Pci express ค ออะไร ม หน าท อย างไร

บรรจอุ ยใู่ นซองพลาสติกแขง็ รูปส่ีเหล่ยี ม เพอ่ื ป้องกนั แผน่ ดิสกเ์ ก็ต จากฝนุ่ ละออง สิ่งสกปรก การขดู ขีด และอนื่ ๆ

 ฮารด์ ดสิ ก์ (Hard Disk) เป็นหน่วยความจาสารองที่เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล

ความเร็วสูง ทาจากจานแม่เหล็กซ่ึงหมุนด้วยความเร็วหลาย พันรอบต่อนาที และมีหัวอ่านคอยว่ิงไปอ่านหรือบันทึกข้อมูล ตามคาสง่ั จากซีพียู

ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์หลักซึ่งในปัจจุบันไม่เพียงแต่ ใช้เก็บข้อมูลเวลาที่ปิดเคร่ืองเท่านั้น แต่ยังเป็นท่ีพักข้อมูล ระหว่างการทางานในข้ันตอนต่างๆ ของโปรแกรมหรือ ระบบปฏิบตั กิ ารด้วย

ฮาร์ดดิสก์มีลักษณะเป็นจานแม่เหล็กหลายแผ่นวาง ซ้อนกัน โดยอาจมีจานวนแผ่น 3 – 11 แผ่น ซึ่งจะไม่เรียกว่าดิสก์แต่จะเรียกว่าแพลตเตอร์ (Platter) แทน ซ่ึงแต่ ละแพลตเตอร์จะสามารถเก็บขอ้ มูลได้ทง้ั สองดา้ น เนอ่ื งจากแพลตเตอร์ผลิตจากสารจาพวกโลหะหรือแก้วบางชนิด จงึ ไม่สามารถงอไปงอมาไดเ้ หมือนกับฟลอปปีด้ สิ ก์ ทาใหต้ อ้ งมีโลหะปดิ ไวท้ ุกด้านเพอ่ื ป้องกันการกระทบกระเทือน

นอกจากนฮ้ี าร์ดดิสกย์ งั มีหัวอ่าน/บนั ทกึ ขอ้ มูลอยู่ภายในตวั เดียวกนั ทาให้สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้ ด้วยตนเอง และเนื่องจากฮาร์ดดิสก์มีแพลตเตอร์หลายๆ แผ่นซ้อนกันอยู่ ดังน้ันฮาร์ดดิสก์ตัวหน่ึงๆ จะมีหัวอ่าน เขียนเทา่ กบั จานวนแพลตเตอรพ์ อดี และหวั อ่านแต่ละหัวจะมีการเคลื่อนที่เข้าออกพร้อมกัน แต่เม่ือจะทาการอ่าน หรือบันทึกข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ ก็จะมีเพียงหัวอ่าน 1 หัวเท่าน้ัน ท่ีจะทาการอ่านหรือบันทึกข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดเ้ ป็นจานวนมาก แล้วแต่ความจุของแต่ละร่นุ เชน่ ฮารด์ ดิสกค์ วามจุ 80 GB, 120 GB เป็นตน้

ฮาร์ดดิสก์จะถูกออกแบบมาสาหรับบันทึกข้อมูล โดยขึ้นอยู่กับสถาปัตยกรรมในการออกแบบด้วยว่าได้มี การกาหนดให้มีขนาดความจุต่อแผ่นเท่าใดและในฮารด์ ดสิ ก์แตล่ ะรุ่นจะต้องใช้จานวนแผ่นเท่าใด มีมอเตอร์สาหรับ ควบคมุ การหมนุ ของจานดิสก์ (Spindle) โดยอตั ราความเร็วในการหมุนจะเป็น 5400, 7200 และ 10,000 รอบต่อ นาที (rpm) ซึ่งถ้าจานวนรอบในการหมุนของจานดิสก์มีระดับความถ่ีที่สูง ก็จะส่งผลให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ รวดเร็วยง่ิ ขน้ึ ตามไปดว้ ย

 ซดี รี อม (CD-ROM) และ ดีวีดี (DVD) ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disk Read Only Memory) มีลักษณะเป็นแผ่นวงกลม มีขนาดเส้น ผา่ นศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร (4 3/4 น้ิว) ทามาจากแผ่นโพลีคาร์บอเนต (Polycarbonate) ซีดีรอมนี้ใช้หลักของ แสงในการอ่าน/บันทึกข้อมูล เหมาะสาหรับข้อมูลท่ีไม่ต้องการเปล่ียนแปลง เพราะเม่ือทาการบันทึกข้อมูลลงไป แล้ว จะไม่สามารถนากลับมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลใหม่ได้อีก ยกเว้นแต่จะใช้แผ่นลักษณะพิเศษท่ีสามารถลบ และบนั ทึกใหม่ได้ ซีดีรอมสามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 700 MB หรือเก็บข้อมูลท่ีเป็นภาพและ เสียงเช่น ภาพยนตร์หรือเพลงได้นานถึง 74 นาที ส่วนดีวีดี (Digital Video Disk) เป็นหน่วยความจาสารองอีกชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายกับแผ่นซีดีรอม แต่ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ได้มากกวา่ ซดี รี อม 7 เทา่ ตัว (4.7 GB) ซีดีรอมและดีวีดีไม่สามารถทางานได้ด้วยตนเอง จาเป็นจะต้องมีตัวอ่าน ข้อมูลเช่นเดียวกับแผ่นดิสก์เก็ต อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอม เรียกว่า ซีดีรอมไดร์ฟ (CD-ROM Drive) ส่วนอปุ กรณ์ทีใ่ ชส้ าหรบั อ่านดีวีดี เรียกว่า ดีวีดีไดร์ฟ (DVD Drive) โดยดีวีดีไดร์ฟสามารถอ่านข้อมูลได้ท้ัง แผ่นดีวดี ีและจากแผน่ ซีดรี อม แตซ่ ีดีรอมไดร์ฟไม่สามารถอา่ นข้อมลู จากแผ่นดีวดี ีได้

