ใบ งานที่ 1 เรื่อง การวางแผน เป้าหมาย ชีวิต เฉลย

ใบความรู้ หน่วยท่ี 1

ชอ่ื หน่วย การวางแผนเป้าหมายชีวติ ดว้ ยวงจร สอนคร้ังท่ี 1
ควบคุมคุณภาพ ชว่ั โมงรวม 3

ช่ือเร่ือง การวางแผนเป้าหมายชวี ิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ จำนวน 3 ชม.

1.สาระสาคัญ

การวางแผนเป้ าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ ทาให้แตล่ ะบุคคลมีการวางแผนท่ีดีใหก้ บั

ตนเอง และช่วยป้ องกนั ปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนไดใ้ นชีวติ รวมท้งั ช่วยลดความสับสนในการทางาน ลดการใช้
ทรัพยากรใหม้ ีความพอดี และลดความสูญเสียในรูปแบบต่างๆ สามารถทาใหก้ ารทางานมีการตรวจสอบเป็น

ระยะ ส่งผลใหก้ ารปฏิบตั ิงานมีความรัดกมุ และรอบคอบ อีกท้งั ยงั มีแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ ง

รวดเร็ว

2.สมรรถนะประจาหน่วย

1.แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การวางแผนเป้ าหมายชีวิตดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ ธุรกิจและการเป็น

ผปู้ ระกอบการ การวางแผนและการจดั การทางการเงิน หลกั การบริหารงานคุณภาพและเพม่ิ ผลผลิตเบ้ืองตน้
และกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2.จดั ทาแผนธุรกิจอยา่ งง่าย

3.ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการวางแผนและดาเนินงาน

4.ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตในการวางแผนและดาเนินงาน
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1ด้านความรู้

1.แสดงความรู้เก่ียวกบั การวางแผนดว้ ยวงจรการควบคุมคุณภาพ

2.แสดงความรู้เก่ียวกบั การนา PDCA ไปใช้

3.แสดงความรู้เกี่ยวกบั การวางแผนเป้ าหมายชีวิต

4.แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลกั การวางแผนเป้ าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ

3.2ด้านทกั ษะ

-

3.3คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ทตี่ ้องการให้เกดิ
1มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง

2ความมีมนุษยสัมพนั ธ์3 ความมีวนิ ยั

4 ความรับผดิ ชอบ5 ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต6 ความสนใจใฝ่ รู้

กรอบกำรจดั กำรเรยี นรู้แบบบูรณำกำรเปน็ เร่ือง/ชน้ิ งำน/โครงกำร
และบรู ณำกำรหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ กจิ กรรมนักเรียน

พอเพยี ง

ความพอประมาณ 1ความรู้เกี่ยวกบั การวางแผนดว้ ยวงจรการควบคุมคุณภาพ

2. …………………………………………….

3. …………………………………………….

ความมีเหตุผล 1การวางแผนเป้ าหมายชีวติ

2. …………………………………………….

3. …………………………………………….

การมีภูมคิ ุ้มกนั 1วางแผนเป้ าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ

2. …………………………………………….

3. …………………………………………….

เง่ือนไขด้านความรู้และทกั ษะ 1ต้งั เป้ าหมายในการเรียน

2วางแผนการเรียนและชีวติ การทางาน

3. …………………………………………….

เง่ือนไขด้านคุณธรรม 1.ความซื่อสตั ยส์ ุจริต

2มีวนิ ยั

3. …………………………………………….

ผลกระทบเพอื่ ความสมดุล พร้อมรับการเปลยี่ นแปลง

ด้านสังคม ด้านเศรษฐกจิ ด้านวฒั นธรรม ด้านส่ิงแวดล้อม

ความรู้ วางแผนการทางาน การใชจ้ า่ ยเงินอยา่ งรู้ มีวนิ ยั ใชท้ รัพยากรอยา่ งรู้

คุณค่า คุณค่า

ทกั ษะ วางแผนชีวิตดว้ ย การประหยดั อด ตดั สินใจอยา่ ง มีเป้ าหมายในการ

pdca ออม ถูกตอ้ ง รอบคอบ เรียน

พฤติกรรม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความ มีเงินเหลือเกบ็ มีความปลอดภยั ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น

ไม่ประมาท ได้

ใบความรู้ หน่วยท่ี 1
สอนคร้งั ที่ 1
ชอ่ื หน่วย การวางแผนเปา้ หมายชวี ติ ด้วยวงจร ชั่วโมงรวม 3
ควบคุมคุณภาพ จำนวน 3 ชม.

