้นอยกู บั ขนาดของไพเพท เชน

Transfer pipette ขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.2% Transfer pipette ขนาด 30 มล. มีความผิดพลาด 0.1% Transfer pipette ขนาด 50 มล. มีความผิดพลาด 0.1%

19

Transfer pipette ใชสําหรับสงผานของสารละลาย ที่มีปริมาตรตามขนาดของไพเพท เมอ่ื ปลอ ย สารละลายออกจากไพเพทแลว หามเปาสารละลายที่ตกคางอยูที่ปลายของไพเพท แตค วรแตะปลายไพ เพทกับขางภาชนะเหนือระดับสารละลายภายในภาชนะนั้นประมาณ 30 วนิ าที เพื่อใหส ารละลายทีอ่ ยขู า ง ในไพเพทไหลออกมาอีก ไพเพทชนิดนี้ใชไดงายและเร็วกวา บวิ เรท Measuring pipette หรอื Graduated pipette (บางทีเรียกวา Mohr pipette) จะมีขีดบอกปริมาตรตาง ๆ ไว ทําใหสามารถใชไดอยางกวางขวาง คือสามารถใชแทน Transfer pipette ได แตใ ชว ดั ปรมิ าตรไดแ นน อนนอ ยกวา Transfer pipette และมี ความผิดพลาดมากกวา เชน

Measuring pipette ขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.3% Measuring pipette ขนาด 30 มล. มีความผิดพลาด 0.3%

บวิ เรท (BURETTE) บิวเรทเปนอุปกรณวัดปริมาตรที่มีขีดบอกปริมาตรตางๆ และมกี ็อกสําหรบั เปด -ปด เพือ่ บังคบั

การไหลของของเหลว บิวเรทเปน อุปกรณทใี่ ชใ นการวเิ คราะห มขี นาดตั้งแต 10 มล. จนถงึ 100 มล. บวิ เรท สามารถวัดปริมาตรไดอยางใกลเคียงความจริงมากที่สุด แตกย็ ังมคี วามผิดพลาดอยเู ล็กนอ ย ซงึ่ ขึน้ อยู กับขนาดของบิวเรท เชน

บิวเรทขนาด 10 มล. มีความผิดพลาด 0.4% บิวเรทขนาด 25 มล. มีความผิดพลาด 0.24% บิวเรทขนาด 50 มล. มีความผิดพลาด 0.2%

บวิ เรท ขนาด 100 มล. มีความผิดพลาด 0.2%

เคร่ืองชง่ั ( BALANCE ) โดยทัว่ ไปจะมี 2 แบบคือ แบบ triple-beam และ แบบ equal-arm แบบ triple-beam

เปนเครอ่ื งชัง่ ชนิด Mechanical balance อกี ชนดิ หนึง่ ที่มีราคาถูกและใชง า ย แตม คี วามไวนอ ย เครื่องชั่งชนิดนี้มีแขนขางขวาอยู 3 แขนและในแตล ะแขนจะมขี ดี บอกนาํ้ หนกั ไวเ ชน 0-1.0 กรมั 0-10 กรมั 0-100 กรมั และยังมตี ุม น้าํ หนกั สาํ หรบั เล่อื นไปมาไดอ กี ดวย แขนทั้ง 3 น้ตี ดิ กบั เขม็ ชอี้ นั เดยี วกัน

20

วธิ กี ารใชเครอ่ื งชั่งแบบ (Triple-beam balance) 1. ต้งั เคร่ืองช่งั ใหอ ยใู นแนวระนาบ แลว ปรับใหแขนของเคร่ืองชง่ั อยใู นแน วระนาบโดยหมนุ สก

รูใหเขม็ ช้ตี รงขดี 0 2. วางขวดบรรจุสารบนจานเครื่องชั่ง แลวเลือ่ นตุม นา้ํ หนกั บนแขนทั้งสามเพื่อปรบั ใหเขม็ ชีต้ รง

ขดี 0 อานน้ําหนักบนแขนเครื่องชั่งจะเปนน้ําหนักของขวดบรรจุสาร 3. ถาตองการชั่งสารตามน้ําหนักที่ตองการก็บวกน้ําหนักของสารกับน้ําหนักของขวดบรรจุสารที่

ไดใ นขอ 2 แลวเลอื่ นตมุ นํา้ หนกั บนแขนทง้ั 3 ใหต รงกับน้ําหนกั ท่ตี องการ 4. เติมสารที่ตองการชั่งลงในขวดบรรจุสารจนเข็มชี้ตรงข0ีดพอดี จะไดน้ําหนักของสารตามตองการ 5. นาํ ขวดบรรจุสารออกจากจานของเคร่อื งชั่งแลว เลอื่ นตมุ นํ้าหนกั ทกุ อนั ใหอ ยูที่ 0 ทําความ

สะอาดเครื่องชั่งหากมีสารเคมีหกบนจานหรือรอบๆ เครื่องชั่ง แบบ equal-arm

เปน เครื่องชง่ั ทม่ี ีแขน 2 ขางยาวเทากันเมื่อ วัดระยะจากจุดหมุนซง่ึ เปน สนั มดี ขณะท่ี แขนของเครื่องชั่งอยูในสมดุล เมอ่ื ตอ งการ หานาํ้ หนกั ของสารหรอื วตั ถุ ใหว างสารนน้ั บนจานดานหนึ่งของเครื่องชั่ง ตอนนแ้ี ขน ของเคร่อื งช่งั จะไมอ ยูในภาวะท่สี มดุลจึง ตองใสต มุ น้าํ หนกั เพ่อื ปรบั ใหแขนเคร่อื งชงั่ อยใู นสมดลุ

วิธีการใชเ ครอ่ื งชง่ั แบบ (Equal-arm balance) 1.จัดใหเ คร่ืองชั่งอยูในแนวระดบั กอนโดยการปรบั สกรทู ่ขี าต้ังแลวหาสเกลศูนยข องเครื่องช่ัง

เมอ่ื ไมม วี ัตถุอยูบนจาน ปลอยที่รองจาน แลว ปรับใหเข็มชีท้ เ่ี ลข 0 บนสเกลศนู ย 2. วางขวดบรรจุสารบนจานทางดานซายมือและวางตุมน้ําหนักบนจานทางขวามือของเครื่องชั่ง