ลำดับช้นั ของหน่วยควำมจำ (Memory Heirarchy)

หน่วยความจามีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดต่างก็มีอัตราความเร็วท่ีแตกต่างกัน รวมท้ังขนาดความจุและ ราคาทีแ่ ตกต่างกัน สาเหตุทเ่ี ปน็ เชน่ นั้นกเ็ พื่อใหเ้ ราเลอื กหนว่ ยความจามาใช้งานได้อยา่ งเหมาะสม

จากรูปด้านล่าง ลาดับบนสุดจะเป็นหน่วยความจาท่ีมีความเร็วสูง และลดหลั่นลงมาเรื่อยๆ ก็จะมี ความเร็วที่ต่าลง ในขณะที่ลาดับบนสุดน้ันจะมีขนาดความจุน้อย และลดหลั่นลงมาเร่ือยๆ ก็จะมีความจุที่มีขนาด ใหญข่ ้นึ ในทานองเดียวกนั หนว่ ยความจาท่ีมขี นาดใหญน่ ัน้ จะมีราคาตา่ กว่าหนว่ ยความจาที่มีขนาดเล็ก

5. เมนบอรด์ (Mainboard)

เมนบอร์ด (Mainboard) หรือมาเธอร์บอร์ด (Motherboard) เป็นแผงวงจรขนาดใหญ่ ซงึ่ มีการเช่ือมต่อ วงจรต่างๆ สาหรบั เช่ือมอปุ กรณห์ ลายๆ ตัวเขา้ ด้วยกนั

เมนบอร์ดมีความแตกต่างกันของรูปแบบหรือที่ เรียกว่า “ฟอร์มแฟคเตอร์” (Form Factor) ซึ่งก็คือขนาด ของตัวเมนบอร์ด, ตาแหน่งการจัดวางชิ้นส่วนอุปกรณ์และ ขัว้ ตอ่ (Port) ตา่ งๆ บนเมนบอรด์ ซ่ึงจะมผี ลตอ่ รูปแบบของ ตัวเคร่ืองหรือเคส (Case) 5.1 Form Factor

หมายถงึ ขนาดของตัวเมนบอร์ดและตาแหนง่ ของข้วั ต่ออุปกรณภ์ ายนอกต่างๆ โดยจะต้องเข้ากันไดก้ ับ ชนิดของตวั เครื่องหรือเคส (Case) ท่ใี ช้ด้วย

  1. AT ใน Form ของ AT นั้น มีแบบ AT ธรรมดาและ Baby AT ซึ่งพื้นฐานแล้วท้ังสองแบบน้ันต่างกัน

ท่ีขนาดของบอร์ด บอร์ด AT จะมีความกว้างประมาณ 12 นิ้ว ซึ่งทาให้ไม่สามารถนามาใส่กับเคสใน ปัจจุบันได้ โดยท่ัวไปแล้วบอร์ดแบบ AT จะเป็นบอร์ดชนิดเก่า เช่น 386 หรือก่อนหน้าน้ี การจัดการ ภายในเคสนั้นค่อนข้างจะมีปัญหา เน่ืองจากขนาดของเมนบอร์ดมันจะเหล่ือมล้ากับช่องใส่ Drive และ สว่ นอนื่ ๆ

  1. ATX

รูปแบบของ ATX พัฒนาขึ้นมาจาก AT ได้แก้ไขข้อเสียที่เกิดข้ึนกับ AT ออกไป เช่น การ ออกแบบโดยย้ายหัวต่อ (Connector) มาไว้บนเมนบอร์ด (Built in - On Board) ทาให้ลดความยุ่งยาก ในการประกอบ ลดจานวนสายแพ เพิ่มประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล นอกจากนี้ส่วนท่ีได้รับการพัฒนา เพ่ิมข้ึนอีกคือ ภาคจ่ายไฟของเมนบอร์ด ซ่ึงออกแบบให้ใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและสามารถควบคุมโดย ซอฟตแ์ วร์ได้

  1. BTX (Balanced Technology Extended)

เป็น Form Factor หรอื รูปแบบของเมนบอร์ดมาตรฐานของอินเทล ซ่ึงนอกจากจะประกอบด้วย Socket T หรือ LGA 775 ซ่ึงเป็นช่องสาหรับติดตั้งซีพียูในตระกูล Prescott ของอินเทลแล้ว ก็ยังพ่วง เทคโนโลยีอย่างเช่น การใช้หน่วยความจา DDR II และมีสล็อตแบบ PCI Express ซ่ึงถูกออกแบบมา แทนท่สี ล็อตเดมิ เชน่ PCI และ AGP

เมนบอร์ดแบบ BTX ไดป้ รบั ปรุงการระบายความร้อนภายในตัวเครื่อง(รวมถึงซีพียูด้วย) โดยแยก จุดท่ีเกิดความร้อนสูงออกจากกัน และเพ่ิมตัวกระจายความร้อน (Thermal Module) ซ่ึงอาจมีตัวยึด กบั เคสหรือ SRM (Support and retention Module) ดว้ ย

เปรียบเทยี บตาแหน่งของการจดั วางระหว่าง ATX กบั BTX

5.2 สว่ นประกอบท่ีสำคญั บนเมนบอร์ด เมนบอร์ดเป็นตัวกาหนดว่าเครื่องคอมพิวเตอร์น้ันๆ จะใช้งานกับซีพียูอะไรได้บ้าง มีประสิทธิภาพเพียงใด

รองรับกับอุปกรณ์ใหม่ๆ ได้หรือไม่ มีขนาดใหญ่เล็กเท่าไร ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงส่วนประกอบ หลัก ข้อจากดั และขดี ความสามารถของเมนบอรด์ เพ่อื ใหส้ ามารถเลือกใช้งานไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสมตอ่ ไป

