การเรียงลำดับการบำเพ็ญกิริยาต่างๆ

��й��෾´�ͧ��˹���Ӥѭ�Դ�Դ��Ҿ�к��⾸��ѵ����Һ������鹾�Ъ������� �֧�պ�Ӥ���价����ҡ�ا���ž�ʴ�� ��������ط⸷�зç��蹾�з����� ��Һ㴷���������ѧ�����������繾�����������ط���� ������ǹ����¾�Ъ���վŧ���ҧ��͹

"�Ѫ���һ�Ի�� ��ҧ��¡�ҧ"

���鹿�鹤׹ʵ� ��к��⾸��ѵ����Һ���ɷç�Ԩ�ó����Ի�� ��� ��û�оĵ������ҧ���Թ 㹷ءá����ҷ�����з���������� �֧�ؤ�ŷ���������ͼ�����š���С�з���觡��Ҿ��ͧ�������� ����䩹�ѧ����Ҩ����ؾ��⾸ԭҳ ��� �ѭ�ҷ��е�������繾�оط���� �֧�������˹�ҧ��餧������Ըա�÷��е��������� ���Ǩ���˹�ҧ����������

��й�� �������Թ��Ҹ��Ҫ ���;���Թ��� �ç��Һ��ͻ���Ե��ͧ��к��⾸��ѵ��֧�ӾԳ�Ծ���������Ҵմ����
�� ���˹�觢֧���֧ ����ʹմ��¨֧�Ҵ
�� ���˹�觢֧������͹ ����ʹմ�֧��������§
�� ���˹�觢֧���ʹ� ���֧������͹����ʹմ��ѧ�Դ���§����ШѺ� ��к��⾸��ѵ����ʴѺ���§�Գ�ç�ǹ���֡�֧�Գ�����ͧ���·ç����ҧ��͹ �ç�Ԩ�ó���� �Ѫ���һ�Ի�� ���͡�û�ԺѵԵ���ҧ��¡�ҧ����ͧ ��� ˹�ҧ���⾸ԭҳ

����;�����⾸��ѵ��Ԩ�ó���ѧ��� ���ͧ���ç���������������鹵���ӴѺ ���������ҧ��¿������ó��� �������ҧ��¾�����ó��� ����ອ��Ѥ�շ�� � �������繾��ͧ�������ԡ㹡�÷��ҹ��㹡����ǧ����������� ��Դ������Ҫ���Է�ѵ��Шзç¡��ԡ㹡����ǧ����������� �����ԡ����͡�Ǫ���͡�Ѻ令�ͧ�Ҫ�����ѵ��蠨֧���������ա�ҡ��Ҫ���Է�ѵ���仠 ����������ͧ��������§������ǵ���Ӿѧ�

การบำเพ็ญทุกรกิริยา (อ่านว่า ทุ-กะ-ระ- กิ-ริ-ยา) มักเป็นเรื่องที่ผู้สอนพุทธประวัติทั่วไปจะไม่เข้าใจเท่าไร บางทีก็อธิบายว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา  แต่ที่จริงแล้วเป็นการทรมานตนเอง ซึ่งพระพุทธองค์เรียกว่า “อัตตะกิละมัตถานุโยค” แปลว่าการบำเพ็ญความเพียรเพื่อทรมานตนเอง เป็นวิธีการที่สุดโต่ง ไม่ใช่ทางหลุดพ้นได้  จึงมีคำถามว่า แล้วเหตุไฉนพระพุทธองค์เมื่อก่อนตรัสรู้จึงได้บำเพ็ญทุกรกิริยา  เพราะว่าหลังจากพระองค์ผนวชแล้วทรงได้ศึกษาคำสอน ปฏิบัติตามวิธีการต่างๆ ของนักบวชในสมัยนั้น รวมทั้งการทำทุกรกิริยาด้วย  ซึ่งคิดว่าจะเป็นหนทางบรรลุพระโพธิญาณได้ แต่เมื่อศึกษาและปฏิบัติจนครบถ้วนแล้ว จึงได้เห็นว่าความเชื่อและวิธีการดังกล่าวนั้นไม่ถูกต้อง ไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ เพราะไปยึดติดอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างขาดปัญญา  พระองค์จึงเปลี่ยนแนวทางใหม่คือดำเนินตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง 

ซึ่งการบำเพ็ญทุกรกิริยา พระองค์ทรงปฏิบัติด้วยวิธีต่างๆ ดังต่อไปนี้ -

๑. ลดพระกระยาหารให้น้อยลงตามลำดับจนกระทั่งเหลือเพียงเท่าเมล็ดในของถั่วพูเท่านั้นในหนึ่ง มื้อของแต่ละวัน
๒. เสวยของโสโครก เช่น เสวยมูลของลูกโค หรือพระบังคลหนักของพระองค์เอง เป็นต้น
๓. เอาของโสโครก เช่น ขี้เถ้า ทาพระวรกายโดยไม่ทรงสนาน(อาบน้ำ)เลยเป็นเวลานับปีจนกระทั่ง สิ่งโสโครกเหล่านั้นเกาะติดพระวรกายเป็นแผ่น
๔. กลั้นลมหายใจโดยใช้พระชิวหากดเพดานปากจนหูอื้อตาลายเกิดอาการวิงเวียนพระเศียร

