ข อสอบเศรษฐศาสตร ม.4-6 พร อมเฉลย50ข อ

พน้ื ฐานเกยี่ วกบั เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งตน้ เพ่อื จะไดน้ ำไปเปน็ แนวทางในการตัดสินใจในการผลติ และบรโิ ภค

ให้ไดป้ ระโยชน์สงู สุด

4. สาระการเรียนรู้

4.1 ความหมาย ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

4.2 ขอบขา่ ยและเปา้ หมายของการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์

4.3 ปัญหาพ้นื ฐานทางเศรษฐศาสตร์

4.4 กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์

- การผลิต

- การบริโภค

- การกระจายรายได้

- การแลกเปลี่ยน

4.5 เศรษฐศาสตร์กบั การดำเนินชวี ิต

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน

5.1 ความสามารถในการคิด

- ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์

- ทกั ษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ

5.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

- กระบวนการทำงานกลุ่ม

ส 32103 สังคมศึกษา ม.5 5

6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 ใฝ่เรยี นรู้ 6.2 มุ่งมนั่ ในการทำงาน

7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน แผน่ พบั เรอื่ ง เศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ - นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1

ความสำคัญและเป้าหมายของเศรษฐศาสตร์

กิจกรรมที่ 1 วิธีสอนแบบบรรยาย วธิ สี อนโดยการจัดการ เวลา 2 ชวั่ โมง เรียนรู้แบบรว่ มมือ : เทคนิคการเรยี นรู้รว่ มกนั (Learning Together)

1. ใหน้ ักเรยี นเล่าพฤติกรรมของตนเอง ในชวี ิตประจำวันทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับเศรษฐศาสตร์ ซง่ึ นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอบอยา่ งหลากหลายแตกตา่ งกนั ไป

2. ครอู ธบิ ายเชือ่ มโยงใหน้ กั เรยี นเหน็ ว่า เศรษฐศาสตรเ์ ปน็ เร่อื งที่เกีย่ วขอ้ งกับชีวติ ประจำวันของ ทุกคน ไมว่ ่าจะเป็นวยั เด็ก วยั ทำงาน ซ่ึงทกุ คนจะต้องรจู้ กั ตัดสนิ ใจในการบรโิ ภคอย่างถูกตอ้ ง ใหเ้ กิดความ พอใจ และเกิดประโยชน์มากท่สี ุด

3. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์ จากนนั้ ครูอธบิ ายและยกตวั อยา่ ง ประกอบใหน้ กั เรียนเห็นความสำคญั ของวชิ าเศรษฐศาสตร์

4. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คอื เกง่ ปานกลาง (ค่อนขา้ งเกง่ ) ปานกลาง (ค่อนขา้ งอ่อน) และออ่ น ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรูจ้ ากหนังสอื เรยี น เรือ่ ง ความสำคัญและเป้าหมายของเศรษฐศาสตร์

5. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มมือกันทำใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ความสำคญั และเป้าหมายของ เศรษฐศาสตร์ โดยแบง่ หนา้ ท่กี ัน ดงั นี้

- สมาชิกคนท่ี 1 มีหนา้ ทอ่ี ่านคำส่งั คำถาม แยกแยะประเด็นใหช้ ดั เจน - สมาชิกคนที่ 2 ฟังข้นั ตอน รวบรวมข้อมูล หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคำถาม - สมาชกิ คนที่ 3 ตอบคำถามในใบงาน - สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 6. นักเรยี นซึง่ เปน็ สมาชกิ ในแต่ละกลมุ่ หมุนเวียนเปลยี่ นหน้าที่กันตอบคำถามในแต่ละขอ้ 7. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ผลดั กันเฉลยคำตอบในใบงาน ครูเปน็ ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 8. นกั เรียนกล่มุ เดมิ ร่วมกนั ทำใบงานท่ี 1.2 เร่ือง วิเคราะห์ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ เสร็จ แลว้ ชว่ ยกันเฉลยคำตอบ จากนน้ั ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมและเชือ่ มโยงให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ การวเิ คราะห์

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 6

ขอ้ ความในใบงานท่ี 1.2 นั้น แสดงให้เหน็ ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ซ่งึ ประกอบด้วย ผลิตสินค้า อะไร จะผลิตอยา่ งไร จะผลติ เพ่ือใคร

9. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรปุ ความหมาย ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบขา่ ย เปา้ หมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ และปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐศาสตร์

กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ เวลา 3 ชัว่ โมง วธิ ีสอนโดยการใชเ้ กม วิธีสอนแบบบรรยาย วิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม

1. ครูใหน้ ักเรียนรวมกล่มุ กันกลมุ่ ละ 7 คน หรือตามความเหมาะสม ให้เล่นเกมแข่งขันติดภาพ

ใต้ข้อความ การผลิต การบรโิ ภค กลุ่มใดติดเสร็จก่อนและถูกตอ้ ง กลุม่ นนั้ จะเป็นฝ่ายชนะ

2. ครใู หน้ ักเรียนกลุ่มทช่ี นะในการแข่งขนั ลำดับที่ 1-3 ร่วมกันอธิบายเพ่ือเช่อื มโยงความรู้กับ

หวั ข้อ การผลิต การบรโิ ภค พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ

3. ครูอธิบายความรใู้ ห้นกั เรียนเข้าใจว่า กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์จะเปน็ เรอื่ งเก่ียวกับการ

ผลิต การบริโภค การกระจายรายได้ และการแลกเปล่ยี น

4. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มมือกนั ศึกษาหาความรู้เรื่อง กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ จากหนังสือ

เรียน และหนังสอื อา่ นเพิ่มเตมิ และชว่ ยกนั ทำใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์

5. ครูและนกั เรยี นชว่ ยกันตรวจใบงานที่ 2.1 ตอนท่ี 1 จากนน้ั ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอ

ผลงานในใบงานที่ 2.1 ตอนท่ี 2 ดังน้ี

- กลุ่มที่ 1 นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 2 แสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ

- กล่มุ ที่ 2 นำเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 3 แสดงความคดิ เห็นเพ่มิ เตมิ

- กลุม่ ท่ี 3 นำเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 4 แสดงความคิดเห็นเพ่มิ เติม

- กลุ่มท่ี 4 นำเสนอผลงาน กล่มุ ที่ 5 แสดงความคดิ เห็นเพมิ่ เตมิ

- กลุ่มที่ 5 นำเสนอผลงาน กลุ่มท่ี 1 แสดงความคดิ เห็นเพิม่ เติม

6. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรุปความรเู้ กยี่ วกับกิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์ ครอู ธบิ ายความรู้

เพิม่ เตมิ เกย่ี วกบั เศรษฐศาสตรว์ ่าเปน็ เรื่องที่เก่ยี วข้องกับชวี ติ ประจำวนั ของทุกคนพรอ้ มยกตวั อยา่ ง

ประกอบ

7. ครูมอบหมายให้นักเรยี นทำช้ินงาน แผน่ พับ เรือ่ ง เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งต้น ให้ครอบคลมุ หวั ข้อ

ต่อไปน้ี

- ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

- ขอบข่ายและเปา้ หมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์

- ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์

- กิจกรรมทางดา้ นเศรษฐศาสตร์

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 7

8. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 9. สื่อ อปุ กรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้

9.1 สอ่ื การเรียนรู้ - หนงั สอื เรยี น เศรษฐศาสตร์ ม. 4- ม.6 - หนงั สอื ค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ⬧ นราทพิ ย์ ชุตวิ งศ์และชลดา จามรกุล. พ้นื ฐานเศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2541. ⬧ พอพันธ์ อุยยานนท์. พัฒนาการเศรษฐกจิ ไทยในประมวลสาระชดุ วิชาไทย ศกึ ษา หน่วยท่ี 3 สาขาวิชาศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบรุ ี : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2546. ⬧ รตั นา สายคณิต. การพฒั นาเศรษฐกจิ ในเอกสารการสอนชุดวิชาสงั คมศกึ ษา 3 : เศรษฐศาสตรส์ ำหรบั ครู หน่วยที่ 14 สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. ⬧ รตั นา สายคณิต และคณะ. พ้นื ฐานเศรษฐศาสตรม์ หภาค. กรงุ เทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2540. ⬧ วันรักษ์ มิง่ มณีนาคิน. หลกั เศรษฐศาสตรม์ หภาค. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 14. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550. - ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง ความสำคญั และเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์ - ใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง วเิ คราะหป์ ญั หาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ - ใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง กิจกรรมทางดา้ นเศรษฐศาสตร์

9.2 แหล่งการเรียนรู้ - หอ้ งสมดุ - แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ ⬧ http://www.mof.go.th ⬧ http://www.idis.ru.ac.th ⬧ http://www.mfa.go.th/business/1092.php ⬧ http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354

10. การวัดและการประเมนิ ผล 10.1 การประเมนิ ก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 10.2 การประเมนิ ระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ความสำคญั และเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์

ส 32103 สังคมศึกษา ม.5 8

- ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง วเิ คราะห์ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ - ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง กจิ กรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์ - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ 10.3 การประเมนิ หลงั เรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 10.4 การประเมินชนิ้ งานหรอื ภาระงาน - ประเมนิ แผน่ พับ เรื่อง เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 9

แบบประเมนิ ชนิ้ งานหรือภาระงาน แบบประเมินแผน่ พบั เร่อื ง เศรษฐศาสตร์เบ้อื งตน้

คำอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน

รายการประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

1. ความสำคญั ของ บรรยายความสำคัญ บรรยายความสำคญั บรรยายความสำคญั บรรยายความสำคญั

วิชาเศรษฐศาสตร์ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ของวชิ าเศรษฐศาสตร์

ไดอ้ ย่างมีเหตุผล ไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล

ถกู ตอ้ ง 4 ข้อข้ึนไป ถูกต้อง 3 ข้อ ถูกต้อง 2 ข้อ ถกู ต้อง 1 ข้อ

2. ขอบข่ายและ สรปุ ขอบขา่ ยและ สรปุ ขอบข่ายและ สรปุ ขอบข่ายและ สรุปขอบขา่ ยและ

เป้าหมายของ เป้าหมายของ เปา้ หมายของ เป้าหมายของ เป้าหมายของ

การศึกษาวิชา การศกึ ษาวชิ า การศกึ ษาวชิ า การศึกษาวชิ า การศึกษาวชิ า

เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตรไ์ ด้ เศรษฐศาสตร์ได้ เศรษฐศาสตร์ได้ เศรษฐศาสตร์ได้

ถกู ต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ค่อนข้าง ถูกต้องบางประเด็น ไมถ่ กู ต้อง

ชดั เจน เป็นสว่ นใหญ่

3. ปัญหาพน้ื ฐาน บรรยายปญั หา บรรยายปญั หา บรรยายปัญหา บรรยายปัญหา

ทางเศรษฐศาสตร์ พ้นื ฐานทาง พน้ื ฐานทาง พน้ื ฐานทาง พืน้ ฐานทาง

เศรษฐศาสตรพ์ ร้อม เศรษฐศาสตรพ์ รอ้ ม เศรษฐศาสตรพ์ รอ้ ม เศรษฐศาสตรไ์ ด้

ยกตัวอย่างได้ถูกต้อง ยกตวั อย่างไดถ้ ูกต้อง ยกตวั อย่างได้ถูกต้อง ถกู ตอ้ งบางปญั หา

ชัดเจน ค่อนขา้ งชดั เจน เปน็ บางตัวอย่าง

4. กจิ กรรมทางดา้ น อธิบายกิจกรรมทาง อธิบายกจิ กรรมทาง อธิบายกิจกรรมทาง อธิบายกจิ กรรมทาง

เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ได้ เศรษฐศาสตร์ได้ เศรษฐศาสตร์ได้ เศรษฐศาสตร์ได้

ถกู ตอ้ ง 4 ประเด็น ถูกต้อง 3 ประเด็น ถูกต้อง 2 ประเด็น ถูกตอ้ ง 1 ประเด็น

5. ความคิดรเิ ริ่ม ออกแบบแผ่นพับ ออกแบบแผน่ พับ ออกแบบแผน่ พับ ออกแบบแผ่นพับ

สรา้ งสรรค์ สวยงามแปลกใหม่ สวยงามเหมือนแบบ สวยงามเป็นบางส่วน ไม่สวยงาม

ทวั่ ไป

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5–8 ปรบั ปรงุ

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 10

แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชี้แจง : ให้กา  ทบั ตัวอกั ษรหนา้ ข้อความที่เป็นคำตอบที่ถกู ท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว

1. ข้อใดเป็นปัจจยั สำคัญที่ทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือต่อนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล

ก. รฐั บาลมีการประชาสมั พันธ์ดี ข. ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี

ค. ประชาชนมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ง. ผนู้ ำรัฐบาลมีความรทู้ างด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างดี

2. เศรษฐศาสตร์จลุ ภาคเปน็ การศึกษาเกยี่ วกบั เรอ่ื งใด

ก. รายได้และรายจ่ายประชาชาติ

ข. การจา้ งงาน การออม การลงทุน การเงนิ การคา้

ค. การศกึ ษาปญั หาต่างๆ ทกี่ ระทบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ

ง. การผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร การกำหนดราคาสนิ ค้า การกระจายสนิ ค้าจากผผู้ ลิตไปยงั ผู้บรโิ ภค

3. เศรษฐศาสตร์มหภาค เปน็ การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด

ก. อทิ ธิพลของปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ รายไดป้ ระชาชน

ข. การกระจายสินค้าไปยังผ้บู รโิ ภคในแต่ละพน้ื ท่ี

ค. การจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสนิ คา้ และบริการ

ง. การศึกษาในเร่ืองราคาสนิ ค้า การบริโภคสนิ ค้า ความสมั พันธ์ระหว่างองคก์ รผูผ้ ลติ

4. วชิ าเศรษฐศาสตรม์ ีเป้าหมายสำคญั ในการให้ความรตู้ ่อประชาชนในข้อใด

ก. เพอ่ื ให้รู้จักเลือกใชส้ นิ ค้าราคาถกู ท่สี ุด เพ่ือเป็นการลดภาระคา่ ใชจ้ ่าย

ข. เพ่อื ใหร้ ูจ้ ักเลอื กใช้สินคา้ ให้เกิดประโยชนต์ ่อตนเองและครอบครวั มากท่ีสุด

ค. เพื่อใหร้ ู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงิน และการเลือกใช้สินคา้ ที่มีอยู่อย่างพอเพียง

ง. เพ่ือให้รู้จกั การตัดสนิ ใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มอี ยู่อยา่ งจำกัดในการบริโภคและใช้ในทางท่ีดีท่ีสุด

5. ประเทศตา่ งๆ ประสบปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ คล้ายคลงึ กันอย่างไร

ก. แรงงาน และตน้ ทุนการผลิตคอ่ นข้างสงู ทำให้มกี ำไรต่ำมาก

ข. ทรพั ยากรของประเทศแต่ละประเทศลดนอ้ ยลงไปจากเดมิ มาก

ค. ความไมพ่ อดีกนั ระหว่างความต้องการของมนษุ ย์ และส่ิงทีจ่ ะมาตอบสนองความต้องการ

ง. การหาตลาดส่งออกสินค้าทีผ่ ลิตไดน้ ้อยเนอื่ งจากมคี ู่แขง่ ในการผลิตสินค้าจำนวนมากข้นึ กวา่ เดมิ

6. ขอ้ ใดจัดเป็นปจั จยั ในการผลติ

ก. ผปู้ ระกอบการ ทีด่ ิน แรงงาน การบรกิ าร ข. แรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ค่าเช่า

ค. ท่ดี นิ แรงงาน ทนุ ผู้ประกอบการ ง. ทุน เคร่ืองจักร ทรพั ยากร ท่ีดิน

7. การใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ ของและบริการ เพื่อสนองความตอ้ งการของมนษุ ยส์ อดคลอ้ งกบั ข้อใด

ก. ผผู้ ลติ ข. ผ้บู รโิ ภค

ค. ปัจจยั พ้ืนฐาน ง. ผปู้ ระกอบการ

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 11

8. ผูบ้ ริโภคจะเลือกซือ้ สนิ ค้า โดยคำนึงเรือ่ งใดมากทส่ี ดุ

ก. สินค้าราคาถูกแต่มีคณุ ภาพดี

ข. คุณภาพของสินค้าทไี่ ด้มาตรฐานและราคาต่ำ

ค. รายไดท้ ่ีมีอยู่อยา่ งจำกัด และความเหมาะสมของราคาสินคา้

ง. ความพอใจสูงสุดภายใต้รายได้และทรพั ยากรที่มอี ยอู่ ย่างจำกดั

9. ข้อใดจัดเปน็ การกระจายรายได้ตามหนา้ ท่ีในการผลิต

ก. ที่ดิน แรงงาน กำไร ค่าจ้าง ข. คา่ เช่า ค่าจา้ ง ดอกเบ้ยี กำไร

ค. ทนุ ค่าเช่า ดอกเบ้ยี แรงงาน ง. ต้นทนุ กำไร ดอกเบยี้ แรงงาน

10. ผู้ผลติ สนิ ค้าจะมกี ำไรสงู ข้ึนดว้ ยวธิ กี ารหลายอยา่ ง ยกเว้น ข้อใด

ก. มีการประชาสัมพนั ธ์สินคา้ และบรกิ ารไดม้ ากกวา่ ผผู้ ลิตรายอืน่

ข. ผลิตสินค้าตรงตามความตอ้ งการและรสนยิ มของผู้บริโภค

ค. มีการกระจายสินคา้ สผู่ ู้บริโภคไดม้ ากท่สี ุด

ง. องค์กรของรัฐสนับสนุนสินค้าและบรกิ าร

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1

ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉลย ค ง ก ง ค ค ข ง ข ง

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 12

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1

เร่ือง ความสำคัญและเป้าหมายของเศรษฐศาสตร์ เวลาเรยี น 2 ชวั่ โมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง เศรษฐศาสตร์เบือ้ งตน้ เวลาเรยี น 5 ชว่ั โมง

รหัสวชิ า ส 32103 ชือ่ วิชา สังคมศึกษา จำนวน 1 หนว่ ยกติ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ครูผ้สู อน นางสาวรชนีกร จนั ทรพ์ ทิ ักษ์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นกมุ ภวาปี

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภค

การใช้ทรัพยากรท่มี อี ยจู่ ำกดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและคุ้มคา่ รวมทั้ง

เข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื การดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ

2. ตวั ชว้ี ัด

ม.4-6/1 อภิปรายการกำหนดราคาและคา่ จ้างในระบบเศรษฐกจิ

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การศกึ ษาขอบข่าย เป้าหมาย ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ จดั เปน็

ข้อมลู พนื้ ฐานของเศรษฐศาสตร์

4. สาระการเรียนรู้

4.1 ความหมาย ความสำคญั ของวิชาเศรษฐศาสตร์

4.2. ขอบขา่ ยและเปา้ หมายของการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตร์

4.3 ปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐศาสตร์

5. สมรรถนะสำคญั

5.1 ความสามารถในการคดิ

- ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์

- ทักษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ

5.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

- กระบวนการทำงานกลมุ่

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 13

6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 ใฝ่เรยี นรู้ 6.2 ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

7. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 7.1 อธิบายความหมาย ความสำคญั ของวิชาเศรษฐศาสตรไ์ ด้ 7.2 อธบิ ายขอบข่าย เปา้ หมายของการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตร์ได้ 7.3 อธิบายปญั หาพ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วิธสี อนแบบบรรยาย วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมอื : เทคนคิ การ เรียนรู้รว่ มกนั (Learning Together)

8.1 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 8.2 ให้นักเรยี นเล่าพฤติกรรมของตนเองในชวี ิตประจำวนั ที่เกยี่ วขอ้ งกับเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงนักเรียน สามารถตอบได้หลากหลาย เช่น การซ้อื ส่ิงของเครอื่ งใช้สว่ นตัว อาหารการกนิ เครื่องใชภ้ ายในบ้าน อุปกรณ์ การเรียน ยารักษาโรค การเดนิ ทางดว้ ยรถยนต์ รถไฟ จักรยานยนต์ จักรยาน 8.3 ครอู ธิบายเช่ือมโยงให้นักเรียนเหน็ ว่า เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวนั ของ ทกุ คน ไม่วา่ จะเปน็ วยั เด็ก วยั นักเรียน วยั ทำงานกต็ ้องรจู้ ักตัดสินใจในการบริโภคอย่างถูกต้อง ให้เกิดความ พอใจและเกิดประโยชน์มากที่สดุ ครแู ละนกั เรียนช่วยกันสรุปความหมายของเศรษฐศาสตร์ 8.4 ครูอธิบายและยกตวั อย่างประกอบ ใหน้ ักเรยี นเห็นความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ เชน่

- ชว่ ยในการตัดสนิ ใจของประชาชน - ชว่ ยสรา้ งความเข้าใจใหก้ ับประชาชนเก่ียวกับนโยบายของรัฐ - ช่วยสร้างองคค์ วามรใู้ นการบริหารงาน - ช่วยสรา้ งประโยชนใ์ ห้เกดิ กบั ประเทศชาติ 8.5 ครูแบ่งนักเรียนเป็นกล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คอื เกง่ ปานกลาง (คอ่ นขา้ งเก่ง) ปานกลาง (คอ่ นข้างออ่ น) และออ่ น 8.6 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาความร้รู ่วมกนั เรื่อง ความสำคญั และเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์ จากหนงั สือเรยี น

  1. ความหมาย และความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์
  2. ขอบขา่ ยของการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์

- จำแนกตามเนือ้ หาของวิชาเศรษฐศาสตร์ - จำแนกตามการวเิ คราะหป์ ัญหา

  1. เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
  2. ปญั หาพ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตร์ 8.7 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มมอื กนั ทำใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ความสำคัญและเปา้ หมายของ เศรษฐศาสตร์ โดยแบง่ หนา้ ที่กัน ดังนี้

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 14

- สมาชิกคนที่ 1 มีหน้าท่ีอ่านคำสัง่ คำถาม แยกแยะประเดน็ ให้ชดั เจน - สมาชิกคนท่ี 2 ฟังข้นั ตอน รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคำถาม - สมาชกิ คนที่ 3 ตอบคำถามในใบงาน - สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง 8.8 สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุม่ หมุนเวียนเปลยี่ นหนา้ ที่กนั ในการตอบคำถามในแตล่ ะขอ้ จนครบ 8 ข้อ สว่ นในข้อทีเ่ กา้ นั้นให้ทกุ คนชว่ ยกันตอบ 8.9 ครูสนทนากบั นกั เรยี นถงึ ความก้าวหนา้ ในการทำใบงานของแต่ละกลุ่ม สมาชิกกลุม่ ใดสงสัยเร่ือง ใดครจู ะชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมจนมีความเขา้ ใจกระจ่างชัด 8.10 นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ผลัดกันเฉลยคำตอบจากใบงาน กลุ่มละ 1 ขอ้ โดยใหก้ ลุม่ อ่ืนที่มีผลงาน แตกต่างออกไปไดน้ ำเสนอเพม่ิ เติม ครูเป็นผู้ตรวจสอบความถกู ต้อง 8.11 นักเรยี นกลมุ่ เดมิ รว่ มมอื กนั ทำใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง วิเคราะหป์ ญั หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ 8.12 ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั เฉลยคำตอบในใบงานท่ี 1.2 โดยครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ และเชือ่ มโยงให้ นกั เรยี นเขา้ ใจว่า การวิเคราะห์ขอ้ ความในใบงานท่ี 1.2 นั้น แสดงให้เหน็ ถึงปัญหาพ้นื ฐานทาง เศรษฐศาสตร์ ซึง่ ประกอบด้วย ผลติ สินค้าอะไร จะผลิตอยา่ งไร จะผลิตเพอ่ื ใคร 8.13 ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ ความหมาย ความสำคญั ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบข่าย เปา้ หมาย ของการศกึ ษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐศาสตร์ 9. สื่อ อปุ กรณ์ เเละแหลง่ เรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้

  1. หนงั สอื เรียน เศรษฐศาสตร์ ม.4-6
  2. หนังสอื คน้ คว้าเพิ่มเตมิ

(1) นราทิพย์ ชตุ ิวงศแ์ ละชลดา จามรกุล. พ้นื ฐานเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2541.

(2) พอพนั ธ์ อยุ ยานนท.์ พฒั นาการเศรษฐกจิ ไทยในประมวลสาระชดุ วิชาไทยศึกษาหนว่ ยท่ี 3 สาขาวชิ าศลิ ปะศาสตร มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. นนทบรุ ี : โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, 2546.

(3) รัตนา สายคณิต. การพฒั นาเศรษฐกิจในเอกสารการสอนชุดวิชาสังคมศกึ ษา 3 : เศรษฐศาสตรส์ ำหรับครู หนว่ ยที่ 14 สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบรุ ี : โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช , 2546.

(4) รตั นา สายคณิต และคณะ. พน้ื ฐานเศรษฐศาสตรม์ หภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2540.

ส 32103 สังคมศึกษา ม.5 15

(5) วันรกั ษ์ มิ่งมณนี าคนิ . หลกั เศรษฐศาสตร์มหภาค. พมิ พ์คร้ังที่ 14.

กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.

  1. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ความสำคัญและเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์
  1. ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง วเิ คราะห์ปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ

9.2 แหล่งการเรยี นรู้

  1. ห้องสมุด
  1. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ

http://www.mof.go.th

http://www.mfa.go.th/business/1092.php

http://www.idis.ru.ac.th

http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354

10. การวัดและการประเมนิ ผล

วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์

ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานท่ี 1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจใบงานท่ี 1.2 ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

11. บนั ทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 11.1 ผลการเรียนรู้ 11.1.1 นกั เรียนที่ผา่ นตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ มจี ำนวน............................................คน คิดเป็นร้อยละ............................................. 11.1.2 นักเรียนท่ีไม่ผา่ นตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ มีจำนวน............................................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ............................................. คือ............................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... พฤตกิ รรมการเรียนร.ู้ .................................................................................................. .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 11.1.3 นกั เรียนที่มคี วามสามารถพิเศษ คือ .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

ส 32103 สังคมศึกษา ม.5 16

แนวทางการสง่ เสรมิ .................................................................................................... .................................................................................................................................... 11.1.4 นักเรียนไดร้ ับความรู้ .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 11.1.5 นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการ .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 11.1.6 นักเรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 11.2 ปญั หาและอุปสรรค ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 11.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

ลงช่ือ.......................................................ผสู้ อน (นางสาวรชนีกร จันทรพ์ ิทกั ษ์)

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ วนั ที่........... เดอื น.........................พ.ศ. ..............

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 17

12. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

ลงช่อื ......................................................... ()

ตำแหน่ง........................................................ วนั ที.่ .......... เดือน......................... พ.ศ. ..............

13. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา/ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

ลงชือ่ ................................................................... ()

ตำแหน่ง................................................................ วันท่ี........... เดือน......................... พ.ศ. ..............

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 18

ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ความสำคัญและเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์

คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้

1. วิชาเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… มคี วามสำคญั อย่างไร ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

2. การศึกษาเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… จุลภาคจะทำให้รู้ ………………………………..………………………………..………………… เรือ่ งราวเกีย่ วกบั อะไร ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

3. การศึกษาเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… มหภาคจะทำให้รู้ ………………………………..………………………………..………………… เร่อื งราวเกี่ยวกบั อะไร ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 19

4. การศึกษาเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… จุลภาคกับเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… มหภาคทำใหไ้ ดร้ บั ความรู้ ………………………………..………………………………..………………… แตกต่างกันอยา่ งไร ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… 5. เศรษฐศาสตร์ตามความ ………………………………..………………………………..………………… เปน็ จรงิ หรือเศรษฐศาสตร์ ………………………………..………………………………..………………… พรรณนาน้ันเป็นการมุ่งอธิบาย ในเรือ่ งใด ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… 6. เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเปน็ หรอื ………………………………..………………………………..………………… เศรษฐศาสตร์นโยบายเป็นการ ………………………………..………………………………..………………… มงุ่ กล่าวในเร่ืองใด ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 20

7. เป้าหมายสำคัญของวชิ า ………………………………..………………………………..………………… เศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้น ใหค้ วามรู้ ………………………………..………………………………..………………… แกผ่ ู้บรโิ ภคเพอ่ื ใหเ้ กิดผลอย่างไร ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… 8. เป้าหมายสำคญั ของวิชา ………………………………..………………………………..………………… เศรษฐศาสตร์ ม่งุ เน้นใหค้ วามรู้ ………………………………..………………………………..………………… แก่ผู้ประกอบการผลติ เพ่ือให้ ………………………………..………………………………..………………… เกิดผลอย่างไร ………………………………..………………………………..………………… 9. เป้าหมายสำคญั ของวชิ า ………………………………..………………………………..………………… เศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้นให้ความรู้ ………………………………..………………………………..………………… แก่ผูบ้ ริหารในองคก์ รของรฐั ………………………………..………………………………..………………… เพื่อผลสำคัญในเร่อื งใด ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..………………… ………………………………..………………………………..…………………

ส 32103 สังคมศึกษา ม.5 21

เฉลยใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญและเป้าหมายของเศรษฐศาสตร์

คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. วิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ช่วยในการตดั สนิ ใจของประชาชน มีความสำคัญอย่างไร 2. ช่วยสร้างความเขา้ ใจให้กบั ประชาชนเก่ยี วกับนโยบาย ของรัฐ 3. ช่วยสร้างองค์ความร้ใู นการบรหิ ารงาน 4. ชว่ ยสร้างผลประโยชน์ใหเ้ กดิ กบั ประเทศชาติ

2. การศึกษาเศรษฐศาสตร์ การศกึ ษาเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาคจะทำให้ร้ถู งึ พฤตกิ รรมทาง จุลภาคจะทำให้รู้เร่อื งราว เศรษฐกจิ ในส่วนย่อยซึง่ เป็นส่วนหนง่ึ ของระบบเศรษฐกจิ เก่ียวกบั อะไร ท้ังระบบเกี่ยวกบั การบริโภค การเปน็ เจา้ ของทรัพย์สนิ และพฤตกิ รรมขององค์กรธรุ กจิ หรอื ผู้ผลิต การจัดสรร ทรพั ยากรในการผลติ สนิ ค้าและบริการ การกำหนดราคา สนิ คา้ การกระจายสนิ ค้าจากผู้ผลิตไปยังผบู้ ริโภค

3. การศกึ ษาเศรษฐศาสตร์มหภาค จะทำใหร้ ู้ถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจสว่ นรวมเกี่ยวกบั เรือ่ ง จะทำใหร้ ูเ้ รือ่ งราวเก่ยี วกบั รายได้และรายจ่ายประชาชาติ การจ้างงาน การออม อะไร การลงทุน การเงนิ การคา้ กับต่างประเทศ และการ พฒั นาเศรษฐกิจ

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 22

4. การศึกษาเศรษฐศาสตร์ การศึกษาเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค จะทำให้รพู้ ฤตกิ รรมทาง จุลภาคกับเศรษฐศาสตร์ เศรษฐกจิ ในสว่ นยอ่ ยรู้ปัญหาทีก่ ระทบถึงเฉพาะบคุ คล มหภาคทำให้ไดร้ ับความรู้ หรือหนว่ ยธรุ กจิ แห่งใดแหง่ หนึ่ง แต่การศกึ ษา แตกต่างกันอย่างไร เศรษฐศาสตร์มหภาคทำให้รู้ปญั หาต่างๆ ในวงกวา้ ง เปน็ การศึกษาปัญหาทกี่ ระทบถึงหน่วยผลิต และอตุ สาหกรรมทง้ั หมด รวมทัง้ อิทธพิ ลของปัจจยั ทม่ี ี ผลต่อรายได้ประชาชน

5. เศรษฐศาสตร์ตามความเปน็ จรงิ ม่งุ อธิบายเร่ืองที่เกิดขนึ้ เรอื่ งทีเ่ ปน็ อยู่ และเรือ่ งทีจ่ ะ หรอื เศรษฐศาสตรพ์ รรณนานนั้ เกิดขน้ึ ว่าเป็นอยา่ งไร จากผลทีบ่ ุคคลหรอื สังคมตัดสินใจ เปน็ การมงุ่ อธบิ ายในเรือ่ งใด เลือกกระทำการอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ลงไป

การม่งุ กล่าวถงึ สิ่งท่คี วรจะมหี รือควรจะเป็นโดยอาจจะ เกดิ ข้ึนหรือไมเ่ ป็นไปตามที่คาดหมายไว้กไ็ ด้

6. เศรษฐศาสตร์ทคี่ วรจะเป็นหรือ เศรษฐศาสตร์นโยบายเปน็ การ ม่งุ กล่าวในเรอ่ื งใด

ส 32103 สังคมศกึ ษา ม.5 23

7. เป้าหมายสำคัญของวิชา ผบู้ รโิ ภคร้จู ักการตดั สินใจเลอื กใช้ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่อย่าง เศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้นใหค้ วามรู้ จำกดั ในการบริโภคและใชใ้ นทางที่ดีที่สุด เข้าใจ แก่ผ้บู ริโภคเพือ่ ให้เกดิ ผล สถานการณท์ างเศรษฐกจิ และสามารถปรับตวั ไดภ้ ายใต้ ความผันผวนทางเศรษฐกิจ อยา่ งไร สามารถวางแผนการผลิต การพยากรณ์การผลิต เพื่อ 8. เปา้ หมายสำคัญของวชิ า สนองความต้องการของผูบ้ ริโภคได้อย่างถกู ตอ้ ง สามารถ เศรษฐศาสตร์ มงุ่ เนน้ ใหค้ วามรู้ ประยุกตใ์ ช้ปัจจยั การผลิตใหต้ น้ ทนุ การผลิตต่ำที่สุด แก่ผู้ประกอบการผลิตเพ่อื ให้ แข่งขนั กับธุรกิจอน่ื เกิดผลอย่างไร