ชื่อเร่อื ง การวางแผนเป้าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคณุ ภาพ

4.เนือ้ หาสาระการเรียนรู้
1.การวางแผนดว้ ยวงจรการควบคุมคุณภาพ
2.การนา PDCA ไปใช้
3.การวางแผนเป้ าหมายชีวติ
4.การวางแผนเป้ าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพ

การวางแผนด้วยวงจรการควบคุมคุณภาพ

PDCA คือ วงจรการควบคุมคุณภาพ หรือ วงจรเดมิ่ง ประกอบดว้ ย

P=Plan คือ การวางแผนงานจากวตั ถุประสงค์ และเป้ าหมายท่ีไดก้ าหนดข้ึน
D=Do คือ การปฏิบตั ิตามข้นั ตอนในแผนงานท่ีเขียนไวอ้ ยา่ งเป็ นระบบและมีความต่อเน่ือง
C=Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานแต่ล่ะข้นั ตอนของแผนงานวา่ มีปัญหาอะไร

เกิดข้ึน จาเป็นตอ้ งเปลี่ยนแปลงแกไ้ ขแผนงานในข้นั ตอนใด
A=Action คือ การปรับปรุงแกไ้ ขส่วนท่ีมีปัญหา หรือถา้ ไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนว
ทางการปฏิบตั ิตามแผนงานท่ีไดผ้ ลสาเร็จ เพื่อนาไปใชใ้ นการทางานคร้ังต่อไป
6.ครูแสดงความรู้เกี่ยวกบั การนา PDCA ไปใช้ โดยวงจรการควบคุมคุณภาพสามารถนามาใชใ้ นการ
ดาเนินชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จได้ ดงั น้ี
6.1 การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนชีวติ โดยจะตอ้ งทราบวา่ ตนเองน้นั อยากทาอะไร ตอ้ งการ
อะไร แลว้ จึงต้งั เป้ าหมาย และวธิ ีการในการดาเนินชีวติ ใหช้ ดั เจนซ่ึงเป้ าหมายของชีวติ แต่ละคนจะมีความ
แตกตา่ งกนั ออกไป ท้งั น้ี การวางแผนครอบคลุมถึงการกาหนดเรื่องท่ีตอ้ งการปรับปรุงเปล่ียนแปลง ซ่ึง
รวมถึงการพฒั นาส่ิงใหมๆ่ การแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบตั ิงาน ฯลฯ พร้อมกบั พจิ ารณาวา่ มีความ
จาเป็นตอ้ งใชข้ อ้ มลู ใดบา้ งเพ่ือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงน้นั โดยระบุวธิ ีการเกบ็ ขอ้ มลู ใหช้ ดั เจน จะตอ้ ง
วเิ คราะห์ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ แลว้ กาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การวางแผนช่วยให้
คาดการณ์ส่ิงที่เกิดข้ึนในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียตา่ ง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนได้ ซ่ึงช่วยใหร้ ับรู้สภาพ
ปัจจุบนั พร้อมกบั กาหนดสภาพท่ีตอ้ งการให้เกิดข้ึนในอนาคต ดว้ ยการผสานประสบการณ์ ความรู้และ
ทกั ษะโดยการวางแผนมีดงั น้ี
1.1 การวางแผนเพอ่ื อนาคต เป็นการวางแผนสาหรับส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตหรือกาลงั จะเกิดข้ึน บาง
สิ่งบางอยา่ งกไ็ มส่ ามารถควบคุมได้ แต่เพื่อเป็ นการเตรียมความพร้อมไวล้ ่วงหนา้
1.2 การวางแผนเพื่อการปรับปรุงเปล่ียนแปลง เป็นการวางแผนเพื่อเปล่ียนแปลงสภาพท่ีเกิดข้ึนใน
ปัจจุบนั เพ่ือสภาพท่ีดีข้ึน ซ่ึงสามารถควบคุมผลที่เกิดข้ึนไดด้ ว้ ยการเร่ิมตน้ เปล่ียนแปลงต้งั แตป่ ัจจุบนั
ลำดับขนั้ ในกระบวนกำรวำงแผนประกอบด้วย