5.2.1 ช่องสาหรบั ติดตง้ั ซีพยี ู ซีพียูถอื ได้วา่ เป็นตวั หลักที่กาหนดวา่ เมนบอรด์ แตล่ ะรุ่นนั้นจะนาไปใช้งานร่วมกับซีพียูรุ่นใดหรือแบบใดได้

บ้าง ซึ่งก็จะเป็นตัวกาหนดชิปเซ็ต, ซ็อคเก็ต และอื่นๆ ที่เหมาะกับซีพียูรุ่นนั้นๆ ตัวอย่างรูปแบบของช่องสาหรับ ติดต้งั ซพี ยี ู เช่น

 Socket 604 ใชก้ ับซพี ียู Xeon และ Xeon Nocona  Socket 603 ใช้กับซีพยี ู Xeon  Socket T หรือ LGA 775 ใช้กับซีพียูของ Intel เช่น Pentium4 และ Celeron D แกน

Prescott, Pentium4 Extreme Edition, Pentium D (Dual-Core)  Socket 478 ใช้กบั ซีพยี ู CeleronII, Celeron D (บางรุ่น), Pentium4 (Northwood)  Socket 940 ใชก้ บั ซพี ยี ู Athlon 64 FX และ Opteron ของ AMD  Socket 939 ใชก้ บั ซพี ยี ู Sempron , Athlon 64(0.09 ไมครอน) ของ AMD  Socket 754 ใช้กบั ซพี ียู Athlon 64(0.13 ไมครอน) ของ AMD  Socket A ใช้กบั ซีพียู Duron, Athlon XP ของ AMD

Socket T หรอื LGA 775 Socket 478 Socket 754 Socket A

5.2.2 ชอ่ งสาหรับตดิ ต้ังหนว่ ยความจา (Memory Slot) หน่วยความจา RAM จะมีลักษณะเป็นแผงท่ีมีความยาว จานวนขา (Pin) และรอยบากท่ีแตกต่างกัน

ดงั นน้ั จึงตอ้ งมีการออกแบบชอ่ งเสยี บใหต้ รงชนดิ ของ RAM ท่ีจะนามาใช้

 แบบ 30 Pin ใชใ้ นเครอ่ื งร่นุ ตัง้ แต่กอ่ นทจ่ี ะมีซีพยี ู 486 มีความกว้างของบัสแผงละ 8 บิต

 แบบ 72 Pin ใชใ้ นเคร่ือง ต้งั แตซ่ ีพยี ู 486 ไปจนถึง Pentium มีความกวา้ งของบัสแผงละ 32 บิต

 แบบ 168 Pin ใช้กับแผงหน่วยความจาประเภท SDRAM มักเรียกว่า “DIMM Slot” (Dual In-line

Memory Module) มีความกวา้ งของบัสขนาด 64 บิต

 แบบ 184 Pin ช่องเสียบแบบน้ีถูกนาไปใช้กับ RAM 2 ประเภทท่ีใช้แทนกันไม่ได้คือ ใช้กับ RDRAM

(Rambus DRAM) แบบ 16 บิต ซึ่งเรียกว่า “RIMM Slot” กับประเภท DDR-SDRAM ซึ่ง เรยี กว่า “DIMM Slot” เช่นเดียวกับแบบ 168 Pin แต่ตา่ งกันที่จานวนขาและตาแหน่งบากกลาง ร่อง  แบบ 232 Pin

ใชก้ ับแผงหน่วยความจา RDRAM แบบ 32 บิต (ใช้กับเมนบอรด์ เพียงไมก่ ี่ร่นุ )  แบบ 240 Pin

ใช้สาหรบั แผงหน่วยความจาประเภท DDR2-SDRAM หรือ DDR II ท่ีเป็นหน่วยความจา รุน่ ปจั จบุ ันสาหรับเครือ่ งพีซี ซ่ึงนอกจากจะทางานด้วยความถ่ีที่สูงกว่าเดิม และรองรับเทคโนโลยี Dual-Channel ซึ่งให้ Bandwidth ท่ีเพิ่มมากข้ึนแล้วยังรองรับความจุสูงสุดได้มากถึงแผงละ 4 GB

5.2.3 ชิปเซ็ต (Chipset) เปน็ องคป์ ระกอบหลักทถี่ กู ติดตง้ั อยา่ งถาวรบนเมนบอร์ด ไมส่ ามารถถอดหรือเปล่ียนแปลงได้

ชปิ เซ็ตมคี วามสาคัญอยา่ งมาก เนือ่ งจากเป็นตัวกาหนดอปุ กรณ์อ่ืนๆ บนเมนบอร์ด เชน่  กาหนดชนดิ ของซอ็ คเกต็ ซ่งึ จะเปน็ ตวั กาหนดวา่ เมนบอรด์ น้จี ะใช้กับซีพียชู นดิ ใดได้บ้าง  รองรบั หน่วยความจาชนิดใดไดบ้ า้ ง  มีสลอ็ ตประเภทใดถูกตดิ ต้ังไว้บนเมนบอร์ดได้บา้ ง  สามารถทางานร่วมกบอปุ กรณป์ ระเภทใดไดบ้ ้าง  ขยายความสามารถได้มากนอ้ ยเพียงใด

ด้วยเหตุน้ีชิปเซ็ตจึงเป็นหัวข้อหลักในการพิจารณาเลือกซ้ือเมนบอร์ด ตัวอย่างเช่น เมนบอร์ดใช้ชิปเซ็ตที่ สนบั สนนุ ความเร็ว FSB ได้สูงสุดถึง 800 MHz หรือได้เพียง 533 MHz มีแคชได้มากน้อยเพียงใด มีหน่วยความจา สูงสุดได้เท่าไร ซึ่งชิปเซ็ตจะจากัดค่าสูงสุดที่รองรับได้ ส่วนเมนบอร์ดเป็นตัวจากัดจานวนสล็อตท่ีจะใส่ได้จริง เป็น ตน้