โดยใชคีบคีม 3. ถาเข็มชี้มาทางซายของสเกลศูนยแสดงวาขวดชั่งสารเบากวาตุมน้ําหนัก ตองยกปุมควบคุม

คานขึ้นเพื่อตรึงแขนเครื่องชั่งแลวเติมตุมน้ําหนักอีกถาเข็มชี้มาทางขวาของสเกลศูนยแสดงวาขวดชั่งสาร เบากวาตุมน้ําหนกั ตองยกปุมควบคมุ คานขึ้นเพ่อื ตรึงแขนเครอ่ื งช่ังแลวเอาตมุ นํา้ หนกั ออก

4. ในกรณีทีต่ มุ นา้ํ หนกั ไมสามารถทาํ ใหแ ขนท้งั 2 ขางอยูในระนาบได ใหเลอื่ นไรเดอรไปมาเพอ่ื ปรบั ใหน า้ํ หนักท้งั สองขา งใหเ ทา กนั

5. บันทึกน้ําหนักทง้ั หมดที่ชัง่ ได

21

6. นําสารออกจากขวดใสสาร แลวทําการชั่งน้ําหนักของขวดใสสาร 7. น้ําหนักของสารสามารถหาไดโ ดยนําน้ําหนกั ท่ีชั่งไดค ร้ังแรกลบนา้ํ หนักทชี่ ง่ั ไดคร้ังหลงั 8. หลังจากใชเครื่องชั่งเสร็จแลวใหทําความสะอาดจาน แลว เอาตมุ นาํ้ หนกั ออกและเลอ่ื นไรเดอร ใหอยทู ี่ตําแหนงศนู ย

2. การใชงานอุปกรณว ิทยาศาสตรประเภทเคร่อื งมือชาง เวอรเ นยี (VERNIER )

เปน เครื่องมือทีใ่ ชวดั ความยาวของวัตถุทัง้ ภายใน และภายนอกของชิน้ งาน เวอรเนียคาลิเปอรมลี กั ษณะ

สวนประกอบของเวอรเนีย

สเกลหลัก A เปนสเกลไมบรรทัดธรรมดา ซึ่งเปนมลิ ลิเมตร (mm) และนว้ิ (inch)

สเกลเวอรเ นยี B ซง่ึ จะเล่ือนไปมาไดบนสเกลหลกั

ปากวดั C – D ใชห นบี วัตถุที่ตองการวดั ขนาด

ปากวัด E – F ใชว ดั ขนาดภายในของวตั ถุ

แกน G ใชวัดความลึก

ปมุ H ใชก ดเลื่อนสเกลเวอรเนียไปบนสเกลหลัก

สกรู I ใชย ดึ สเกลเวอรเ นยี ใหต ิดกบั สเกลหลกั

การใชเวอรเ นีย 1. ตรวจสอบเครอ่ื งมอื วดั ดงั น้ี

1.1 ใชผาเช็ดทําความสะอาด ทุกชิ้นสวนของเวอรเนียรกอนใชงาน 1.2 คลายลอ็ คสกรู แลว ทดลองเลอ่ื นเวอรเ นยี สเกลไป-มาเบา ๆ เพื่อตรวจสอบดูวาสามารถใช งานไดคลองตัวหรือไม

22

1.3 ตรวจสอบปากวดั ของเวอรเ นยี โดยเลอ่ื นเวอรเ นยี รส เกลใหป ากเวอรเ นยี วดั นอกเลอ่ื นชดิ ตดิ กันจากนั้นยกเวอรเนยี รข ึน้ สองดูวา บรเิ วณปากเวอรเนยี ร มแี สงสวา งผานหรือไม ถาไมมแี สดงวา สามารถใชงานไดดี กรณีที่แสงสวางสามารถลอดผานได แสดง วาปากวัดชํารุดไมควรนํามาใชวัดขนาด 2. การวัดขนาดงาน ตามลําดับขั้นดังนี้

2.1 ทําความสะอาดบริเวณผิวงานที่ตองการวัด 2.2 เลือกใชปากวัดงานใหเหมาะสมกับลักษณะงานที่ตองการ เชน ถาตองการวัดขนาดภายนอก เลอื กใชป ากวดั นอก วดั ขนาดดา นในชน้ิ งานเลอื ใชป ากวดั ใน ถาตองการวัดขนาดงานที่ที่เปนชองเล็ก ๆ ใชบริเวณสวนปลายของปากวัดนอก ซ่ืงมีลักษณะเหมอื นคมมีดทัง้ 2 ดา น 2.3 เลอื่ นเวอรเนียรสเกลใหป ากเวอรเนยี รสัมผสั ช้ินงาน ควรใชแรงกดใหพอดีถาใชแรงมาก เกนิ ไป จะทําใหขนาดงานที่อานไมถูกตองและปากเวอรเนียรจะเสียรูปทรง 2.4 ขณะวัดงาน สายตาตองมองตั้งฉากกับตําแหนงที่อาน แลวจึงอานคา 3. เมื่อเลิกปฏิบัติงาน ควรทําความสะอาด ชะโลมดวยน้ํามัน และเกบ็ รักษาดว ยความระมัดระวงั ในกรณีท่ี ไมไดใชงานนาน ๆ ควรใชว าสลนี ทาสว นทจ่ี ะเปน สนมิ

คีม(TONG) คีมมีอยหู ลายชนดิ คีมที่ใชกับขวดปริมาตรเรียกวา flask tong คีมทใี่ ชกบั บกี เกอรเรียกวา beaker tong และคีมที่ใชกับเบาเคลือบเรียกวา crucible tong ซง่ึ ทาํ ดว ยนเิ ก้ิลหรอื โลหะเจือเหล็กที่ไมเ ปน สนมิ แต อยานาํ crucible tong ไปใชจับบีกเกอรหรือขวดปริมาตรเพราะจะทําใหลื่นตกแตกได

3.การใชง านอุปกรณว ิทยาศาสตรป ระเภทส้นิ เปลืองและสารเคมี กระดาษกรอง (FILTER PAPER) เปนกระดาษที่กรองสารที่อนุภาคใหญออกจากของเหลวซึ่งมี

