ตัวอย่าง คัด ลายมือ ครึ่ง บรรทัด

การคัดลายมือเป็นพื้นฐานในการเขียนหนังสือ ต้องเขียนด้วยตัวบรรจงให้ถูกต้อง สวยงามเป็นระเบียบ ตามรูปแบบตัวอักษรไทย บ่งบอกลักษณะนิสัยของผู้เขียน ซึ่งมีทั้งการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ต้องมีมารยาทในการเขียนจึงจะทำให้การเขียนมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด ท 2.1 ป.5/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

ท 2.1 ป.5/9 มีมารยาทในการเขียน

จุดประสงค์

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

1. บอกหลักการคัดลายมือได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

2. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

จุดประสงค์ของการคัดลายมือมีอะไรบ้าง

จุดมุ่งหมายของการคัดลายมือ ๑. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมือ ตา ให้คล่องแคล่วในการเขียน ๒. เพื่อเขียนตัวอักษรไทยถูกต้องตามหลักเกณฑ์ อยางประณีต สะอาดเป็นระเบียบ ชัดเจน รวดเร็ว และอ่าน เข้าใจง่าย ๓. เพื่อให้เกิดความชํานาญจากการคัดไปสู่การเขียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

คัดลายมือ ครึ่งบรรทัด ต้อง เว้น บรรทัด ไหม

๑.๓๐ ๔. เขียนด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่เว้นบรรทัด โดยใช้ปากกาสีดำ หรือสีน้ำเงิน เขียนในกระดาษที่ สพฐ กำหนด หากพบว่ามีการคัดลอกข้อความส่วนหนึ่งส่วนใดจากงานสร้างสรรค์อื่น โดยไม่ได้เขียนด้วยตนเอง จะไม่ได้รับการพิจารณาผลงานจากคณะกรรมการ โดยมีรายละเอียดการเขียนดังนี้

รูปแบบการคัดลายมือ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

การคัดลายมือแบ่งได้เป็น ๒ ลักษณะ ดังนี้ การคัดตัวบรรจง การคัดตัวหวัดแกมบรรจง

หลักเกณฑ์ในการคัดลายมือ มีอะไรบ้าง

หลักการคัดลายมือ.

คัดด้วยลายมือเป็นระเบียบ สวยงาม อ่านง่าย.

ไม่ผิด ตก หรือต่างไปจากต้นฉบับ.

พยายามอย่าให้มีรอยลบ ขูด ขีด ฆ่า.

คัดตัวอักษรตัวตรง มีหัวตัวอักษรชัดเจน ไม่เล่นหาง หรือลวดลายในลักษณะตัวอักษรแบบประดิษฐ์.

เว้นช่องไฟ เว้นวรรค ให้ถูกต้อง.

เมื่อคัดเรียบร้อยแล้ว ควรอ่านตรวจทานเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาด.