พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
“บุหลันลอยเลื่อน” เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งพระองค์ทรงเป็นศิลปินที่มีพรสวรรค์ทั้งทางด้านกวีนิพนธ์ และการดนตรีที่ชำนาญการเป็นเยี่ยม ยากจะหาผู้ใดมาเทียบ พระองค์ทรงโปรดซอสามสายมากเป็นพิเศษ ถึงกับโปรดให้ยกหรืองดเก็บภาษีอากรส่วนใดก็ตามที่ที่มีต้นมะพร้าวชนิดพิเศษที่ใช้ผลทำกะโหลกซอสามสาย ทรงสร้างซอสามสายด้วยพระองค์เองไว้หลายคันมีอยู่คันหนึ่งโปรดมากพระราชทานนามว่า “ซอสายฟ้าฟาด” และโปรดทรงซอนี้เสมอในเวลาว่างพระกิจยามราตรี ถ้าไม่ร่วมวงก็มักทรงเดี่ยวตามลำพังพระองค์เอง จนกระทั่งเกิดเป็นเพลง “บุหลันเลื่อนลอยฟ้า” ขึ้นในคืนวันหนึ่ง

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด


พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
ในคืนวันนั้นหลังทรงซอสามสายจนดึกแล้วเสด็จเข้าที่บรรทมทรงพระสุบินว่า “พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปในสถานที่แห่งหนึ่ง ตามปรากฏในพระสุบินนิมิตนั้นว่า เป็นสถานที่สวยงามอย่างยิ่งจนไม่มีที่แห่งใดในโลกเสมอเหมือน ทอดพระเนตรเห็นดวงจันทร์ค่อยๆ ลอยเคลื่อนเข้ามาใกล้พระองค์ทีละน้อยๆ และสาดแสงสว่างไปทั่วบริเวณ ทันใดนั้นปรากฏเป็นเสียงทิพยดนตรี แว่วกังวานหวานไพเราะเสนาะพระกรรณเป็นอย่างยิ่ง พระองค์เสด็จทรงประทับทอดพระเนตร และทรงสดับเสียงดนตรีอันไพเราะอยู่ด้วยความเพลิดเพลินพระราชหฤทัย จากนั้นดวงจันทร์ก็ค่อยๆลอยถอยเลื่อนเคลื่อนห่างออกไปในท้องฟ้า พร้อมทั้งสำเนียงเสียงทิพยดนตรีนี้นก็ค่อยๆ เบาจางห่างจนหมดเสียงหายไป

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
พลันเสด็จตื่นบรรทมแม้เสด็จตื่นรู้พระองค์กระจ่างแจ้งแจ่มพระทัย แล้ว สำเนียงดนตรีในพระสุบินยังแว่วกังวานพระโสตอยู่ จึงโปรดให้ตามมหาดเล็กเจ้าพนักงานการดนตรี เข้ามาต่อเพลงไว้ในยามราตรีนั้นเอง พระราชทานนามเพลงว่า “เพลงบุหลันลอยเลื่อน หรือเพลงบุหลันลอยฟ้า” หรือบางทีเรียกกันว่า “เพลงทรงพระสุบิน” และเคยเรียกว่า “เพลงสรรเสริญพระจันทร์” เพราะเคยใช้เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีมาสมัยหนึ่ง ต่อมาเกิดเพลงสรรเสริญพระบารมีทำนองสากล จึงเรียกเพลงนี้ว่าเพลงสรรเสริญพระจันทร์ เป็นเพลงสรรเสริญบารมี(แบบ)ไทย ซึ่งเคยใช้บรรเลงเป็นเพลงชาติไทยในสมัยหนึ่ง

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด


พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
“กิดาหยันหมอบกรานอยู่งานพัด
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
พระบรรทมโสมนัสอยู่ในที่
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
บุหลันเลื่อนลอยฟ้าไม่ราคี
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
รัศมีส่องสว่างดังกลางวัน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
พระนิ่งนึกตรึกไตรไปมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
ที่จะแต่งคูหาสะตาหมัน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
ป่านนี้พระองค์ทรงธรรม์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
จะนับวันเคร่าคอยทุกเวลา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
ครั้นล่วงเข้ายามดึกสงัด
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
สงบเงียบเสียงสัตว์ทุกภาษา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
วังเวงวิเวกวิญญาณ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด
พระนิทราหลับไปในราตรีฯ”

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

http://blog.wordthai.com/เพลงบุหลันลอยเลื่อน/

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงประพันธ์บทเพลงใด

รัชกาลที่ 2 (พ.ศ. 2352 – 2367)
– พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเป็นทั้งนักกวีและดุริยกวี ทรงส่งเสริมด้านวรรณคดีและการละคร พระองค์ทรงซอสามสายได้ไพเราะยิ่ง (ซอสามสายของพระองค์ได้มีนามว่า ซอสายฟ้าฟาด) พระองค์ทรงแต่งบทละครให้เข้ากับบทรำและทำนองดนตรี นับเป็นสมัยที่ดนตรีไทยเจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างมาก
– สมัยนี้การขับเสภาเล่านิทานเฟื่องฟูมากโดยเฉพาะวรรณคดีพื้นบ้านเรื่อง ขุนช้างขุนแผน แต่เดิมการขับเสภามีเพียงกรับเสภาคู่หนึ่ง และผู้ขับเสภาต้องใช้เสียงขับและขยับกรับตลอดไม่มีโอกาสพัก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงโปรดเกล้าฯให้นำวงปี่พาทย์มาประกอบการขับเสภา เริ่มแรกเป็นการบรรเลง สอดแทรกการขับเล่าเรื่อง ภายหลังลดบทบาทของผู้ขับและการขับเล่าเรื่อง คงเหลือแต่การร้องส่งเป็นบทเพลง แต่เนื่องจากเสียงของตะโพนนั้นดังมาก ไม่เหมาะกับการร้อง จึงมีผู้นำเปิงมางมาถ่วงด้วยขี้เถ้าบดกับข้าวสุกเพื่อให้เสียงต่ำลง เกิดเป็นกลองสองหน้า ใช้ตีหน้าทับแทนตะโพนและกลองทัด วงปี่พาทย์เสภาจึงประกอบด้วย ปี่ใน ระนาด ฆ้องวง กลองสองหน้า และฉิ่ง ถือเป็นพระเพณีต่อมาจนถึงปัจจุบัน