ขนาดของอนุภาคที่เล็กกวา กระดาษลติ มัส (LITMUS)เปน กระดาษ ที่ใชทดสอบสมบัติความเปน กรด -เบส ของ ของเหลว

กระดาษลติ มสั มีสองสีคือ สแี ดง หรอื สชี มพู และ สีนํา้ เงนิ หรอื สฟี า วิธใี ชค ือการสัมผสั ของเหลวลงบน กระดาษ ถาหากของเหลวมีสภาพเปนกรด ( pH < 4.5) กระดาษจะเปล่ียนจากสีนา้ํ เงินเปน สแี ดง และ ในทางกลับกันถาของเหลวมีสภาพเปนเบส ( pH > 8.3) กระดาษจะเปลี่ยนจากสีแดงเปนสีนํ้าเงนิ ถา หาก เปนกลาง (4.5 ≤ pH ≤ 8.3) กระดาษทั้งสองจะไมเปลี่ยนสี

สารเคมี หมายถงึ สารที่ประกอบดวยธาตุเดียวกันหรือสารประกอบจากธาตุตางๆรวมกันดวย พนั ธะเคมีซึ่งในหองปฏิบัติการจะมีสารเคมีมากมาย

23

แบบทดสอบเร่ือง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร คําชี้แจง จงเลอื กคําตอบทถ่ี กู ทส่ี ุด

1. คา นํ้าทบี่ าน 3 เดือนที่ผานมาสูงกวาปกติ จากขอความเกิดจากทักษะขอใด ก. สงั เกต ข. ตง้ั ปญหา ค. ตั้งสมมติฐาน ง. ออกแบบการทดลอง

2. จากขอ 1 นกั เรยี นพบวา ทอประปารั่วจึงทําใหคาน้ําสูงกวาปกตินักเรียนใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ขอใดในการตรวจสอบขอเท็จจริง ก. ตั้งปญ หา ข. ตั้งสมมติฐาน ค. ออกแบบการทดลอง ง. สรปุ ผล

3. ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตรขอใดที่ทําใหงานประสบความสําเร็จ ก. ชอบจดบันทึก ข. รกั การอา น ค. ชอบคนควา ง. ความพยายามและอดทน

4. นอยสวมเสอ้ื สีดาํ เดนิ ทาง 2 กโิ ลเมตร และเปลย่ี นเสอ้ื ตวั ใหมเ ปน สขี าวเดนิ ในระยะทางเทา กนั และ วัดอุณหภูมิจากตวั เองหลงั เดนิ ทางทั้ง 2 ครั้ง ปรากฏวาไมเทากัน ปญหาของนอยคือขอใด ก. สีใดมีความรอนมากกวากัน ข. สมี ีผลตออณุ หภมู ขิ องรางกายหรือไม ค. สดี าํ รอนกวา สขี าว ง. สวมเสอื้ สีขาวเย็นกวา สีดาํ

5. แกว เลย้ี งแมว 2 ตัว ตัว 1 กนิ นมกบั ปลายา งและขาวสวย ตวั ที่ 2กินปลาทูกับขาวสวย 4 สปั ดาห ตอ มาปรากฏวา แมวท้งั สองตวั มนี ํ้าหนกั เพ่มิ ขน้ึ เทากัน ปญหาของแกวกอนการทดลองคือขอใด ก. ปลาอะไรที่แมวชอบกิน ข. แมวชอบกินปลาทูหรือปลายาง ค. ชนิดของอาหารมีผลตอการเจริญเติบโตหรือไม ง. ปลาทูทําใหแมวสองตัวนา้ํ หนกั เพม่ิ ข้นึ เทา กัน

24

6. ตอยทําเสื้อเปอนดวยคราบอาหารจึงนําไปซัก ดว ยผงซักฟอก A ปรากฏวาไมสะอาด จึงนําไปซักดวย ผงซักฟอก B ปรากฏวาสะอาด กอนการทดลองตอยตั้งปญหาวาอยางไร ก. ชนิดของผงซักฟอกมีผลตอการลบรอยเปอ นหรือไม ข. ผงซกั ฟอก A ซักผาไดส ะอาดกวา ผงซักฟอก B ค. ผงซกั ฟอกใดซกั ไดสะอาดกวา กนั ง. ถา ผงซกั ฟอก B จะสะอาดกวาผงซักฟอก A

7. นาํ น้าํ 400 ลูกบาศกเซนติเมตรใสลงในภาชนะ ทองแดง และสังกะสี อยา งละเทา ๆกัน ตมใหเดอื ด ปรากฏวา นา้ํ ในภาชนะอลมู ิเนยี มเดือดกอนน้าํ ในภาชนะสังกะสี การทดลองนี้ตั้งสมมติฐานวาอยางไร

ก. ถา ตม นํา้ เดือดในปริมาณที่เทา กันจะเดือดในเวลาเดยี วกนั ข. ถาตม นํ้าเดอื ดดวยภาชนะที่ทาํ ดว ยอลมู ิเนยี มดงั นนั้ นํา้ จะเดือดเรว็ กวา การตม ดวยภาชนะ

สังกะสี ค. ถา ตม นาํ้ ทท่ี าํ ดว ยภาชนะโลหะชนดิ เดยี วกนั จะเดอื ดในเวลาเดยี วกนั ง. ถา ตมนํ้าเดอื ดดว ยภาชนะทตี่ างชนดิ กันจะเดอื ดในเวลาตางกัน 8. จากปญหา “ชนิดของเสียงจะมีผลตอการเจริญเติบโตของไกหรือไม” ควรจะตั้งสมมติฐานวาอยางไร ก. จังหวะของเพลงมีผลตอการเจริญเติบโตของไกหรือไม ข. ไกท ช่ี อบฟง เพลงจะโตดีกวาไกทไ่ี มฟงเพลง ค. ถาไกฟงเพลงไทยเดิมจะโตดีกวาไกฟงเพลงสากล ง. ไกที่ฟงเพลงสากลและเพลงไทยเดิมจะโตเทากัน 9. จากปญหา"ผงซกั ฟอกมผี ลตอ การเจริญเตบิ โตของผกั กระเฉดหรือไม "สมมติฐาน กอนการทดลองคือขอใด ก. ถา ใชผ งซักฟอกเทลงในนํ้าดังน้ันผักกระเฉดจะเจรญิ เตบิ โตดี ข. พืชจะเจริญเติบโตดีเม่อื ใสผ งซักฟอก ค. ผงซักฟอกมีสารทําใหผ กั กระเฉดเจริญเติบโตดี ง. ผักกระเฉดจะเจริญเตบิ โตหรือไมถ าขาดผงซักฟอก 10. นง้ิ ใชส ําลกี รองน้ํา นอยใชใ ยบวบกรองนา้ํ 2 คน ใชว ธิ กี ารทดลองเดยี วกันทงั้ 2 คน ใชส มมตฐิ าน รว มกนั ในขอ ใด ก. สาร ขอ ใดกรองน้าํ ไดใสกวา กนั ข. นาํ้ ใสสะอาดดว ยสาํ ลแี ละใยบวบ ค. ถาไมใชใยบวบและสําลีน้ําจะไมใสสะอาด ง. ถาใชใ ยบวบกรองนาํ้ ดงั น้นั นา้ํ จะใสสะอาดกวา ใชส าํ ลี

