ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

     ในเชิงเศรษฐศาสตร์ปริมาณเงิน (Money Supply หรือ Money Stock) หมายถึง เป็นปริมาณของเงินหรือสินทรัพย์อื่นที่ใกล้เคียงกับเงินที่หมุนเวียนอยู่ในในระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

ปริมาณเงินจะจำแนกประเภทตามขนาด ดังนี้

ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Narrow)

  • M1  =  ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน

ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money)

  • M2  =  M1 + เงินฝากออมทรัพย์ + เงินฝากประจำของประชาชน
  • M3  =  M2 + เงินฝากประจำในสถาบันการเงินทุกประเภท + เงินฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ + ตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุน และ บริษัทหลักทรัพย์

     ปัจจุบัน นิยามของปริมาณเงินซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยมีการเผยแพร่อยู่ จะเหลือเพียง ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Narrow) และในความหมายกว้าง (Board Money) โดยในอดีตจะมีการเผยแพร่ในลักษณะ M1 + M2 + M3

     แม้ธนาคารกลางจะมีการพูดถึงปริมาณเงินในระบบไม่บ่อยนัก แต่การทำความรู้จักกับชื่อเรียกปริมาณเงินในนิยามต่างๆ จะทำให้เราทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของเงินในระบบอย่างเข้าใจ เพื่อเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

6.4 ความหมายของปริมาณเงิน ปริมาณเงินแบ่งเป็น 2 ความหมายใหญ่ คือ ปริมาณเงินในความหมายแคบ และปริมาณเงินในความหมายกว้าง

  1. ปริมาณเงิน (M1) คือ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ หมายถึง ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือของประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือของประชาชน และเงินฝากเผื่อเรียกของธุรกิจและครัวเรือนที่ระบบธนาคารพาณิชย์
  2. ปริมาณเงิน (M2) คือ ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง หมายถึง M1+ เงินฝากประจำและเงินฝากออมทรัพย์ของธุรกิจและ ครัวเรือนที่ระบบธนาคารพาณิชย์

6.5 บทบาทของปริมาณเงินต่อระดับราคา

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

    1. นโยบายการเงิน  คือ การดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพของระดับราคา การส่งเสริมให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น การรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาดุลยภาพของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม  เครื่องมือของนโยบายการเงิน แบ่งตามลักษณะการดำเนินการ ได้ 3 ลักษณะ ได้แก่
  1. การควบคุมทางด้านปริมาณ (Quantitative control) ประกอบด้วย
    1. การซื้อขายหลักทรัพย์ (open-market operation)
    2. การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (changing rediscount rate)
    3. การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย (changing reserve requirement)
    4. การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (changing bank rate)
  2. การควบคุมทางด้านคุณภาพ (Qualitative control)
  3. การควบคุมโดยตรง (Direct control)
  1. การควบคุมทางด้านปริมาณ (Quantitative control) เป็นการควบคุมปริมาณเครดิต ไม่ใช่ชนิดของเครดิต ดังนั้น จึงมีผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ยทั่วไปในตลาดและ ปริมาณเครดิตทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ การดำเนินการโดยผ่านเครื่องมือดังกล่าวจะมีผลโดยตรงทันทีต่อ การเปลี่ยนแปลงเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการขยายเครดิตของ ธนาคารพาณิชย์และอัตราดอกเบี้ยในตลาด การควบคุมทางด้านปริมาณ ได้แก่

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง M2

ความหมายของปริมาณเงิน

       ปริมาณเงิน เป็นปริมาณของเงินหรือสินทรัพย์อื่นที่ใกล้เคียงกับเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ การวัดปริมาณเงินในทางบัญชีจะมองว่าเงินเป็นสินทรัพย์ทางการเงินของผู้ถือครองเงิน แต่จะมองเป็นหนี้สินทางการเงินของผู้สร้างเงิน  ซึ่งโดยนัยกฎของบัญชี หากนับรวมเงินที่เป็นสินทรัพย์ในมือผู้ถือครองเงินทุกราย ย่อมมีขนาดเท่ากันกับเงินที่เป็นหนี้สินของผู้สร้างเงินทุกรายรวมกันที่มีต่อผู้ถือครองเงิน  แต่ในทางปฏิบัติ การที่จะประมวลข้อมูลจากผู้ถือครองเงินทุกรายซึ่งหมายถึง ประชาชน บริษัทธุรกิจเอกชน ต่างๆ ย่อมมีความยากล าบากและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าการเก็บข้อมูลจากฝ่าย ที่เป็นผู้สร้างเงินที่มีจำนวนรายน้อยกว่ามาก

ความหมายของปริมาณเงินอย่างแคบ หรือที่เรียกว่า M1 จะหมายถึง

M1    =    ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน (Demand deposit)

       ปริมาณ เงินคือเงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ที่อยู่ในมือประชาชน และรวมถึงเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคาร อาทิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ 

ความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง ความครอบคลุมตามนิยามนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับชื่อที่ใช้คือ ค่อนข้างครอบคลุมไปถึงเงินในหลายรูปแบบ โดยในช่วงก่อนหน้านี้ เราอาจจะเคยได้ยินคำว่า M2  M2a M3 ในไทย หรือ M4 รวมทั้ง M5 ในต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละประเทศเลือกที่จะรวบรวมปริมาณเงินในแต่ละนิยาม (ซึ่งเป็นไปตามหลักสากล) ไว้เพื่อติดตามและวิเคราะห์อย่างไร แต่ทั้งหมดที่กล่าวนี้ก็คือความหมายของปริมาณเงินอย่างกว้าง อาทิ

M2 จะหมายถึง M1 + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำของประชาชน

M2a จะหมายถึง M2 + เงินฝากของประชาชนที่อยู่ในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน

- M3 จะหมายถึง M2a + เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ

แต่ ปัจจุบัน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เผยแพร่นิยามใหม่ของปริมาณเงิน โดยนิยามของปริมาณเงินที่ใช้กันอยู่ล่าสุดจะเหลือเพียงปริมาณเงินใน 2 นิยามเท่านั้น คือ

1. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ

องค์ประกอบยังเหมือนเดิมที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น แต่ในส่วนของเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งเป็นเงินฝากเผื่อเรียกที่ประชาชนฝากไว้ที่ระบบธนาคารนั้น เปลี่ยนเป็นเงินฝากกระแสรายวันที่ สถาบันรับฝากเงิน  ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน ธนาคารเฉพาะกิจ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น รวมถึงสหกรณ์ออมทรัพย์และกองทุนรวมตลาดเงิน

2. ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง

จะประกอบไปด้วยเงินฝากของประชาชนทั้งหมดไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ เงินฝากในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทเงินทุน เงินฝากของประชาชนที่ธนาคารเฉพาะกิจ รวมไปถึงที่เพิ่มเติมเข้ามาใหม่ให้อยู่ในนิยามนี้ด้วยได้แก่ เงินรับฝากของธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ในรูปของตั๋วแลกเงิน เงินรับฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน เพื่อให้มีความครอบคลุมถึงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง( M2) คือข้อใด

2.2 ปริมาณเงินในความหมายอย่างกว้าง (M2) ประกอบด้วยปริมาณเงินในความหมาย อย่างแคบ (M1) รวมกับสินทรัพย์ทางการเงินที่ให้ผลตอบแทนและเปลี่ยนเป็นเงินได้โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย หรือเสียค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อย นั่นคือ M2 = M1 + เงินฝากประจ าและเงินฝากออมทรัพย์ Page 15 181 ของภาคเอกชน(รวมรัฐวิสาหกิจ) พันธบัตร หุ้นกู้ที่ ...

ปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง มีอะไรบ้าง

ดังนั้นปริมาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง จึงประกอบด้วยเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจ า เงินฝากออมททรัพย์ พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ และสิ่งที่ใกล้เคียงกับเงินอื่น ๆ Page 10 280 EC 103 แต่เนื่องจากปริมาณเงินที่เป็นเงินฝากประจ า หรือตั๋วเงินคลัง หรือพันธบัตรอื่น ๆ ไม่ได้น าออกมาหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ เมื่อ ...

ข้อใดหมายถึงปริมาณเงินตามความหมายอย่างแคบ

ปริมาณเงิน (M1) คือ ปริมาณเงินตามความหมายแคบ หมายถึง ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในมือของประชาชน ประกอบด้วยธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ในมือของประชาชน และเงินฝากเผื่อเรียกของธุรกิจและครัวเรือนที่ระบบธนาคารพาณิชย์

ปริมาณเงินหมายถึงข้อใด

ปริมาณเงินหรืออุปทานของเงิน (Money Supply : Ms) หมายถึง เงินที่ใช้หมุนเวียนอยู่ในมือของประชาชน ในขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย เหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวัน โดยไม่นับรวมปริมาณเงินที่อยู่ในระบบธนาคารและเงินที่อยู่ในมือรัฐบาล