9. เปา้ หมายสำคัญของวชิ า ผู้บรหิ ารในองคก์ รของรัฐเขา้ ใจเร่อื งการจดั สรรทรัพยากร เศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้นใหค้ วามรู้ อยา่ งเหมาะสม สามารถวางนโยบายเพอ่ื สร้างความ แก่ผบู้ รหิ ารในองค์กรของรฐั เพ่ือ เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ รู้จักใชน้ โยบายและมาตรการ ผลสำคญั ในเรื่องใด ตา่ งๆ เพื่อแกป้ ญั หาทางเศรษฐกจิ การสร้างโครงการ เพอื่ พัฒนาเศรษฐกจิ ให้สามารถแข่งขันกบั ต่างประเทศได้

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 24

ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง วเิ คราะหป์ ญั หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ชุดที่ 1

คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นอ่านข้อความ เรอ่ื ง อตุ สาหกรรมส่ิงทอและเครอ่ื งน่งุ หม่ แลว้ ตอบคำถาม

อตุ สาหกรรมส่งิ ทอและเคร่ืองนงุ่ ห่ม

อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเคร่ืองนุง่ หม่ เป็นอตุ สาหกรรมทม่ี ีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยเป็น อย่างมาก อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ท่กี ารค้าโลกมีการแขง่ ขันกันมากขน้ึ สินคา้ สงิ่ ทอและเครอื่ งนงุ่ หม่ ของโลกจะเขา้ สู่การค้าเสรี ดงั นนั้ เพ่ือเป็นการเตรยี มความพร้อมรองรับการเปิดตลาดเสรสี ิง่ ทอและใหก้ าร สง่ ออกสง่ิ ทอของไทยสามารถขยายตัวและเพม่ิ สมรรถนะขีดความสามารถให้กบั อุตสาหกรรมสง่ิ ทอและ เคร่ืองนุ่งหม่ ไทย จำเปน็ จะต้องพัฒนาประสิทธิภาพ รูปแบบและชนดิ ของสนิ ค้าสิง่ ทอและเคร่อื งนงุ่ ห่ม โดยหน่วยงานของรฐั และภาคเอกชนจะต้องรว่ มมอื กันท้ังในสว่ นของการแกไ้ ขปญั หา การเรง่ การพฒั นา เชงิ รกุ เพือ่ สามารถสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั อุตสาหกรรมใหส้ ามารถแข่งขนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพต่อไป

การผลิต 1.1 โครงสรา้ งการผลิต อุตสาหกรรมสงิ่ ทอและเครื่องนุ่งห่ม ประกอบด้วย 3 กลุม่ ใหญ่ คอื

  1. อตุ สาหกรรมต้นนำ้ ได้แก่ อตุ สาหกรรมเส้นใยและอุตสาหกรรมป่นั ด้าย
  2. อตุ สาหกรรมกลางนำ้ ไดแ้ ก่ อตุ สาหกรรมทอผ้า อตุ สาหกรรมถกั ผา้ อุตสาหกรรมฟอก

ยอ้ มพิมพ์และแต่งสำเรจ็

  1. อุตสาหกรรมปลายนำ้ ได้แก่ อุตสาหกรรมเสือ้ ผ้าสำเรจ็ รปู และอตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑ์สิง่

ทอสำเรจ็ รปู อื่นๆ

มลู คา่ การสง่ ออก อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเครื่องน่งุ หม่ มมี ลู ค่าการสง่ ออกสงู เปน็ อันดับตน้ ๆ ของสนิ คา้

อุตสาหกรรมที่ส่งออก โดยทเ่ี สอื้ ผ้าสำเร็จรูป มมี ูลคา่ การสง่ ออกคดิ เป็นร้อยละ 60 ของการสง่ ออก อตุ สาหกรรมส่ิงทอและเคร่อื งนุ่งหม่ ทั้งหมด ทั้งน้ี ลกั ษณะของเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ส่งออกจะมที ง้ั เส้อื ผ้า ตลาดระดบั ลา่ งและตลาดระดับบน ซึง่ ส่วนใหญเ่ ป็นการรับจ้างผลิตใหก้ ับยีห่ ้อดงั ของโลก

ตลาดสำคัญของสนิ คา้ สิ่งทอและเคร่ืองนุ่งห่มไทย คือ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ญี่ปุน่ สหราช อาณาจกั ร และฮ่องกง

ส 32103 สงั คมศกึ ษา ม.5 25

เรยี บเรยี งจาก

http://ee.de.de.go.th/knowledge/ContentLeve13.aspx?gt=1000000&abs2=102000 0&mid=1020002

http://www.oie.go.th/industrystatus2/18.doc

1. ข้อมูลดงั กล่าวแสดงถงึ การผลติ สินค้าอะไร

....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

2. จะผลิตอย่างไร จึงจะทำให้เสียต้นทุนการผลติ ต่ำ

....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

3. การผลิตสินค้าดงั กล่าวนน้ั ผลติ เพือ่ ใคร

....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

4. นกเรียนคิดว่า ปญั หาพน้ื ฐานทจ่ี ะเกดิ ข้นึ จากการผลติ ดังกลา่ วน้ัน จะเกิดปัญหาต่างๆ กับสังคมอย่างไร