25

11. เมอ่ื ใสน ้าํ แขง็ ลงในแกว แลว ตงั้ ทิ้งไวสักครจู ะพบวารอบนอกของแกวมีหยดนํ้าเกาะอยเู ตม็ ขอ ใดเปน ผลจากการสงั เกต และบันทึกผล ก. มหี ยดนาํ้ ขนาดเลก็ และขนาดใหญเ กาะอยจู าํ นวนมากทผ่ี วิ แกว

ข. ไอนํ้าในอากาศกล่นั ตวั เปน หยดนํา้ เกาะอยูรอบๆแกว ค. แกวนาํ้ ร่วั เปน เหตใุ หน ้าํ ซมึ ออกมาที่ผวิ นอก ง. หยดนาํ้ ท่เี กิดเปนกระบวนการเดียวกบั การเกดิ น้าํ คาง

12. กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นตอนใด ที่จะนําไปสูการสรุปผล และการศึกษาตอไป

ก. การตั้งสมมติฐานและการออกแบบการทดลอง

ข. การสังเกต

ค. การรวบรวมขอมูล

ง. การหาความสัมพันธของขอเท็จจริง

13. ในการออกแบบการทดลองจะตองยึดอะไรเปนหลัก

ก. สมมติฐาน ข. ขอ มูล

ค. ปญ หา ง. ขอเทจ็ จรงิ

14. สมมติฐานทางวิทยาศาสตรจะเปลี่ยนเปนทฤษฎีไดเมื่อใด

ก. เปน ทีย่ อมรบั โดยทวั่ ไป

ข. อธิบายไดกวางขวาง

ค. ทดสอบแลว เปนจรงิ ทกุ คร้ัง

ง. มีเครอื่ งมือพิสูจน

15. อปุ กรณต อ ไปนี้ ขอใดเปน อปุ กรณส าํ หรบั หาปรมิ าตรของสาร

ก. หลอดฉดี ยา

ข. กระบอกตวง

ค. เครื่องชั่งสองแขน

ง. ถูกทั้งขอ ก. และขอ ข.

16. ในกระบวนการทางวิทยาศาสตร ถาหากผลการทดลองที่ไดจากการทดสอบสมมติฐาน ไมสอดคลอง

กับสมมติฐาน จะตองทําอยางไร

ก. สังเกตใหม

ข. ตั้งปญหาใหม

ค. ออกแบบการทดลองใหม

ง. เปลี่ยนสมมติฐาน

26

17. ขอใดเรียงลําดับขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตรไดถูกตอง ก. การตั้งสมมติฐาน การรวบรวมขอมูล การทดลอง และสรุปผล ข. การตั้งสมมติฐาน การสังเกตและปญหา การตรวจสอบสมมติฐานและการทดลอง และสรุปผล ค. การสังเกตและปญหา การทดลองและตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน และสรุปผล ง. การสังเกตและปญหา การตั้งสมมติฐากนารตรวจสอบสมมติฐานและการทดลอง และสรุปผล

18. นักวิทยาศาสตรจะสรุปผลการทดลองไดอยางมีความเชื่อมั่นเมื่อใด ก. ออกแบบการทดลองที่มีการควบคุมตัวแปรตางๆ อยา งรดั กุมมากทส่ี ุด ข. กําหนดปญหาและตั้งสมมติฐานที่ดี ค. รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ มาเปรียบเทียบกับผลการทดลองไดถูกตองตรงกัน ง. ผลการทดลองสอดคลองตามทฤษฎีที่มีอยูเดิม

19. วิธีการทางวิทยาศาสตรขั้นตอนใด ที่ถือวาเปนความกาวหนาทางวิทยาศาสตรอยางแทจริง ก. การตั้งปญหาและการตั้งสมมติฐาน ข. การตรวจสอบสมมติฐาน ค. การตั้งสมมติฐาน ง. การตั้งปญ หา

20. ขอใดเปนลักษณะของสมมติฐานที่ดี ก. สามารถอธิบายปญหาไดหลายแงหลายมุม ข. ครอบคลุมเหตุการณและปรากฏการณตางๆ ภายในสภาพแวดลอ มเดยี วกนั ค. สามารถแกปญหาที่สงสัยไดอยางชัดเจน ง. สามารถอธิบายปญหาตางๆ ได แจมชัด

21. “ แมเ หล็กไฟฟา จะดดู จํานวนตะปไู ดมากขนึ้ ใชหรอื ไมถา แมเ หลก็ ไฟฟา นน้ั มีจาํ นวนแบตเตอร่เี พิ่มข้นึ ” จากขอความขางตน ขอใดกลาวถงึ ตวั แปรไดถ ูกตอ ง ก. ตวั แปรอิสระ คือ จาํ นวนแบตเตอร่ี ข. ตัวแปรอิสระ คอื จํานวนตะปทู ถี่ ูกดดู ค. ตวั แปรตาม คอื จาํ นวนแบตเตอร่ี ง. ตัวแปรตาม คือ ชนิดของแบตเตอรี่

27

22. “ การงอกของเมล็ดขาวโพดในเวลาท่ีตางกันข้ึนอยกู ับปริมาณของนา้ํ ที่เมลด็ ขา วโพดไดร บั ใชห รอื ไม ” จากขอความขางตน ขอ ใดกลาวถงึ ตัวแปรไดถูกตอง ก. ตัวแปรอิสระ คือ ความสมบูรณของเมล็ดขาวโพด ข. ตัวแปรตาม คือ เวลาในการงอกของเมล็ดขาวโพด ค. ตวั แปรทตี่ อ งควบคมุ คือ ปรมิ าณนาํ้ ง. ถกู ทุกขอท่กี ลา วมา

23. ใหน กั เรยี นเรยี งลําดบั ขั้นตอนการตง้ั สมมตุ ิฐาน ตอไปน้ี 1. จากปญหาที่ศึกษาบอกไดวาตัวแปรใดเปนตัวแปรตน และตวั แปรใดเปน ตวั แปรตาม 2. ตั้งสมมุติฐานในรูป “ ถา ....ดงั นน้ั ” 3. ศึกษาธรรมชาติของตัวแปรตนตางๆที่มีผลตอตัวแปรตามมากที่สุดอยางมีหลักการและเหตุผล 4. บอกตวั แปรตนทอ่ี าจจะมผี ลตอตวั แปรตาม ก. ขอ 1 , 2 , 3 และ 4 ตามลําดับ ข. ขอ 1 , 4, 3 และ 2 ตามลําดับ ค. ขอ 4 , 2 , 3 และ 1 ตามลําดับ ง. ขอ 4 , 1 , 3 และ 2 ตามลําดับ

24. พิจารณาขอความตอไปน้ีวา ขอความใดเปนการตั้งสมมติฐาน ก. ขณะเปดขวดมีเสียงดังปอก ข. ฟองกาซทีป่ ดุ ข้นึ มา คือ กาซคารบอนไดออกไซด ค. เครอ่ื งด่มื ทแ่ี ชไ วใ นตูเ ย็นจะมีรสหวาน ง. ทุกขอเปนสมมุติฐานทั้งหมด

25. การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการที่ดีควรมีลักษณะอยางไร ก. มีความชัดเจน ข. ทาํ การวดั ได ค. สงั เกตได ง. ถูกทง้ั ขอ ก ข และ ค

28

26. ถานกั เรียนจะกาํ หนดนิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร” การเจรญิ เติบโตของไก ” นกั เรยี นจะมวี ธิ กี ารกาํ หนดนยิ าม เชิงปฏบิ ตั ิการโดยคาํ นึงถึงขอใดเปน เกณฑ ก. ตรวจสอบจากความสูงของไกที่เพิ่มขึ้น ข. นาํ้ หนักไกท เี่ พิม่ ข้นึ ค. ความยาวของปกไก ง. ถูกทุกขอ

27. ขอใดคือความหมายของคําวา “ การทดลอง ” ก. การทดลองมี 3 ขั้นตอน คือการออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึก ผลการทดลอง ข. เปนการตรวจสอบที่มาและความสําคัญของปญหาที่ศึกษา ค. เปนการตรวจสอบสมมตุ ฐิ านที่ตั้งไวว า ถกู ตอ งหรือไม ง. ถกู ท้ังขอ ก. และขอ ค.

28. ถานกั เรียนตอ งการจะตรวจสอบวาดินตางชนิดกนั จะอุมนาํ้ ไดในปรมิ าณทตี่ า งกันอยางไร นกั เรียน ต้ังสมมตุ ิฐานไดว าอยางไร ก. ถาชนิดของดินมผี ลตอ ปรมิ าณนํา้ ทอี่ มุ ไว ดงั นน้ั ดนิ เหนยี วจะอมุ นาํ้ ไดม ากกวา ดนิ รว นและ ดนิ รว นจะอมุ นาํ้ ไวไ ดม ากกวา ดนิ ทราย ข. ดนิ ตา งชนดิ กันยอ มอมุ นาํ้ ไวไ ดตางกนั ดว ย ค. ดนิ ทมี่ เี น้ือดินละเอยี ดจะอุมนํา้ ไดดีกวาดนิ เนือ้ หยาบ ง. ถกู ทุกขอทีก่ ลา วมา

29

จากขอมูลตอไปนี้ใหตอบคําถามขอ 29 และขอ 30

จากการทดลองละลายสาร A ที่ละลายในของเหลว B ณ อุณหภูมิตางๆ ดงั นี้

อุณหภูมขิ องเหลว B ปริมาณของสาร A ที่ละลาย ในของเหลว B

(องศาเซลเซยี ส) (g)

20 5

30 10

40 20 50 40

29. ทอ่ี ณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส สาร A ละลายในของเหลว B ไดกีก่ รัม ก. ละลายได 20 กรมั ข. ละลายได 15 กรมั

ค. ละลายได 10 กรมั ง. ละลายได 5 กรมั 30. จากขอมูลในตาราง เม่อื อุณหภมู สิ ูงขึน้ การละลายของสาร A เปนอยางไร ก. สาร A ละลายในสาร B ไดน อ ยลง ข. สาร A ละลายในสาร B ไดมากขน้ึ ค. อุณหภมู ไิ มมผี ลตอการละลายของสาร A ง. ไมสามารถสรุปไดเพราะขอมูลมีไมเพียงพอ

30

เฉลยแบบทดสอบทกั ษะวทิ ยาศาสตร 1. จ 2. ข 3. ก 4. จ5 .ข ข 10. ง 6. ง 7. ก 8. จ 9.

กิจกรรมท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร กิจกรรม ท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหนักศึกษาออกแบบแกปญหาจากสถานการณตอไปน้ี

โดยมีอปุ กรณ ดงั น้ี เมล็ดถว่ั ถว ยพลาสติก กระดาษทิชชู น้าํ กระดาษสดี าํ

กาํ หนดปญ หา แสงผลตอ การเจริญเตบิ โตของเมลด็ ถั่วหรอื ไม

การตั้งสมมติฐาน ถา แสงมผี ลตอการเจริญเติบโตของเมลด็ ถ่ัวแลว ดงั นน้ั เมล็ดถวั่ ทไี่ ดรบั แสง

จะเจรญิ เติบโตไดด ีกวา

ตัวแปรตน แสง

ตวั แปรตาม การเจรญิ เตบิ โตของเมล็ดถ่วั

ตัวแปรควบคมุ เมล็ดถว่ั ,ถวยพลาสติก,กระดาษทิชชู,ปริมาณนาํ้ การทดลอง 1. แชเ มลด็ ถวั่ เขียวไว 1 คืน

2. ใสน ้าํ ลงในถว ยพลาสติก 3 ใบ ใหมีระดับน้าํ สงู ประมาณ 1 cm

3. พับทบกระดาษทชิ ชหู ลายๆ ชน้ั พรมน้ําใหชืน้ แลวนําไปบุดา นในของถทวยําเชน นี้กบั ถวยพลาสตกิ ทงั้ 3 ใบ

4. วางเมลด็ ถว่ั เขยี ว 6 เมล็ด ท่แี ชน้ําแลว ไวร ะหวา งกระดาษทชิ ชูและถว ย

5. ถวยใบที่ 1 ใหใชกระดาษสดี าํ ปด ไวโ ดยระมัดระวงั ไมใหแสงเขาไปในถวย ถว ยใบท่ี 2 วางไวบ รเิ วณ

ใกลเ คยี งบรเิ วณใบที่ 1

6. สงั เกตการเจรญิ เติบโตโดยวดั ความสงู ของเมลด็ ถัว่ ทกุ วนั และบันทึกผลของ เมลด็ ถว่ั ทกุ วนั เปน เวลา 5

วนั และเติมนาํ้ ลงในถวยใหส งู 1 cm ทกุ วนั

31

เฉลยแบบทดสอบบทท่ี 1 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 1. ข 2. ข 3. ง 4. ค 5 .ค

6. ก 7. ข 8. ค 9. ก 10. ง

11. ก 12. ก 13. ก 14. ค 15. ง

16. ง 17. ง 18. ค 19. ข 20. ค

21. ก 22. ข 23. ข 24. ค 25. ง

26. ง 27. ง 28. ง 29. ง 30. ข

32

บทท่ี 2 โครงงานวิทยาศาสตร

สาระสําคัญ โครงงานวิทยาศาสตรเปนกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร ซึ่งเปนกิจกรรมที่ตองใชกระบวนการ

ทาง วทิ ยาศาสตร ในการศกึ ษาคน ควา โดยผเู รยี นจะเปน ผดู ําเนนิ การดว ยตนเองทั้งหมด ต้ังแตเ รมิ่ วางแผน ใน การศึกษาคนควา การเก็บรวบรวมขอมูล จนถึงการแปลผล สรุปผล และการเสนอผลการศึกษา โดยมี ผชู ํานาญ การเปนผูใหคาํ ปรกึ ษา ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง

1. อธิบายประเภท เลือกหัวขอ วางแผน วิธีทํา นําเสนอและประโยชนของโครงงานได 2. วางแผนการทําโครงงานได 3. ทําโครงงานวิทยาศาสตรเปนกลุมได 4. อธิบายและบอกแนวทางในการนําผลจากโครงงานไปใชประโยชนได 5. นําความรูเกี่ยวกับโครงงานไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได ขอบขายเน้อื หา เร่ืองที่ 1 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร เรื่องท่ี 3 การนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร

33

เร่อื งท่ี 1 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร

โครงงานวิทยาศาสตรเปนกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึง่ เปนกิจกรรมทต่ี อ งใช กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการศึกษาคนควา โดยผูเรียนจะเปนผูดําเนินการดวยตนเองทั้งหมด ตง้ั แตเรมิ่ วางแผนในการศึกษาคน ควา การเก็บรวบรวมขอมูล จนถึงเรือ่ งการแปลผล สรปุ ผล และเสนอ ผลการศึกษา โดยมผี ชู ํานาญการเปน ผูใหค ําปรึกษา ลักษณะและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร จาํ แนกไดเ ปน 4 ประเภท ดงั น้ี

1. โครงงานประเภทสํารวจ เปนโครงงานที่มีลักษณะเปนการศึกษาเชิงสํารวจ รวบรวมขอมูล แลว นาํ ขอ มลู เหลาน้ันมาจัดกระทําและนาํ เสนอในรูปแบบตาง ๆ ดังน้ันลกั ษณะสาํ คญั ของ โครงงานประเภทนี้คือ ไมมีการจัดทําหรือกําหนดตัวแปรอิสระที่ตองการศึกษา

2. โครงงานประเภททดลอง เปนโครงงานที่มีลักษณะกิจกรรมที่เปนการศึกษาหาคําตอบของ ปญหาใดปญหาหนึ่งดวยวิธีการทดลอง ลักษณะสําคัญของโครงงานนี้คือ ตองมีการ ออกแบบการทดลองและดําเนินการทดลองเพื่อหาคําตอบของปญหาที่ตองการทราบหรือ เพอ่ื ตรวจสอบสมมตฐิ านทตี่ ้งั ไว โดยมีการจดั กระทํากบั ตวั แปรตน หรอื ตัวแปรอิสระ เพ่อื ดู ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั แปรตาม และมีการควบคุมตวั แปรอ่ืน ๆ ท่ไี มต องการศกึ ษา

3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือประดิษฐ เปนโครงงานที่มีลักษณะกิจกรรมที่เปนการศึกษา เกีย่ วกบั การประยุกต ทฤษฎี หรือหลกั การทางวิทยาศาสตร เพอ่ื ประดษิ ฐเครื่องมอื เครื่องใช หรอื อปุ กรณเพอ่ื ประโยชนใ ชส อยตา ง ๆ ซง่ึ อาจเปน การประดิษฐข องใหม ๆ หรือปรับปรุง ของเดิมที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งจะรวมไปถึงการสรางแบบจําลองเพื่ออธิบาย แนวคดิ

4. โครงงานประเภทการสรางทฤษฎีหรืออธิบาย เปนโครงงานที่มีลักษณะกิจกรรมที่ผูทํา จะตองเสนอแนวคิด หลักการ หรือทฤษฎีใหม ๆ อยางมีหลักการทางวิทยาศาสตรในรูปของ สูตรสมการหรือคําอธิบายอาจเปนแนวคิดใหมที่ยังไมเคยนําเสนอ หรืออาจเปนการอธิบาย ปรากฏการณในแนวใหมกไ็ ด ลกั ษณะสาํ คญั ของโครงงานประเภทน้ี คือ ผูทําจะตองมพี ืน้ ฐานความรูทางวิทยาศาสตรเปนอยางดี ตองคนควาศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวของอยางลึกซึ้ง จึง จะสามารถสรางคําอธิบายหรือทฤษฎีได

34

กิจกรรมท่ี 1 1 ) ใหนักศึกษาพิจารณาชื่อโครงงานตอไปนี้แลวตอบวาเปนโครงงานประเภทใด โดยเขียน

คําตอบลงในชองวาง

1. แปรงลบกระดานไรฝ นุ โครงงาน.....................................

