น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

          ผลที่ได้อธิบายได้ว่า สารละลายที่ี่ไม่มีไอออนอยู่ เช่น น้ำ หรือน้ำตาลทรายที่ี่ละลายอยู่ในน้ำมัน จะมีพันธะแบบโคเวเลนต์ ไม่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ จึงไม่นำไฟฟ้า แต่ NaCl HCl เมื่ออยู่ในน้ำจะแตกตัวเป็น Na+ , Cl- หรือ H+ , Cl- ซึ่งเป็นไอออนที่เคลื่อนที่ี่ในสารละลายทำให้เกิดการนำไฟฟ้าขึ้นได้

แบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรดจะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ แบบที่ต้องคอยตรวจดูระดับน้ำกรด (Low Maintenance) และ แบบที่ไม่ต้องคอยตรวจดูระดับน้ำกรด (Maintenance Free)

ซึ่งส่วนประกอบหลักๆของแบตเตอรี่ตะกั่วกรดนั้น มีดังนี้ 

  1. แผ่นธาตุ (Plates) แบ่งเป็น ธาตุบวก (Positive Plate) และธาตุลบ (Negative Plate) โดยวางเรียงสลับกัน และต้องกั้นเพื่อไม่ให้แผ่นติดกัน
  2. แผ่นกั้น (Separators) ใช้เพื่อกั้นแผ่นธาตุบวกและลบไม่ให้ติดกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร
  3. น้ำกรดหรือน้ำยาลิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte) 
  4. เปลือกหม้อและฝาปิด (Container and Cover) เป็นภาชนะไว้บรรจุตัวของแบตเตอรี่ วัสดุที่ใช้ทำเปลือกและฝานั้นจะมาจาก ยางหรือพลาสติกที่สามารถทนกรดกำมะถันได้
  5. กลุ่มแผ่นธาตุ ทำหน้าเชื่อมต่อนะหว่างช่องเซลล์ ให้สามารถทำงานร่วมกันได้
  6. ฝาจุกแบตเตอรี่ หรือฝาจุกระบายอากาศ วัสดุที่ใช้ทำส่วนมาจะมาจากพลาสติก ด้านบนของจุกจะมีรูเล็กๆ เพื่อระบายแก๊ส และควรหมั่นทำความสะอาดเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน
  7. ตัวเชื่อมระหว่างเปลือก กับฝาแบตเตอรี่ ถ้าเป็นแบตเตอรี่ชนิดเปลือกพลาสติกจะเชื่อม ระหว่างเปลือกกับฝาโดยใช้ความร้อน แต่ถ้าเป็นแบตเตอรี่ชนิดเปลือกที่ทำด้วยยางแข็งและมีหลายฝา จะเชื่อมด้วยยางมะตอย และชนิดฝาเดี่ยวจะเชื่อมด้วยกาวทนความร้อน
น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ผู้เขียน : หฤทธิ์ ล้อทองพานิชย์

ช่างไฟดอทคอมช่างไฟที่ดีที่สุดในกรุงเทพฯ

          ������ẵ������繵�Ǩ��¡����俿�� ����硵�͹������͹����͡�ҡ������⹴ (����ź) �ͧẵ������ҹ�Ǵ��ǹ���ѧ����俿�Ңͧ������������ŵ� �ѧ��鹢���俿�ҷ���͡Ѻ����ź�ͧẵ�������繢����ⷴ �����繢��Ƿ���Դ��ԡ������մѡ�ѹ ������ͧ�ҡ��͡Ѻ����ź ����俿�ҹ��֧�繢���ź ��ǹ����俿���ա����˹���Դ��ԡ������͡��പѹ�֧�繢�����⹴ ��е�͡Ѻ���Ǻǡ�ͧẵ�����֧�繢��Ǻǡ ����硵�͹����͹����͡�ҡ������⹴�ͧ����������ẵ�����

เป็นที่ถกเถียงกันทั้งมือใหม่และมือเก่า และบางคนที่ไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจในการทำงานของแบตเตอรี่ ที่ว่า เติมน้ำในแบตเตอรี่ เนี่ย มันจำเป็นหรือไม่ ไม่ใช่ว่าต้องเติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์หรอ สำหรับคนที่เข้าใจการทำงานของแบตเตอรี่ก็ไม่มีข้อสงสัยแน่ๆ แต่คนที่ไม่เข้าใจก็จะยังมึนๆกับการทำงานของแบตเตอรี่ วันนี้เราจะมาอธิบายกันว่า การทำงานของมันเป็นยังไง และน้ำที่เติมควรเป็นน้ำอะไร

สารละสายอิเล็กโทรไลท์คืออะไร?

น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

มาคุยกันก่อนว่า สารละลายอิเล็กโทรไลท์คืออะไร สารละลายอิเล็กโทรไลท์มาจากน้ำผสมกับกรดหรือเบส โดยในแบตเตอรี่จะใช้ น้ำผสมกับกรดซัลฟิวริกเป็นร้อยละ 40 เรียกโดยรวมว่า สารละลายอิเล็กโทรไลท์ และการทำงานของอิเล็กโทรไลท์ในแบตเตอรี่ ก็คือ การเกิดปฏิกิริยากับแผ่นตะกั่วในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดการเก็บและการปล่อยพลังงาน


การเติมน้ำเข้าไปในแบตเตอรี่

น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ถ้าแบตเตอรี่อยู่ภายในการใช้งานปกติ การเติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ถือว่าตัดออกไปได้เลย ให้มาดูที่การเติมน้ำดีกว่า โดยทั่วไปเมื่อแบตเตอรี่ปล่อยประจุออกมาทำงาน แผ่นตะกั่วที่ได้รับประจุจะค่อยๆถูกเกาะไปด้วยซัลเฟต ซึ่งแสดงว่าสารละลายอิเล็กโทรไลท์ได้สูญเสียกรดซัลฟิวริกไป ทำให้น้ำในสารละลายได้สูญหายไปมาก จึงเป็นเหตุที่ต้องเติมน้ำเข้าไป

การสูญเสียน้ำโดยปกติเกิดจากกระบวนการอิเล็กโทรไลซิสและน้ำในสารละลายอิเล็กโทรไลท์สามารถระเหยออกไปได้ในอากาศร้อน ซึ่งแน่นอนว่ากรดซัลฟิวริกก็แอบหายไปกับน้ำด้วย ดังนั้นเราจึงควรเติมน้ำเข้าไปในแบตเตอรี่ถ้าอากาศร้อนจัด เพื่อให้มีน้ำหล่อเลี้ยงและไปทดแทนจากการระเหยครั้งที่แล้ว


การเติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ในแบตเตอรี่

น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

โดยปกติจะไม่เติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ในแบตเตอรี่ ยกเว้นบางกรณีที่จำเป็นจริงๆ เช่น เติมในแบตเตอรี่ที่แห้ง โดยการเติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ต้องเติมในแบตเตอรี่ที่เคยผ่านการใช้งานมาจนกรดซัลฟิวริกเหลือน้อย หรือเติมเมื่อแบตเตอรี่เคยถูกคว่ำจะเจ้ากรดซัลฟิวริกหกออกมา การทดแทนสารละลายอิเล็กโทรไลท์ต้องเติมเข้าไปชดเชยกับส่วนที่หายไป


น้ำอะไรที่เติมเข้าไปในแบตเตอรี่?

น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

หลังจากที่พอเข้าใจการทำงานของแบตเตอรี่แล้ว ทีนี้ก็มาดูกันว่า เราควรเติมน้ำอะไรลงไปในแบตเตอรี่ เพื่อประสิทธิภาพที่ดีที่สุด โดยชนิดของน้ำที่แนะนำการเติมในสารละลายอิเล็กโทรไลท์คือ น้ำกลั่น โดยทั่วไปหลายคนใช้น้ำประปาในการเติม แต่น้ำประปามีข้อควรระวังคือ ถ้าใช้น้ำที่มีไอออนเจือปนหรือมีของแข็งเจือปน (มองในตาเปล่าไม่เห็น) จะทำให้การทำงานของแบตเตอรี่มีประสิทธิภาพลดลง เนื่องจากน้ำที่เจือปนจะไปขัดการถ่ายไอออนของสารละลายให้ทำงานได้ยากขึ้น

การกลั่นน้ำประปาเองก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยในการประหยัดค่าน้ำกลั่นได้ เพราะไม่ต้องเสียเงินซื้อน้ำกลั่นมาเติมแบตเตอรี่ เนื่องจากน้ำประปากลั่นก็มีความละเอียดสูงพอที่จะไม่ไปขัดขวางระบบการทำงานของอิเล็กโทรไลท์ในแบตเตอรี่


การดูแลน้ำกลั่นแบตเตอรี่ ให้ทำงานได้มีประสิทธิภาพ

น้ำยาอิเล็คโตรโลต์ของแบตเตอรี่ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ระดับของน้ำกลั่นไม่ควรมีเยอะเกินไปหรือแห้งจนเกินไป เพราะอาจจะทำให้แบตเตอรี่ไม่มีกำลังประจุพอที่จะนำไปใช้งาน ซึ่งอาจส่งผลให้แบตเตอรี่เสียได้ โดยปกติระดับน้ำกรดจะมีผลต่อกำลังไฟในแบตเตอรี่ ถ้าน้ำกรดมีน้อยกำลังไฟก็มีน้อยตามไปด้วย

โดยทั่วไปแบตเตอรี่มีอยู่ 2 ชนิดคือ แบตเตอรี่ชนิดน้ำ และ แบตเตอรี่ชนิดแห้ง โดยแบตเตอรี่ชนิดน้ำ ผู้ใช้ต้องหมั่นตรวจระดับน้ำกรดทุกๆสัปดาห์ เพื่อป้องกันน้ำแห้ง อันเป็นสาเหตุทำให้แผ่นตะกั่วไหม้ได้ อีกชนิดหนึ่งคือแบบแห้ง หรือแบตเตอรี่ที่พร้อมใช้งาน การตรวจน้ำกรดกับชนิดนี้ควรตรวจทุกๆครึ่งปี

การเติมน้ำกลั่นที่ดีที่สุดคือ เติมน้ำในแบตเตอรี่ให้อยู่ในระดับคอล่าง ถ้าเติมสูงกว่าคอล่างจะทำให้น้ำกลั่นล้นออกมาเวลาเครื่องทำงาน ซึ่งทำให้น้ำระเหยไวขึ้น และจะเกิดคราบขี้เกลือ ซึ่งทำให้ห้องเครื่องยนต์สกปรก

สำหรับการดูแลรักษาและการเติมน้ำกลั่นก็เป็นเรื่องที่ไม่ยาก สามารถเข้าใจได้ และการเติมสารละลายอิเล็กโทรไลท์ก็เป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่มีกรดในแบตเตอรี่เหลือน้อยเท่านั้น ดังนั้นทางที่ดีที่สุดคือการเติมน้ำกลั่นธรรมดา ซึ่งจะเป็นผลดีกับแบตเตอรี่ แต่ก็อย่าคิดว่ายิ่งเยอะยิ่งดี เพราะผลเสียมันจะตามมาอย่างไม่คาดคิด ทางที่ดีทำตามคำแนะนำดีกว่า – ถ้าคุณสนใจเกี่ยวกับแบตเตอรี่ที่นิยมที่สุดในไทย >> http://thaiengine.org/แบตยี่ห้อไหนดี