แต่เดิมชิปเซ็ตทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางในการประสานงานระหว่างซีพียูกับหน่วยความจาเท่าน้ัน แต่ต่อมา เม่ือสามารถบรรจทุ รานซิสเตอรล์ งในชิปไดม้ ากขึ้น ชิปเซต็ ก็มหี น้าท่ีอืน่ ๆเพ่มิ เขา้ ไปดว้ ย เช่น

 ตวั ควบคุมแคช (Cache Controller)และฮารด์ ดสิ ก์ (IDE Controller)  ตัวควบคมุ บสั PCI รวมทงั้ พอร์ตตา่ ง ๆ

การทางานของชิปเซต็ ปกติจะแยกออกเป็นสองสว่ น คอื  ทางานในส่วนของซีพียูกับองค์ประกอบต่างๆคือ แคช, RAM และ AGP ท่ีอยู่บน Front Side Bus (FSB) หรือที่ Intel เรียกว่า North Bridge Chipset (สะพานฝั่งเหนือ คือฝ่ังท่ีอยู่ใกล้ซีพียู) โดยอาจจะมีหลายชปิ ประกอบกัน  ทางานในส่วนที่มีไว้สาหรับต่อเข้ากับอุปกรณ์ I/O ต่างๆ ไดแ้ ก่ IDE, สล็อต ISA และพอร์ตต่างๆ (ขนาน, อนุกรม, USB) ซ่ึงเป็นอีกชิปเล็กๆเพียงชิป เดียว ที่อาจเรียกว่าเป็น South Bridge Chipset (คือสะพานฝั่งที่อยู่ไกลออกมาจากซีพียู นัน่ เอง) แต่ในชิปเซ็ตรุ่นใหม่ๆ เช่น i810 เป็นต้นไป จะมีการนาแนวคิดในการออกแบบใหม่มาใช้ โดยแทนท่ี

จะแบ่งเป็น North และ South Bridge อย่างเดิมก็กลายเป็น Accelerated Hub ที่รวมเอาการเชื่อมต่อใน รูปแบบและความเรว็ ตา่ งๆกัน เข้ามาดว้ ยกันแทน

โครงสร้างการแบ่งชิปเซต็ แบบเดมิ โครงสรา้ งของชปิ เซต็ รุ่นใหม่

ชิปเซต็ แตล่ ะรุ่นจะมีขีดความสามารถและราคาทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ตามแตว่ ัตถุประสงค์ที่ผู้ผลิตกาหนดมา ใน บางคร้ังเราก็ไม่จาเป็นต้องใช้ชิปเซ็ตแพงๆ โดยที่ไม่ได้ใช้ขีดความสามารถที่เพิ่มข้ึนเหล่าน้ัน ซึ่งจุดสาคัญในการ พิจารณาขดี ความสามารถกม็ ีหลายประการด้วยกนั เช่น พิจารณาวา่ เปน็ ชปิ เซ็ตสาหรบั ซพี ียูรุ่นใด รองรับความเร็ว ของบัสได้เท่าใด รองรับการทางานร่วมกันหลายๆซีพียูได้หรือไม่ ชนิดของหน่วยความจาท่ีทางานด้วยได้นั้นเป็น แบบใด และจานวนหน่วยความจาสงู สุด เป็นตน้

5.2.4 ระบบบัส และชอ่ งสาหรับตดิ ตั้งอุปกรณ์ต่างๆ (Bus & Slot)

บัสเป็นทางเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ทั้ง

ที่อยู่บนเมนบอร์ดและที่ติดตั้งเพิ่มเข้ามา ตั้งแต่ ซีพียู,

CPU หน่วยความจา, แคช, ฮาร์ดดิสก์, สล็อตต่างๆ และ

จอภาพ เป็นต้น ดังนั้น ความเร็วและประสิทธิภาพใน

การทางานของบัสจึงมีผลอย่างมากกับประสิทธิภาพ

โดยรวมของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์

ระบบบัสท่ีเหมาะสมจะต้องมีความเร็วเพียง

พอที่จะให้อุปกรณ์ต่างๆ รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้

อย่างเต็มศกั ยภาพความเร็วของอุปกรณ์น้ันๆ เพ่ือไม่ให้

เป็นตัวถ่วงอุปกรณ์อ่ืนๆ อันจะทาให้ความเร็วโดยรวม

ของทั้งเคร่อื งลดลง

โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ร ะ บ บ บั ส ข อ ง เ ค รื่ อ ง

ระบบบสั จะเชอ่ื มอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอรด์ เขา้ ดว้ ยกนั คอมพิวเตอร์มีความสลับซับซ้อน ทั้งนี้เนื่องจาก อุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ด

แสดงผล และอปุ กรณต์ ่อพว่ งตา่ งๆ ได้ถกู พฒั นาใหม้ คี วามเรว็ เพิม่ ขึน้ จงึ ทาใหต้ ้องพัฒนาชิปเซ็ตและระบบบัสต่างๆ

ตามไปดว้ ย

ระบบบัสและสล็อตต่างๆ มีความสาคัญและเก่ยี วข้องกันอยา่ งไร? บัสที่สาคัญที่สุด คือ บัสที่ใช้เชื่อมต่อกับ 5.2.4.1 บสั และซ็อคเกต็ ของซพี ียู ซีพียู เรียกว่า Front Side Bus (FSB) ซ่ึงเป็น บัสท่ีต้องทางานด้วยความถี่สูงสุดภายนอก Front Side Bus ของซีพียู เช่น 100, 133, 166, 200 และ 266 MHz เป็นต้น เนื่องจากเป็นเส้นทาง เชื่อมต่อระหว่างซพี ยี ู (ซง่ึ ตดิ ตัง้ อยกู่ บั ซ็อคเก็ต ของซพี ีย)ู กบั ชิปเซ็ตตวั หลกั