2. ยาขัดรองเทาจากเปลือกมังคุด โครงงาน....................................

3. การศึกษาบริเวณปาชายเลน โครงงาน....................................

4. พฤติกรรมลองผิดลองถูกของนกพิราบ โครงงาน.....................................

5. บานยุคนวิ เคลยี ร โครงงาน.....................................

6. การศึกษาคุณภาพน้ําในแมน้ําเจาพระยา โครงงาน.....................................

7. เครื่องสงสัญญาณกันขโมย โครงงาน.....................................

8. สาหรา ยสีเขียวแกมน้ําเงินปรับสภาพนา้ํ เสียจากนากุง โครงงาน..........................

9. ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรูแบบมีเงื่อนไขของหนูขาว โครงงาน.........................

10. ศึกษาวงจรชีวิตของตัวดวง โครงงาน......................................

2 ) ใหนักศึกษาอธิบายความสําคัญของโครงงานวิทยาศาสตรวามีความสําคัญอยางไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

35

เรอ่ื งท่ี 2 ขัน้ ตอนการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร

การทํากิจกรรมโครงงานเปนการทํากิจกรรมที่เกิดจากคําถามหรือความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับ เรอื่ งตาง ๆ ดงั นั้นการทาํ โครงงานจึงมขี ้นั ตอนดังนี้

1. ขั้นสาํ รวจหรือตดั สินใจเลอื กเรื่องทจ่ี ะทํา การตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะทําโครงงานควรพิจารณาถึงความพรอมในดานตาง ๆ เชน

แหลงความรูเพียงพอที่จะศึกษาหรือขอคําปรึกษา มีความรูและทักษะในการใชเครื่องมืออุปกรณตางๆ ที่ ใชใ นการศึกษา มีผูทรงคุณวุฒริ บั เปน ทีป่ รึกษา มีเวลา และงบประมาณเพียงพอ

2. ข้นั ศึกษาขอ มลู ท่เี กี่ยวของกบั เร่ืองท่ตี ดั สินใจทํา การศกึ ษาขอ มูลที่เกี่ยวขอ งกับเรือ่ งทตี่ ัดสนิ ใจทาํ จะชว ยใหผูเ รียนไดแนวคดิ ทีจ่ ะ

กําหนดขอบขายเรื่องที่จะศึกษาคนควาใหเฉพาะเจาะจงมากขึ้นและยังไดความรู เรื่องที่จะศึกษาคนควา เพิ่มเติมจนสามารถออกแบบการศึกษา ทดลอง และวางแผนดําเนินการทําโครงงานวิทยาศาสตรอยาง เหมาะสม

3. ขน้ั วางแผนดาํ เนนิ การ การทําโครงงานวิทยาศาสตรไมวาเรื่องใดจะตองมีการวางแผนอยางละเอียด รอบคอบ

และมีการกาํ หนดขน้ั ตอนในการดําเนนิ งานอยา งรดั กมุ ทง้ั น้เี พื่อใหการดาํ เนินงานบรรลุจดุ มงุ หมายหรอื เปาหมายที่กําหนดไว ประเด็นที่ตองรวมกันคิดวางแผนในการทําโครงงานมีดังนี้ คือ ปญหา สาเหตุของ ปญหา แนวทาง และวิธีการแกปญหาที่สามารถปฏิบัติได การออกแบบการศึกษาทดลองโดยกําหนดและ ควบคุมตวั แปร วัสดอุ ปุ กรณและสารเคมี เวลา และสถานท่ีจะปฏบิ ตั ิงาน

4. ขน้ั เขยี นเคา โครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร การเขียนเคาโครงของโครงงานวิทยาศาสตรมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 ชื่อโครงงาน เปนขอความสั้น ๆ กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายตรง และมีความ

เฉพาะเจาะจงวาจะศึกษาเรื่องใด 4.2 ชื่อผทู าํ โครงงาน เปนผูร ับผิดชอบโครงงาน ซึง่ อาจเปนรายบคุ คลหรือกลมุ ก็ได 4.3 ชื่อทป่ี รึกษาโครงงาน ซงึ่ เปน อาจารยห รอื ผทู รงคุณวุฒกิ ไ็ ด 4.4 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน เปนการอธิบายเหตุผลที่เลือกทําโครงงานนี้

ความสําคัญของโครงงาน แนวคิด หลักการ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับโครงงาน 4.5 วัตถุประสงคโครงงาน เปนการบอกจุดมุงหมายของงานที่จะทํา ซึ่งควรมีความ

เฉพาะเจาะจงและเปนสิ่งที่สามารถวัดและประเมินผลได 4.6 สมมติฐานของโครงงาน(ถามี)สมมติฐานเปนคําอธิบายท่ีคาดไวลว งหนา ซ่งึ จะผิด

หรือถกู ก็ได สมมติฐานท่ดี ีควรมีเหตผุ ลรองรับ และสามารถทดสอบได

36

4.7 วัสดุอุปกรณแ ละสง่ิ ทีต่ องใช เปน การระบุวัสดอุ ุปกรณท่จี ําเปน ใชใ นการ ดําเนินงานวามีอะไรบาง ไดมาจากไหน

4.8 วธิ ีดาํ เนินการ เปนการอธบิ ายขน้ั ตอนการดําเนนิ งานอยางละเอยี ดทุกข้นั ตอน 4.9 แผนปฏบิ ตั กิ าร เปน การกาํ หนดเวลาเรม่ิ ตน และเวลาเสรจ็ งานในแตล ะขน้ั ตอน 4.10 ผลท่คี าดวา จะไดรบั เปนการคาดการณผ ลที่จะไดรับจากการดําเนินงานไว ลว งหนา ซ่ึงอาจไดผลตามที่คาดไวห รือไมก ็ได 4.11 เอกสารอางอิง เปนการบอกแหลงขอมูลหรือเอกสารที่ใชในการศึกษาคนควา 5. ขนั้ ลงมือปฏบิ ัติ การลงมือปฏิบัติเปนขั้นตอนที่สําคัญตอนหนึ่งในการทําโครงงานเนื่องจากเปนการลง มือปฏิบัติจริงตามแผนที่ไดกําหนดไวในเคาโครงของโครงงาน อยางไรก็ตามการทําโครงงานาจะสําเร็จ ไดด วยดี ผเู รยี นจะตองคาํ นงึ ถึงเรือ่ งความพรอมของวัสดุอุปกรณ และสิง่ อื่น ๆ เชนสมุดบันทกึ กจิ กรรม ประจําวัน ความละเอียดรอบคอบและความเปนระเบียบในการปฏิบัติงาน ความประหยัดและความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ความนาเชื่อถือของขอมูลที่ไดจากการปฏิบัติงาน การเรียงลําดับกอนหลังของ งานสว นยอย ๆ ซงึ่ ตองทําแตล ะสวนใหเ สรจ็ กอนทาํ สวนอ่ืนตอไปในขั้นลงมือปฏิบตั ิจะตอ งมกี ารบนั ทึก ผล การประเมินผล การวิเคราะห และสรปุ ผลการปฏิบตั ิ 6. ขน้ั เขยี นรายงานโครงงาน การเขียนรายงานการดําเนินงานของโครงงาน ผูเรียนจะตองเขียนรายงานใหชัดเจน ใช ศพั ทเ ทคนิคที่ถูกตอ ง ใชภาษากะทดั รดั ชดั เจน เขาใจงาย และตอ งครอบคลุมประเดน็ สําคญั ๆ ท้ังหมด ของโครงงานไดแก ชื่อโครงงาน ชื่อผูทําโครงงาน ชื่อที่ปรึกษา บทคัดยอ ที่มาและความสําคัญของ โครงงาน จุดหมาย สมมติฐาน วิธีดําเนินงาน ผลการศึกษาคนควา ผลสรุปของโครงงาน ขอเสนอแนะ คํา ขอบคุณบุคลากรหรือหนวยงานและเอกสารอางอิง 7. ขน้ั เสนอผลงานและจดั แสดงผลงานโครงงาน หลังจากทําโครงงานวิทยาศาสตรเสร็จแลวจะตองนําผลงานที่ไดมาเสนอและจัดแสดง ซึ่งอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ การประชุมทางวิชาการ เปนตน ในการเสนอผลงาน และจัดแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร ควรนําเสนอใหครอบคลุมประเด็นสําคัญ ๆ ทั้งหมดของ โครงงาน

37

กจิ กรรมที่ 2 1. วางแผนจัดทําโครงงานวิทยาศาสตรที่นาสนใจอยากรูมา 1 โครงงาน โดยดาํ เนนิ การดงั น้ี

  1. - ระบุประเด็นท่ีสนใจ/อยากรู/ อยากแกไขปญหา ( 1 ประเดน็ )

- ระบุเหตผุ ลทส่ี นใจ/อยากรู/ อยากแกไขปญหา ( ทําไม )

- ระบุแนวทางที่สามารถแกไขปญหานี้ได ( ทาํ ได )

- ระบุผลดีหรือประโยชนทางการแกไขโดยใชกระบวนการที่ระบุ(พิจารณาขอมูล

จากขอ 1) มาเปนชื่อโครงงาน

  1. ระบุชื่อโครงงานที่ตองการแกไขปญหาหรือทดลอง
  1. ระบุเหตุผลของการทําโครงงาน (มวี ัตถุประสงคอยางไร ระบเุ ปน ขอ ๆ )
  1. ระบุตัวแปรที่ตองการศึกษา ( ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคมุ )
  1. ระบุความคาดเดา (สมมติฐาน) ทต่ี องการพสิ ูจน

2. จากขอมูลตามขอ 1) ใหนักศึกษาเขียนเคาโครงโครงงานตามประเด็นดังนี้

  1. ชื่อโครงงาน ( จาก 2 )..........................................................................................
  1. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (จาก 1)..............................................................
  1. วัตถุประสงคของโครงงาน ( จาก 3 )......................................................................
  1. ตัวแปรที่ตองการศึกษา ( จาก 4 )............................................................................
  1. สมมติฐานของโครงงาน ( จาก 5 )..........................................................................
  1. วสั ดอุ ปุ กรณและงบประมาณท่ตี องใช

6.1 วัสดุอุปกรณ. ..........................................................................................

6.2 งบประมาณ...........................................................................................

วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

วิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 2 แขนงใหญ่ ๆ คือ 1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) ได้แก่ชีวเคมี เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์พื้นฐานของวิทยาศาสตร์ ทุกสาขา 2. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) ได้แก่วิทยาศาสตร์ทางด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร ด้านวิศวกรรม ด้าน พันธุวิศวกรรม ฯลฯ ซึ่งน ามาประยุกต์ใช้เพื่อก่อให้ ...

ความหมายของคําว่า วิทยาศาสตร์ คืออะไร

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์.

1.ทักษะการสังเกต.

2.ทักษะการจำแนกประเภท.

3.ทักษะการวัด.

4.ทักษะการใช้จำนวน.

5.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล.

6.ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล.

8.ทักษะการพยากรณ์.

จิต วิทยาศาสตร์ 6 ลักษณะ มี อะไร บาง

อุษา ค าประกอบ (2530 : 48) ได้สรุปคุณลักษณะผู้ที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ไว้ ดังนี้ คือ 1) ความมีเหตุผล 2) ความอยากรู้อยากเห็น 3) ความใจกว้าง 4) ความซื่อสัตย์ และเป็นใจกลาง 5) ความเพียรพยายาม 6) ความละเอียดรอบคอบ