1. การกาหนดวตั ถุประสงค์
2. พฒั นาขอ้ ตกลงท่ีเป็นตวั กาหนดขอบเขตในการวางแผน
3. พจิ ารณาขอ้ จากดั ต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนในการวางแผน
4. พฒั นาทางเลือก
5. ประเมินทางเลือก เพอื่ เลือกส่ิงท่ีเป็นไปไดส้ ูงสุด
6. เปล่ียนแปลงแผนสู่การปฏิบตั ิ
การวางแผนที่ดี เพ่ือใหผ้ เู้ รียนนาไปประกอบธุรกิจ ดงั น้ี

-ผเู้ รียนบอกประโยชนข์ องการวางแผน ซ่ึงการวางแผนงานจะช่วยทาใหม้ ีการเตรียมความพร้อมเม่ือ
ไดป้ ฏิบตั ิงานจริง ดงั น้ี

1) การศึกษา เป็นการวางแผนศึกษาขอ้ มลู วธิ ีการในการประกอบอาชีพธุรกิจ เช่น ความตอ้ งการของ
ตลาด ขอ้ มลู วตั ถุดิบ ขอ้ มูลทรัพยากรท่ีมีอยหู่ รือเงินทุน

2) การเตรียมงาน เป็นการวางแผนการเตรียมงานดา้ นสถานท่ี การออกแบบผลิตภณั ฑ์ ความพร้อม
ของบุคลากร อุปกรณ์ เคร่ืองจกั ร วตั ถุดิบ

3) การดาเนินงาน เป็นการวางแนวทางการปฏิบตั ิงานของแตล่ ะฝ่ าย เช่น ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายผลิต ฝ่ าย
การเงินและบญั ชี เป็นตน้

4) การประเมินผล เป็นการวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงานอยา่ งเป็นระบบ เช่น
ประเมินจากยอดจาหน่าย ประเมินจากการสารวจความคิดเห็นของลูกคา้ เป็นตน้

6.2 การปฏิบตั ิตามแผน (DO) คือ การทาตามแผนท่ีไดต้ ้งั เป้ าหมายไวด้ ว้ ยความต้งั ใจมุง่ มนั่ พยายาม
ท้งั น้ี การปฏิบตั ิเป็ นการลงมือปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามทางเลือกที่ไดก้ าหนดไวใ้ นข้นั ตอนการวางแผน ซ่ึง
ตอ้ งตรวจสอบระหวา่ งการปฏิบตั ิน้นั วา่ ไดด้ าเนินไปในทิศทางท่ีต้งั ใจหรือไม่ พร้อมกบั สื่อสารใหผ้ ทู้ ่ี
เกี่ยวขอ้ งทราบ และติดตามการปฏิบตั ิน้นั อยา่ งสม่าเสมอ เพอ่ื ศึกษาถึงความเป็นไปไดแ้ ละหาแนวทางแกไ้ ข
ปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดใ้ นระหวา่ งการปฏิบตั ิ เพอ่ื จะมน่ั ใจไดว้ า่ การปฏิบตั ิตามแผนที่วางไวน้ ้นั เกิดความ
ผดิ พลาดนอ้ ยท่ีสุด

-ผเู้ รียนบอกประโยชนข์ องการปฏิบตั ิตามแผน ช่วยใหท้ ราบข้นั ตอน วธิ ีการและสามารถเตรียมงานได้
ล่วงหนา้ ดงั น้นั การปฏิบตั ิงานกจ็ ะเป็นไปตามเป้ าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยไมม่ ีปัญหาหรืออุปสรรคเกิดข้ึน

6.3 การตรวจสอบ (Check) คือ การประเมินเป้ าหมายชีวติ ท่ีวางแผนไวว้ า่ สามารถปฏิบตั ิไดส้ าเร็จ
หรือไม่ และตอ้ งปรับปรุงหรือแกไ้ ขอยา่ งไรบา้ งจึงจะทาใหป้ ระสบความสาเร็จในชีวติ ท้งั น้ี การตรวจสอบ
เป็นการประเมินผลที่ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิ (DO) โดยการตรวจสอบทาใหท้ ราบวา่ ในการปฏิบตั ิน้นั สามารถ
บรรลุเป้ าหมายหรือวตั ถุประสงคท์ ี่ไดก้ าหนดไวห้ รือไม่ สิ่งสาคญั กค็ ือ ตอ้ งรู้วา่ จะตรวจสอบอะไรบา้ งและมี
ความสม่าเสมอมากนอ้ ยเพยี งใด ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการตรวจสอบจะเป็นประโยชน์ในข้นั ตอนต่อไป

ประโยชน์ของการตรวจสอบ ในการตรวจสอบผลการดาเนินงาน ควรมีหลกั ดงั น้ี
1. ตรวจสอบจากเป้ าหมายที่กาหนดไว้
2. มีเครื่องมือท่ีเชื่อถือได้
3. มีเกณฑก์ ารตรวจสอบที่ชดั เจน
4. มีกาหนดเวลาการตรวจสอบท่ีแน่นอนและชดั เจน
5. บุคลากรที่ตรวจสอบน้นั ตอ้ งไดร้ ับการยอมรับจากทุกฝ่ าย จึงดาเนินงานต่อไปได้

6.4 การปรับปรุงแกไ้ ข (Act) คือการนาเอาผลการประเมินมาปรับปรุง และ/ หรือพฒั นาวธิ ีการทาให้
ชีวติ ประสบความสาเร็จมากข้ึน ท้งั น้ี เป็นการดาเนินงานใหเ้ หมาะสมซ่ึงจะพจิ ารณาผลท่ีไดจ้ ากการ
ตรวจสอบซ่ึงมี 2 กรณี คือ ผลที่เกิดข้ึนเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ ถา้ ผลท่ี
เกิดข้ึนเป็ นไปตามแผนท่ีวางไว้ กจ็ ะนาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบตั ิน้นั มาจดั ทาใหเ้ ป็นมาตรฐานพร้อม
ท้งั หาวธิ ีที่จะปรับปรุงใหด้ ีข้ึน ซ่ึงอาจจะบรรลุเป้ าหมายไดเ้ ร็วกวา่ เดิมและเสียคา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยกวา่ รวมท้งั ทา
ใหค้ ุณภาพดีข้ึนก็ได้ ถา้ หากไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ีวางไวก้ ค็ วรจะนาขอ้ มลู ท่ีรวบรวมไวม้ าวเิ คราะห์และ
พจิ ารณาวา่ จะดาเนินการอยา่ งไรตอ่ ไป

ประโยชนข์ องการปรับปรุงแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องท่ีเกิดข้ึน เมื่อมีการปรับปรุงแกไ้ ขคุณภาพกจ็ ะเกิดข้ึน
การปรับปรุงแกไ้ ขจะนาไปสู่การเริ่มตน้ ทางานอยา่ งมีคุณภาพในรอบใหม่ของวงจร และช่วยใหส้ ามารถ
คาดการณ์ปัญหาหรือความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคตได้

การวางแผนเป้ าหมายชีวติ โดยการวางแผน หมายถึง การกาหนดสภาพหรือสถานภาพท่ีคาดหวงั วา่
จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยกาหนดแนวทางปฏิบตั ิเพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้

เป้ าหมายในชีวติ (Life Goals) หมายถึง ส่ิงที่ตนเองใหค้ วามสาคญั และปรารถนา
จะใหเ้ กิดข้ึนในอนาคต และเป็นแรงจูงใจใหต้ นเองมีพลงั มุง่ ไปสู่อนาคต การมีเป้ าหมายในชีวติ จะช่วยให้
มนุษยใ์ ชช้ ีวติ อยา่ งมีความหมาย มีความหวงั และมีทิศทางท่ีจะมุ่งไปสู่อนาคต เพราะการมีเป้ าหมายจะเป็ น
ตวั บ่งช้ีวา่ บุคคลน้นั ตอ้ งการอะไรบา้ ง จะมีชีวติ อยเู่ พื่ออะไร เพอื่ ใคร และเพือ่ ที่จะทาอะไร

การวางแผนเป้ าหมายชีวติ หมายถึง การต้งั เป้ าหมายชีวติ ของบุคคลที่ไดว้ างแผนไวด้ ว้ ยวธิ ีการท่ี
เหมาะสมเพอื่ นาตนเองไปสู่เป้ าหมายของชีวติ ในอนาคต เป็นการวางเป้ าหมายไวว้ า่ จะตอ้ งต้งั ตวั
สร้างฐานะใหไ้ ด้ โดยเรียนใหจ้ บและประกอบอาชีพที่สุจริต ซ่ึงการวางเป้ าหมายในชีวติ ของแต่ละบุคคล
จะแตกตา่ งกนั ไปเพ่ือใหก้ ารดาเนินชีวติ มีคุณภาพ ไดแ้ ก่ การวางแผนเก่ียวกบั สุขภาพอนามยั การวางแผน
เก่ียวกบั การศึกษา การวางแผนเก่ียวกบั อาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกร ตารวจ ทหาร นกั ธุรกิจ เกษตรกรรม ชาวนา

ชาวไร่ เป็นตน้ การวางแผนเกี่ยวกบั การใชจ้ า่ ยในแต่ละเดือน การวางแผนท่ีจะปฏิบตั ิความดี การดาเนินชีวติ
ใหอ้ ยใู่ นกรอบศีลธรรม การวางแผนเก่ียวกบั การสร้างครอบครัวในอนาคต เป็นตน้

วางแผนเป้ าหมายชีวติ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นที่บุคคลทุกคนตอ้ งใหค้ วามสาคญั ในการรู้จกั วางแผนชีวติ
ของตนเองอยา่ งมีข้นั ตอน มีวธิ ีการท่ีเหมาะสมกบั สถานะของบุคคล และพยายามดาเนินการโดยปฏิบตั ิทุก
วถิ ีทางที่จะนาพาชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จ แต่เม่ือดาเนินชีวติ ท่ีมีการวางแผนแลว้ เกิดปัญหาและ
อุปสรรค บุคคลน้นั กส็ ามารถหาจุดบกพร่องที่เกิดข้ึน แลว้ นามาพิจารณาทบทวนข้นั ตอน เพอื่ แกไ้ ข พฒั นา
ปรับปรุงใหช้ ีวติ ของบุคคลมีคุณภาพ และเกิดประสิทธิภาพในการดาเนินชีวติ ใหม้ ีความสุข หากทุกชีวติ มี
การวางแผนเพอ่ื เป้ าหมายของชีวติ ก็จะส่งผลใหป้ ระสบความสาเร็จในชีวติ

เป้ าหมายชีวติ ของบุคคลได้ 3 ระดบั คือ
1) การวางแผนเป้ าหมายชีวิตข้นั ตน้ เป็นการวางแผนต้งั เป้ าหมายของชีวติ โดยมุง่ มน่ั ฝึกฝนตนเอง ให้
บรรลุเป้ าหมายชีวติ วา่ จะตอ้ งเรียนใหจ้ บ มีอาชีพ มีฐานะท่ีดีใหไ้ ด้ ดว้ ยองคป์ ระกอบตา่ งๆ เช่น การประพฤติ
ตนเป็ นคนดี และต้งั เป้ าหมายวา่ จะประกอบอาชีพอะไร เช่น ครู พยาบาล ตารวจ ทหาร ชาวนาหรืออ่ืนๆ
2) การวางแผนเป้ าหมายชีวิตข้นั กลาง เป็นการต้งั เป้ าหมายของชีวติ วา่ ตอ้ งพยายามต้งั ตวั และสร้าง
ฐานะของตนเอง มีชีวติ คู่ มีชีวติ ครอบครัวท่ีดี ไมย่ อ่ ทอ้ รู้จกั การสร้างคุณค่าใหช้ ีวิตดว้ ยการขยนั ต้งั ใจทา
ความดี เอ้ืออาทร มีเมตตาต่อผอู้ ื่น ซ่ึงเป็นเป้ าหมายชีวติ สูงสุด
3) การวางแผนเป้ าหมายชีวิตข้นั สูงสุด เป็นการต้งั เป้ าหมายของชีวติ ที่เป็ นประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ต่อตนเอง
และบุคคลอ่ืน คือการต้งั ใจดาเนินชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียนหนา้ ที่การงาน ชีวติ
ครอบครัว และต้งั ใจปฏิบตั ิธรรมโดยการต้งั ใจทาความดี หมนั่ ใหท้ าน รักษาศีลฝึกสมาธิเพ่อื ใหจ้ ิตใจผอ่ งใส
เกิดปัญญา เพ่ือรักษาเป้ าหมายของชีวติ ใหม้ นั่ คงทุกดา้ น ถา้ ทุกคนไมม่ ีการวางแผนเป้ าหมายชีวติ แลว้ กย็ ากท่ี
จะทาใหต้ นเองประสบความสาเร็จไดเ้ ป้ าหมายเป็นเครื่องมือช้ีทิศทางเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในช่วงชีวติ ของแต่
ละบุคคล ซ่ึงแต่ละคนอาจมีเป้ าหมายแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั อาชีพ รายได้ ความรับผดิ ชอบในครอบครัวของ
แต่ละบุคคล
เป้ าหมายของบุคคลมีดงั น้ี
1) เป้ าหมายท่ีไมเ่ ป็นตวั เงิน ไดแ้ ก่ วฒั นธรรมประเพณี สงั คม การเมือง กฎหมาย ความรู้สึก เป็นตน้
อาจจะมีความสาคญั มากกวา่ ตวั เงินกไ็ ด้
2) เป้ าหมายท่ีเป็นตวั เงิน เป็นเป้ าหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เงินโดยตรง ซ่ึงทาใหแ้ ต่ละบุคคลน้นั มีความ
เป็นอยดู่ ีข้ึน หากมีการวางแผนการเงินที่ดีจะทาใหเ้ ป้ าหมายของแตล่ ะบุคคลประสบความสาเร็จได้
ความแตกต่างของเป้ าหมายที่เป็นตวั เงินและเป้ าหมายที่ไม่เป็นตวั เงิน ดงั น้ี