5.2.4.2 บสั และสล็อตของอุปกรณ์ความเร็วสงู

สล็อตของอปุ กรณ์ความเร็วสูง เช่น PCI, AGP และ PCI Express เป็นต้น

Bus Type Bus Width Bus Speed MB/sec

ISA 16 bits 8 MHz 16 MBps

EISA 32 bits 8 MHz 32 MBps

VL-bus 32 bits 25 MHz 100 MBps

VL-bus 32 bits 33 MHz 132 MBps

PCI 32 bits 33 MHz 132 MBps

PCI 64 bits 33 MHz 264 MBps

PCI 64 bits 66 MHz 512 MBps

PCI 64 bits 133 MHz 1 GBps

 PCI (Peripheral Component Interconnect) และ PCI-X (PCI Extended)

บัส PCI เป็นบัสความเร็วค่อนข้างสูง ใช้เช่ือมต่อระหว่างชิปเซ็ตกับอุปกรณ์ความเร็วรองลงมา

เช่น การด์ เสียง, การด์ โมเด็ม, การ์ดแลน เปน็ ตน้

มาตรฐานของบัส PCI ปัจจุบันจะมีความกว้างบัส 32 บิต และ 64 บิต ซ่ึงบัสแบบ 64 บิตนี้จะ

เรยี กว่า PCI-X

 AGP (Accelerated Graphic Port) AGP เป็นพัฒนาการที่ต่อจากบัส PCI โดยทางานท่ีความถี่ 66 MHz บัส AGP นี้ถูกออกแบบมาสาหรับ การ์ดแสดงผลโดยเฉพาะ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่มีการส่งข้อมูลมากที่สุด และจาเป็นต้องส่งผ่านข้อมูลให้ได้เร็วท่ีสุด เพราะจะมีผลต่อประสิทธิภาพโดยรวมอย่างเห็นได้ชัด แต่ก็มีข้อจากัดคือ เมนบอร์ดส่วนใหญ่จะมีสล็อต AGP อยู่ เพียงสล็อตเดียวเท่านั้น แต่สาหรับมาตรฐานของระบบบัสอย่าง PCI Express จะสามารถมีได้มากกว่า 1 ช่องบน เมนบอร์ดเดียวกนั

 PCI Express (2) PCI Express นั้นเป็นบัสที่ทางานแบบ Serial และสามารถเลือกใช้ความเร็วมากน้อยตามต้องการได้ (1)

โดยแบ่งออกเป็นช่องสัญญาณ (channel) หรือ lane

ของ PCI ซึ่งจะมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลแต่ละ

ทิศทาง 250 MB/sec และรวมสองทาง (Full-Duplex)

สูงถึง 500 MB/sec ซึ่งขั้นต่าสุดเรียกว่า PCI Express

x1 ถูกออกแบบให้มาแทนท่ี PCI Bus แบบเดิม

ประกอบด้วย 1 lane สล็อตก็จะสั้นหน่อย ส่วนขั้น

ถัดไปจะมีความเร็วเพ่ิมขึ้นเป็น 2, 4, 8 และ 16 เท่า (1) รปู ตวั อยา่ งของเมนบอรด์ ทใ่ี ช้ PCI Express x1 (สนั้ ) ตามลาดับ ก็จะประกอบด้วย 2, 4, 8 และ 16 lane ที่ และ PCI Express x16 (ยาว) บรเิ วณวงกลมสนี ้าเงนิ (ซา้ ยมอื ) รับส่งข้อมูลพร้อมกัน สล็อตก็จะยาวขึ้น (มีขั้วต่อมาก ขึ้น) เรียกว่าเป็น PCI Express x2, x4, x8 และสูงสุด (2) รปู ตวั อย่าง Socket แบบใหม่ LGA775 หรอื Socket T สาหรบั ซพี ยี ู Prescott บรเิ วณวงกลมสเี ขยี ว (ขวามอื )

คอื PCI Express x16 ทเ่ี รว็ ถงึ 8 GB/sec ซึง่ จะมาแทนที่สล็อตแบบ AGP 8x ที่ใช้กันอยใู่ นปัจจุบัน

นอกจากน้ีด้วยข้อจากัดท่ีมีมานมนาน เมนบอร์ดส่วนใหญ่จะสามารถมีสล็อต AGP ได้เพียงสล็อตเดียว

เท่านั้น แต่สาหรับมาตรฐานใหม่อย่าง PCI Express x16 ที่จะมาแทนที่สล็อต AGP แบบเดิมน้ันจะสามารถมีได้

มากกวา่ 1 ชอ่ งบนเมนบอร์ดเดียวกัน

5.2.5 BIOS (Basic Input/Output System) BIOS คือ ชิปท่ีถูกติดต้ังมาบนเมนบอร์ดจากโรงงาน ภายในบรรจุ

โปรแกรมหรือชุดคาสั่งขนาดเล็กสาหรับควบคุมการทางานข้ันพ้ืนฐาน เช่น การทากระบวนการ POST (Power-On Self Test) ของเครื่อง รวมทั้ง โปรแกรมที่ใช้ต้ังค่าการทางานให้กับเคร่ือง ท่ีเรียกว่า BIOS หรือ CMOS Setup ที่จะบันทึกข้อมูลและค่าต่างๆ ไว้ในชิปหน่วยความจาอีกประเภท หน่ึงที่เรียกว่า ซีมอส (CMOS) ซึ่งเป็นหน่วยความจาท่ีกินไฟน้อย และเก็บ ข้อมูลได้โดยใช้แบตเตอรี่ที่อยู่บนเมนบอร์ด ซ่ึงจะคอยจ่ายไฟเลี้ยงให้ ตลอดเวลาแม้ในขณะที่ปิดเคร่ือง ถ้าแบตเตอร่ีก้อนนี้หมดหรือถูกถอดออก คา่ ทตี่ ้งั ไว้ก็จะหายและกลับไปใชค้ ่าเรมิ่ ต้นแทน

5.2.6 ถ่านหรอื แบตเตอร่ไี บออส (BIOS Battery) แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ท่ีอยู่บนเมนบอร์ด เป็นส่วนท่ีไม่ค่อยมีผู้สนใจนัก จนกระทั่งเม่ือนาฬิกาของ

เคร่ืองคอมพิวเตอร์ผิดพลาดและ CMOS เร่ิมเก็บข้อมูลไม่อยู่ ซึ่งบอกให้รู้ว่าแบตเตอร่ีไบออสใกล้จะหมดอายุแล้ว ถ้าปล่อยไว้เชน่ นี้นานๆ ก็อาจจะทาให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้

แบตเตอรที่ ี่ใช้จะเป็นแบบลเิ ธยี ม (Lithium) เนอ่ื งจากมีความคงทน และสามารถใช้ งานได้นานเป็นปี ๆ โดยมีอายุการใช้งานเฉล่ียจะอยู่ท่ีประมาณ 3 ปี ลักษณะจะคล้าย กระดุมหรอื เหรยี ญสเี งิน ถูกวางอยู่ในเบ้าพลาสติกสีดา และอาจมีแผ่นโลหะติดอยู่เป็นขั้วไฟ สาหรับตอ่ เข้ากับเมนบอร์ด 5.2.7 ขัว้ ตอ่ และพอร์ตตา่ งๆ

6. อุปกรณ์แสดงผล

หน่วยแสดงผลเป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เป็นตัวกลางการส่ือสารระหว่าง คอมพวิ เตอร์กับมนุษย์ เราเรียกเครอื่ งมอื ในสว่ นน้ีว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices)

อุปกรณแ์ สดงผลสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ตามลกั ษณะของขอ้ มูลท่ีแสดงออกมา ได้แก่  อุปกรณ์แสดงผลท่ีมนุษย์จับต้องไม่ได้ (Softcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดง ข้อมูลท่ีมนุษย์ไม่สามารถจับต้องข้อมูลท่ีแสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรอื ขอ้ มูลเสียงจากลาโพง เรียกข้อมลู ประเภทน้วี า่ Softcopy  อุปกรณแ์ สดงผลที่มนุษย์จับต้องได้ (Hardcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูล ท่ีมนุษย์สามารถจบั ต้องขอ้ มูลท่ีแสดงนั้นได้ เช่น ตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เราเรียก ข้อมูลประเภทนีว้ ่า Hardcopy

ตวั อยา่ งอปุ กรณ์แสดงผล ไดแ้ ก่

6.1 จอภำพ (Monitor) จอภาพเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่มนุษย์จับต้องไม่ได้ (Softcopy Output Device) แสดงออกมาในลักษณะของข้อความและ รูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการทางาน ของจอโทรทัศน์ คือ เกิดจากคอมพิวเตอร์ส่งสัญญาณให้เกิดการยิงแสง อิเล็กตรอนไปยังพ้ืนผิวของจอภาพ ซึ่งฉาบไว้ด้วยสารฟอสฟอรัสที่สามารถ เรืองแสงได้เม่ือโดนอิเล็กตรอนตกกระทบ แต่ความแตกต่างที่สาคัญที่สุด ระหว่างจอภาพกับจอโทรทัศน์ก็คือ คุณภาพและความละเอียดของภาพท่ี ปรากฏข้ึนบนจอ โดยภาพบนจอภาพของคอมพิวเตอร์จะต้องมีคุณภาพที่ ดกี ว่า เนื่องจากลักษณะการใช้งานท่ผี ูใ้ ชต้ อ้ งอย่ใู กลช้ ดิ จอคอมพิวเตอร์มากกวา่ นน่ั เอง จอภำพสี (Color) เป็นจอภาพท่ีใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน ซึ่งลักษณะการแสดงผลจะอาศัยสัญญาณ ดจิ ติ อล เช่นกัน แต่จะแยกออกเปน็ 3 สญั ญาณ ตามแม่สีของแสง คือ แดง เขียว และน้าเงิน (Red, Green, Blue: RGB) ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดสีต่างๆ มากมายตามหลักการผสมของแม่สนี ่นั เอง ขนาดความกว้างของจอภาพมีหลายขนาด ซึ่งก็จะมีความละเอียดในการแสดงผลมากน้อยไม่เท่ากัน โดย ความละเอียดของภาพจะมหี น่วยวัดเปน็ จดุ ภาพหรือทีเ่ รยี กว่า พิกเซล (Pixel) ในแนวตง้ั และแนวนอนของจอภาพ เช่น 640x480, 800x600, 1,024x768 และ 1,280x1,024 เป็นต้น ย่ิงมีขนาดของพิกเซลมากขนาดของภาพจะมี ความละเอยี ดสงู มากขึน้ ภาพทปี่ รากฏจะมีความสวยงามมากข้ึน และขนาดของภาพท่ีแสดงผลบนจอจะเล็กลง ทา ใหม้ เี นอ้ื ทใ่ี ชง้ านบนจอมากขน้ึ การทางานของจอภาพต้องใช้ร่วมกับแผงวงจรควบคุมจอภำพ (Graphic Adapter Card) หรือท่ีเรียก สัน้ ๆ ว่า กำรด์ แสดงผล ซง่ึ เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่เสียบเข้าไปในเมนบอร์ด เพ่ือทาหน้าท่ีเป็นตัวรับคาสั่งใน การแสดงผลจากโปรแกรมต่างๆ แล้วแปลงสัญญาณน้ันเป็นสัญญาณที่จอภาพเข้าใจได้ จากน้ันจึงส่งสัญญาณที่ แปลงแลว้ ไปยังจอภาพ นอกจากน้ียังมีจอภาพอีกประเภทที่มีลักษณะพิเศษ นั่นคือ จอภำพระบบสัมผัส (Touch Screen Monitor) ซ่ึงเป็นจอภาพท่ีมี การส่งผ่านข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์อาศัยการสัมผัสท่ีจอภาพ ซึ่งมักทา เป็นลักษณะรายการ (Menu) ให้ผู้ใช้เลือก โดยที่ตัวผิวจอจะถูกปกคลุม ด้วยแผ่นพลาสติกที่มีลาแสงอินฟาเรด ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ สัญญาณท่เี กดิ จากการสมั ผัสกับลาแสงอินฟาเรดจะถูกส่งเข้าสู่ระบบเพ่ือตีความหมาย และประมวลผล จากนั้นจึง แสดงผลออกมาทางจอภาพเดียวกัน ซึ่งลักษณะเช่นนี้ก่อให้เกิดความรวดเร็วและสะดวกในการส่ือสารระหว่าง มนษุ ยก์ บั คอมพวิ เตอร์

