กฎหมาย ภาษี อากร หรือ ประมวลรัษฎากร จัด อยู่ใน กฎหมาย ประเภท ใด

กฎหมาย ภาษี อากร หรือ ประมวลรัษฎากร จัด อยู่ใน กฎหมาย ประเภท ใด

1. “ประมวลรัษฎากร” คืออะไร ?

หนังสือที่รวบรวมกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรทั้งกฎหมายแม่บท และกฎหมายที่ออกมาบังคับใช้เพิ่มเติมในภายหลัง เช่นพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ และคำวินิจฉัยต่าง ๆ

2. “ประมวลรัษฎากร” สำคัญอย่างไร ?

เป็นประมวลกฎหมายที่รวมแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการเก็บภาษีอากรจากประชาชน อันเป็นเงินใช้จ่ายที่สำคัญในการบริหารประเทศ ซึ่งบทบัญญัติของกฎหมาย และคำวินิจฉัยต่าง ๆ ของกรมสรรพากรได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอยู่ทุกปี ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงต้องมีการติดตามอยู่เสมอ

3. “ประมวลรัษฎากร” เหมาะกับใคร ?

ปัจจุบันได้มีการใช้ประมวลรัษฎากรอย่างแพร่หลายมากขึ้นทุกวงการ ทั้งอาจารย์และนิสิตนักศึกษาเพื่อใช้ประกอบการเรียน รวมไปถึง ผู้พิพากษา   พนักงานอัยการ    ทนายความ   เจ้าหน้าที่ส่วนราชการต่างๆ   นักธุรกิจ   นักบัญชี   ผู้ประกอบการ

4. ในแต่ละปี “ประมวลรัษฎากร” เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ?

ในทุกๆ ปี กรมสรรพากรจะมีการออกบทบัญญัติของกฎหมายมาเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์และวิธีการในการเรียกเก็บภาษี เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งในแต่ละปีมีกฎหมายการแก้ไขจำนวนมาก เช่น หลักเกณฑ์การลดหย่อนภาษี, Transfer Pricing, การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาษีเงินได้หรือภาษีมูลค่าเพิ่ม

5. ปัญหายอดฮิต ของผู้ที่ใช้งาน “ประมวลรัษฎากร”

เนื่องจากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายอยู่ตลอด จึงทำให้ยากต่อการรวบรวม หลายๆ ท่าน จึงต้องการที่จะหาประมวลรัษฎากรฉบับที่มีการรวบรวมกฎหมายไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์มาใช้ เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาและการใช้งาน

สนใจสั่งซื้อหนังสือได้ที่ m.me/Bookdharmniti

กฎหมาย ภาษี อากร หรือ ประมวลรัษฎากร จัด อยู่ใน กฎหมาย ประเภท ใด

📘 ชุดประมวลรัษฎากร 2564

คู่มือแนวทางปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรสำหรับทุกกิจการ

✅ ราคาพิเศษ❗ 650.- จัดส่งฟรี❗

(จากปกติ 750.- ค่าส่ง 60.-)

ดูข้อมูลหนังสือเพิ่มเติม คลิก🖱 https://bit.ly/3BkWwix

ภายในชุดประกอบด้วย :

1. หนังสือ ‘ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์ 2564’

รวมกฎหมายภาษีสรรพากรเพื่อการใช้งานได้อย่างครบถ้วน

– พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร

– กฎกระทรวง ประกาศ คำสั่ง เกี่ยวกับประมวลรัษฎากร

– ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

– ประกาศ คำสั่ง เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์

– จัดหมวดหมู่ตามมาตราเป็นระเบียบ สะดวกในการสืบค้น

– Update และรวบรวมกฎหมายที่ประกาศใหม่ทั้งหมดจนสมบูรณ์ ณ วันที่ 30 ธ.ค.63

2. หนังสือ ‘ภาษีอากร ตามประมวลกฎหมายรัษฎากร 2564’

ภาคที่ 1 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร

ภาคที่ 2 : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาคที่ 3 : ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาคที่ 4 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม

โดยปกติแล้ว ผู้ใช้ ประมวลรัษฎากร ที่เป็นนักบัญชีหรือบุคคลทั่วไปที่ไม่มีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายโดยเฉพาะ มักจะสับสนเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายในประมวลรัษฏากรว่า บทบัญญัติแต่ละประเภทมีความหมายว่าอย่างไร และมีลำดับขั้นของกฎหมายแตกต่างกันอย่างไร

ก่อนที่จะทราบว่าความหมายของกฎหมายแต่ละประเภทในประมวลรัษฎากร และความแตกต่างของลำดับชั้นของกฎหมายนั้น เราควรรู้จักความหมายของคำว่า ประมวลรัษฎากร กันก่อน

ประมวลรัษฎากร  (Revenue Code) มาจากคำว่า “ประมวล” สมาสกับคำว่า “รัษฎากร”

“ประมวล” แปลว่า รวบรวม ในที่นี้หมายถึง “ประมวลกฎหมาย” ซึ่งรวบรวมกฎหมายลักษณะเดียวกันหลายลักษณะไว้ในกฎหมายฉบับเดียวกัน
“รัษฎากร” มาจากคำว่า “ราษฎร” สนธิกับ “อากร” หมายถึง ภาษีอากรที่จัดเก็บจากราษฎรหรือประชาชน
“ประมวลรัษฎากร” จึงหมายถึง ประมวลกฎหมายภาษีอากรที่จัดเก็บภาษีจากประชาชนหลายลักษณะ

สำหรับตัวผู้เขียนเอง ขออนุญาติแปลความหมายโดยรวมของประมวลรัษฎากร ดังนี้
ประมวลรัษฎากร หมายถึง กฎหมายที่ทางรัฐบาลใช้ในการเรียกเก็บภาษีจากประชาชน และให้อำนาจกรมสรรพากรจัดเก็บภาษี โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์

โดยลำดับชั้นของกฎหมายในประมวลรัษฎากร สามารถแบ่งออกเป็นลำดับชั้นต่างๆ โดยเรียงจากกฎหมายที่มีลำดับสูงสุดได้ ดังนี้

1. พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร
2. บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร
3. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
4. กฎกระทรวงออกตามความในประมวลรัษฎากร
5. ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งกฎกระทรวง

ข้อควรทราบเพิ่มเติม
กฎหมายยิ่งลำดับศักดิ์สูงการเปลี่ยนแปลงแก้ไขจะกระทำได้ยากและใช้เวลานาน ดังนั้นจึงเห็นบ่อยครั้งที่ทางกรมสรรพากรจะออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากรหรือคำสั่งกรมสรรพากรมาบังคับใช้ เนื่องจากเป็นกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์ต่ำ จึงง่ายต่อการเพิ่มเติม หรือแก้ไข และใช้เวลาไม่นานนัก

สำหรับรายละเอียดในแต่ละลำดับขั้นของกฎหมายนั้น จะเจาะลึกลงในหัวข้อต่อไป….

กฎหมายภาษีตามประมวลรัษฎากร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ปัจจุบันเป็นที่รวมของกฎหมายภาษีอากรเพียง 4 ประเภทด้วยกันคือ ประเภทที่หนึ่ง ภาษีเงินได้ แบ่งเป็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีนี้จัดเป็นภาษีทางตรงประเภทหนึ่ง ประเภทที่สอง ภาษีมูลค่าเพิ่ม ประเภทที่สาม ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ประมวลรัษฎากร มีกี่หมวด

02-11-2016. ประเภทภาษีอากร ประมวลรัษฎากรเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจกรมสรรพากรจัดเก็บภาษี 5 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ภาษีอากรแต่ละประเภทมีลักษณะและวิธีการจัดเก็บที่แตกต่างกัน ดังนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรจัดเป็นภาษีประเภทใด

ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นภาษีทางอ้อม ผู้บริโภคเป็นผู้รับภาระเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยมีผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว (ผู้ประกอบการจดทะเบียน) เป็นผู้ทำหน้าที่เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้บริโภค 15 แล้วนำส่งให้กรมสรรพากรเป็นรายเดือน โดยต้องยื่นภาษีทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไปไม่ว่าผู้ประกอบการฯ จะมีภาษีต้องชำระหรือ ...

ภาษีอากรประเภทใดจัดว่าเป็นภาษีทางตรง

1. ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ต้องเป็นรับภาระภาษีไว้ ทั้งหมดไม่สามารถผลักภาระให้กับผู้อื่นได้ เช่น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีป้าย เป็นต้น