สิ่งที่ตอ้ งพจิ ารณาในการกาหนดเป้ าหมายชีวิต ดงั น้ี
1) ต้งั เป้ าหมายท่ีแน่นอนและชดั เจน ควรคานึงถึงผลท่ีจะไดร้ ับวา่ เป็นไปตามเป้ าหมายหรือ
วตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไวห้ รือไม่
2) เป้ าหมายตอ้ งมีความเป็ นไปได้ ควรมีการศึกษาความเป็ นไปไดก้ ่อน หากคิดวา่ เหมาะสมและ
สามารถ
ทาไดต้ ามเป้ าหมายที่วางไวจ้ ึงลงมือปฏิบตั ิ การกาหนดเป้ าหมายในลกั ษณะน้ีจึงไมม่ ีความเป็นไปได้ คือไม่
สอดคลอ้ งกบั ความเป็ นจริงได้
3) เป้ าหมายน้นั ควรจดั ลาดบั ก่อนหลงั ใหแ้ น่นอน
กระบวนการวางแผนชีวิต มี 4 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ข้นั ที่ 1 การต้งั เป้ าหมายชีวติ เป็นแนวทางในการวางแผนการดาเนินชีวติ ของตนเองเพื่อใหบ้ รรลุได้
ตามเป้ าหมายที่ตอ้ งการ เช่น ตอ้ งการเรียนใหจ้ บการศึกษาสูงสุดในชีวติ ตอ้ งกาหนดวา่ จะจบการศึกษา
เม่ือไหร่ จะประกอบอาชีพอะไร จะหารายไดเ้ ทา่ ไหร่ และหามาไดอ้ ยา่ งไร เป็นตน้
ข้นั ที่ 2 การวางแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ เม่ือไดต้ ้งั เป้ าหมายแลว้ กต็ อ้ งมีการกาหนด
แผนงานเพ่ือระบุวธิ ีที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามแผน เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้ าหมาย เช่น เมื่อจบการศึกษาแลว้ กต็ อ้ งเลือกอาชีพ
ใดอาชีพหน่ึง ท่ีจะสร้างรายได้ เพ่ือนามาเล้ียงตนเองและครอบครัว โดยอาจวางแผนเลือกอาชีพไวม้ ากกวา่ 1
อาชีพกไ็ ด้
ข้นั ท่ี 3 ประเมินทางเลือก ควรมีการประเมินวา่ ควรจะตดั สินใจเลือกอาชีพใดที่เหมาะสมกบั
ตนเองมากท่ีสุดโดยเนน้ ที่ความสนใจและชอบในอาชีพน้นั รวมท้งั สามารถที่จะสร้างรายไดใ้ หช้ ีวติ ของ
ตนเอง
มีความสุขอยไู่ ดอ้ ยา่ งพอเพยี ง เช่น เลือกประกอบอาชีพทาร้านอาหาร นารายไดส้ ่วนหน่ึงมาเกบ็ ไวเ้ ป็นเงิน
ออมเพื่อใชใ้ นวยั เกษียณ อีกส่วนหน่ึงอาจจะนามาใชจ้ ่ายส่วนตวั และค่าใชจ้ า่ ยในร้านอาหาร เป็นตน้
ข้นั ท่ี 4 การตดั สินใจ หากการวางแผนตามข้นั ที่ 1 ถึงข้นั ท่ี 3 เป็นไปตามเป้ าหมาย ก็สามารถตดั สินใจ
เลือกประกอบอาชีพได้ แตห่ ากไม่ประสบความสาเร็จก็ตอ้ งยกเลิกหรือถา้ ตอ้ งการท่ีจะประกอบอาชีพอื่นๆ ก็
ตอ้ งปรับเปลี่ยนการวางแผนทางการประกอบอาชีพใหม่
การวางแผนเป้ าหมายชีวติ โดยก่อนจะเริ่มตน้ ทาสิ่งใดกค็ วรจะกาหนดเป้ าหมายที่ตอ้ งการไวล้ ่วงหนา้
เสมอ เพราะเป้ าหมายเป็นเครื่องมือที่กาหนดทิศทางใหท้ ราบวา่ สิ่งท่ีคาดหวงั และตอ้ งการทาใหส้ าเร็จไดน้ ้นั
มีเพยี งใด การวางแผนเป้ าหมายในชีวติ จึงควรจะตอ้ งกาหนดเป้ าหมายที่ตอ้ งการใหบ้ รรลุผลสาเร็จ

แตเ่ ป้ าหมายที่ดีน้นั ควรจะกาหนดตามหลกั SMART ดงั น้ี

วางแผนเป้ าหมายชีวติ ดว้ ยวงจรควบคุมคุณภาพตามกรณีศึกษาที่ครูกาหนดให้
เป้ าหมายในชีวติ สูงสุดวา่ ตอ้ งการท่ีจะทาอะไรบา้ งในขณะท่ียงั มีชีวติ อยโู่ ดยกาหนด
เป้ าหมายไว้ 5 เร่ือง พร้อมท้งั ลาดบั ข้นั ในกระบวนการวางแผนประกอบดว้ ย

1) การกาหนดวตั ถุประสงค์ เป้ าหมายของชีวติ
2) พฒั นาขอ้ ตกลงที่เป็นตวั กาหนดขอบเขตในการวางแผนของชีวิต
3) พจิ ารณาขอ้ จากดั ต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในการวางแผนชีวติ
4) พฒั นาทางเลือกในการดาเนินชีวติ
5) ประเมินทางเลือก เพ่ือเลือกส่ิงท่ีเป็นไปไดส้ ูงสุดของชีวติ
6) เปลี่ยนแปลงแผนสู่การปฏิบตั ิจริง
5.4 การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4 ตรวจกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
6. ตรวจกิจกรรมใบงาน
7. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึง

ประสงค์
เคร่ืองมือวดั ผล

1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)

3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมินผลการเรียนรู้
5. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครู

และผเู้ รียนร่วมกนั ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ข้ึนไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑผ์ า่ น 50%
5. แบบประเมินกิจกรรมใบงานมีเกณฑผ์ า่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่

กบั การประเมินตามสภาพจริง