จะเห็นว่า จอภาพประเภทน้ีเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีทั้งป้อนข้อมูล (Input Device) เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอรแ์ ละเป็นอุปกรณ์แสดงผล (Output Devive) ออกมาส่ผู ใู้ ช้ในตัวเดียวกนั

6.2 เคร่ืองพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณแ์ สดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อ สามารถนาไปใชใ้ นงานอ่ืนๆ ได้ เครื่องพมิ พ์โดยทวั่ ไปแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท คือ

 เคร่ืองพิมพ์แบบจุด (Dot Matrix Printer) คือ เครื่องพิมพท์ ีอ่ าศยั การใช้หัวเข็มไปกระแทกกระดาษ โดย ผ่านผ้าหมึกทาให้เป็นจุดข้ึน ซ่ึงมีลักษณะการทางาน คล้ายเครื่องพิมพด์ ีด คณุ ลกั ษณะเด่นของเคร่ืองพิมพ์แบบ น้ี คือ สามารถพิมพ์ลงบนกระดาษท่ีมีหลายสาเนาหลาย ชดุ ได้ ทาให้ไมต่ ้องเสยี เวลาพมิ พ์

 เคร่ืองพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink Jet Printer) คือ เครื่องพิมพ์ท่ีใช้วิธีพ่นน้าหมึกลงไปบนวัตถุงาน โดยหมึก จะถูกฉีดออกจากรขู นาดเล็กบนหัวพิมพ์ คุณลักษณะ เด่นของเคร่ืองพิมพ์แบบนี้ คือ สามารถพิมพ์ภาพสีได้ โดยมีตลับหมึกสีแยกอิสระ สามารถถอดเปล่ียนใหม่ได้ คุณภาพการพิมพ์คมชัดกว่าแบบใช้หัวเข็ม ให้ความ ละเอียดสงู

 เคร่ืองพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) มีหลักการ ทางานเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสาร เป็นเคร่ืองพิมพ์ท่ี พั ฒ น า ม า จ า ก เ ค ร่ื อ ง พิ ม พ์ แ บ บ จุ ด แ ล ะ แ บ บ พ่ น ห มึ ก สามารถพมิ พ์ได้เรว็ กว่าแบบอ่ืนและมีความคมชัดมาก จึง ได้รับความนิยมนามาใช้งานในสานักงานท่ัวไป อย่างไรก็ ตามเคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ ยังมีราคาสูงกว่าเคร่ืองพิมพ์แบบ จดุ และแบบพน่ หมกึ

6.3 พลอตเตอร์ (Plotter) เน่ืองจากการแสดงรูปกราฟิกทางเคร่ืองพิมพ์ (Printer) จะมีข้อจากัดทางด้านคุณภาพและขนาดของภาพ ดงั นั้นจงึ มีการผลิตพลอตเตอร์ข้ึนมาเพื่อใช้ในงานที่มีการสร้างรูปภาพทางกราฟิก เช่น การออกแบบ แผนผัง และ ชารต์ ตา่ งๆ เปน็ ตน้ พลอตเตอร์ คือ เครื่องวาดลายเส้น ทางานโดยอาศัยแขนจับปากกา ลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บน กระดาษ เช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ โดยพลอตเตอร์จะรับสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อ ใช้ควบคุมการเล่ือนปากกาไปบนกระดาษซ่ึงสามารถเลือกสี หรือปากกาท่ีมีเส้นหนาบางอย่างไรก็ได้ พลอตเตอร์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื

1. พลอตเตอร์แบบทรงกระบอก (Drum Plotter) จะมี ปากกามากกว่า 1 ดา้ มท่มี ีขนาดและหลายสี ผลัดกนั เคลื่อนที่ไปมาบนกระดาษ ภายใต้การควบคุมของเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างภาพขึ้นมา ซ่ึงการจะเลือก ว่าจะใช้ปากกาด้ามไหน คอมพิวเตอร์จะเป็นตัวจัดการเอง พลอตเตอร์ชนิดน้ี มักเป็นแบบต้ังพ้ืนและมีขนาดใหญ่ ใช้ในการสร้างภาพที่ต่อเนื่อง เช่น สาหรับ วัดความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว หรือวาดภาพกราฟิกที่มีขนาดใหญ่และ ยาวมากๆ เชน่ ภาพโครงสร้างของยานอวกาศ เปน็ ต้น

2. พลอตเตอร์แบบระนาบ (Flatbed Plotter) จะมีปากกามากกว่า 1 ด้ามเช่นกัน แต่การ เคลอ่ื นท่จี ะมีแต่ปากกาเท่าน้นั ทมี่ กี ารเคล่อื นท่ีทั้งสองแกน ในขณะที่กระดาษผลลัพธ์จะอยู่กับที่ พลอตเตอร์แบบน้ี มักมีขนาดไม่ใหญน่ กั ตง้ั บนโตะ๊ คอมพิวเตอรไ์ ด้ ภาพที่วาดจงึ ไม่ใหญม่ าก เช่น รูปกราฟตา่ งๆ เป็นต้น

3. อิเลก็ โตรสแตตคิ พลอตเตอร์ (Electrostatic Plotter) เป็นพลอตเตอรท์ ี่ใชใ้ นการสรา้ งภาพ อยา่ งคร่าวๆ ไม่ละเอยี ดมากนัก ใช้สาหรับตรวจสอบความถูกตอ้ งของงาน เมื่อเรยี บรอ้ ยดีแลว้ จึงส่งให้พลอตเตอร์ 2 แบบแรกสรา้ งภาพผลลัพธท์ ่มี ีความละเอยี ดสงู ต่อไป

7. กำร์ดแสดงผล (Graphic card)

ภาพท่ีเห็นในจอมอนิเตอร์นั้นถูกสร้าง

ข้ึนจากจุดเล็กๆ จานวนมากหลายล้านจุดท่ี

เรียกว่าพิกเซล(pixels) ในการสร้างจุดเล็กๆ

เหล่าน้ีขึ้นมาเป็นภาพ เครื่องคอมพิวเตอร์

ต้องการอุปกรณ์บางอย่างท่ีสามารถแปลง

ข้อมูลไบนารีจาก CPU ให้เป็นรูปภาพ อุปกรณ์

นั้นคือ Graphics card หรือ การ์ดแสดงผล

นั่นเอง

The graphics card creates a wire frame image, then fills it in and การ์ดแสดงผลมีการทางานท่ีซับซ้อน adds textures and shading.[2] แต่หลักการพื้นฐานและส่วนประกอบของมันไม่

ยากต่อการทาความเข้าใจนัก

ลองคิดวา่ เคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ป็นบรษิ ทั หน่ึงซึ่งมฝี า่ ยศิลป์อยู่ด้วย เม่ือคนในบริษัทต้องการชิ้นงานรูปภาพ

หรอื โปสเตอร์สักช้นิ กจ็ ะเป็นหนา้ ทีข่ องฝ่ายศลิ ปใ์ นการผลติ ชน้ิ งานนน้ั ข้ึนมา

การ์ดแสดงผลก็ใช้หลักการเดียวกัน

เมื่อซีพียูกาลังประมวลผลหากมีข้อมูลเก่ียวกับ

ภาพท่ีต้องแสดงผล ซีพียูจะส่งข้อมูลเก่ียวกับ

ภาพนัน้ ไปยงั การ์ดแสดงผล ซึ่งการ์ดแสดงผลจะ

มีหน้าที่คิดว่าจะต้องใช้จุด(Pixels) ในการสร้าง

รูปภาพขึ้นมาอย่างไร หลังจากนั้นจึงส่งข้อมูล

ต่อไปยังจอภาพ (monitor) โดยผ่านสายเคเบิล [2] หรือสายแพ

การด์ แสดงผล หรอื Graphic Card การ์ดแสดงผลท่ีใช้ในปัจจุบัน ได้แก่

การ์ดวิจีเอ (VGA : Video Graphics Array) สามารถแสดงผลได้ต้ังแต่ 16 สี ท่ีความละเอียด 640x480 พิกเซล

และตอ่ มาได้พฒั นาเป็นการ์ดซุปเปอรว์ จี ีเอ (SVGA : Super Video Graphics Array) ซ่ึงสามารถแสดงสีได้ 256 สี

ท่ีความละเอียด 800x600 พิกเซล ปัจจุบันน้ีพัฒนาจนถึงการ์ดเอ็กจีเอ (XGA : Exchanced Graphics Array) ซึ่ง

PCI Express มีหน้าที่อย่างไร

หากคุณเคยประกอบพีซีมาก่อนหน้านี้ คุณคงจำได้ว่าช่อง PCIe วางในแนวนอนพาดบนเมนบอร์ดของคุณ PCIe (Peripheral Component Interconnect Express) คือบัสขยายแบนด์วิดท์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมต่อการ์ดกราฟิกและ SSD และอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น การ์ดจับภาพและการ์ดไร้สาย

PCI Slot มีกี่ประเภท

- PCI Bus มีอยู่ 2 แบบ คือแบบ 32 บิต และ 64 บิต - มีการแบบใช้แรงดันไฟ +3.3v และ +5v สำหรับระบบบนเครื่อง PC ทั่วไปที่เป็นขนาด 32 บิต จะใช้ +3.3v. - สามารถถ่ายเทข้อมูลแบบ Burst Mode ที่มีขนาดของข้อมูลที่ส่งถ่ายกันมีขนาดไม่แน่นอน

PCI กับ PCI Express ต่างกันยังไง

PCI Express พร้อมที่จะรองรับ Driver ของ PCI ที่ใช้ Software และ OS ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อีกทั้งยังประหยัดพลังงานโดย PCI จะใช้แรงดันที่ 5 V แต่สำหรับ PCI Express ใช้เพียง 3.3 V ยังรวมการทำงานแบบ Hot-Pluggable (เสียบ Card โดยไม่ต้อง ปิดเครื่อง) ส่วนการทำงานในด้าน Graphic ระดับ High end นั้น PCI Express ได้ถูกออกแบบให้ ...

PCI E 3.0 กับ 2.0 Slot ใส่กันได้ไหม

PCI-E 2.0 กับ PCI-E 3.0 ใช้การ์ดร่วมกันได้ครับ ไม่มีปัญหา ความเร็วบัสจะวิ่งต่ำสุดของระหว่างสองอุปกรณ์ที่ใช้งานขณะนั้นๆ