วิเคราะห์
การที่พระองค์ได้ทรงกระทำทุกรกิริยาอยู่ถึง ๖ ปี จนทำให้พระวรกายของพระองค์ลำบาก สกปรก ซูบผอม และอ่อนล้า ในที่สุดพระองค์ทรงระลึกได้ว่า เมื่อคราวที่ทรงพระชนมายุ ๗ ขวบนั้น ทรงเจริญ
อานาปานสติ คือ การกำหนดลมหายใจเข้าออกจนได้บรรลุปฐมฌาน

การเรียงลำดับการบำเพ็ญกิริยาต่างๆ

ที่มา ::: http://www.vicha.kroophra.net/

          แนวการจัดการศึกษาตามข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง เน้นการปฏิรูป 3 ประเด็น คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา สำหรับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาการดำรงชีวิตในทางสายกลาง ซึ่งนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการศึกษาส่วนแนวคิดเกี่ยวกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ที่บูรณาการองค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งทักษะของผู้เรียน โดยมีวิชาแกนและแนวคิดสำคัญเป็นตัวยึดโยงให้ไปสู่ทักษะดังกล่าว และมีระบบสนับสนุน เพื่อให้กระบวนการดำเนินการบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ การจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนนั้นมีการกำหนดยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียน แนวการดำเนินการและภารกิจเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

คำยืมจากภาษาเขมร
           เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั้งททางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม
เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมีอาณาเขตติดต่อกัน
ทำให้เขมรภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่นเขมรก็คล้ายคลึงกับภาษาพูด
ของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดนไทย - กัมพูชาด้วย

ลักษณะภาษาเขมร
           1. ภาษาเขมรเป็นภาษาคำโดด คำส่วนใหญ่มีเพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด
มีพยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง, วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,วรรคตะ ต ถ ท น ธ
วรรคปะ ป ผ พ ภ ม ,เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ
           2. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคำยืมบางคำให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้
           3. ภาษาเขมรมรสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระผสม
2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเดี่ยวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3 เสียง
           4. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกล้ำมากมาย มีพยัญชนะควบกล้ำ 2 เสียง ถึง 85 หน่วย
และพยัญชนะควบกล้ำ 3 เสียง 3 หน่วย

การสร้างคำในภาษาเขมร
           1. การสร้างคำโดยการเติมหน่วยคำเข้าข้างหน้าคำเดิม ทำให้คำเดิมพยางค์เดียวเป็นคำใหม่
2 พยางค์เรียกว่าการลงอุปสรรค บ(บัง,บัน,บำ) เช่น เพ็ญ - บำเพ็ญ ,เกิด - บังเกิด ,โดย-บันโดย
โดยเมื่อ บํ อยู่หน้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม ,บังเกิด,บังอาจ
เมื่อ บํ อยู่หน้าวรรคตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล,บันโดย,บันเดิน
เมื่อ บํ อยู่หน้าวรรคปะ อ่านว่า "บำ" เช่น บำบัด,บำเพ็ญ,บำบวง
           2. การสร้างคำโดยการเติมหน่วยคำเข้ากลาง คำหลัก ทำให้คำเดิมพยางค์เดียว

เป็นคำใหม่ 2 พยางค์เรียกการลงอาคม

                      ก. การลง อำ น เช่น จง- จำนง,ทาย -ทำนาย ,อวย-อำนวย
                      ข. การเติม อำ เช่น กราบ-กำราบ.ตรวจ-ตำรวจ,เปรอ-บำเรอ
                      ค. การเปลี่ยน ข เป็น ก,ฉ เป็น จ และเพิ่มท เช่น ฉัน-จังหัน,แข็ง-กำแหง
                      ง. การเติม ง,น,ร,ล เช่น เรียง-ระเบียง,เรียบ-ระเบียบ,ราย-ระบาย
* เนื่องจากภาษาเขมรพยัญชนะคนละกลุ่ม เมื่อประสมตัวเดียวกันจะออกเสียงต่างกัน ซึ่งต่าง
จากภาษาไทย ลักษณะของภาษาเขมรที่ไทยนำมาใช้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปบ้าง
เสียงบ้างตามแบบไทย

ลักษณะคำเขมรในภาษาไทย
           1. คำที่มาจากภาษาเขมรส่วนมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ ,บำเพ็ญ,กำธร,ถกล
ตรัส
           2. ต้องแปลความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง
           3. เมื่อมาใช้ในภาษาไทย ข แผลงกระ เช่น ขจาย-กระจาย,ขโดง -กระโดง
           4. นิยมใช้อักษรนำแบบออกเสียงตัวนำโดยพยางค์ต้นออกเสียง อะ กึ่งเสียง
พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ผสมอยู่ เช่น สนุก ,สนาน, เสด็จ ถนน,เฉลียว
           5. คำเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น เสวย,บรรทม,เสด็จ,โปรด

ประมวลคำยืมจากภาษาเขมรที่ใช้บ่อย

กฏ
กรง(กฺรง)
กรม(กฺรม)
กรรไตร(กันไตร)
กรวด(กฺรวด)
กระ

กระฉูด
กระชับ แนบแน่น
กระเชอ
กระเดียด
กระโดง

จดไว้เป็นหลักฐาน; ข้อบังคับ
สิ่งที่ทำเป็นซี่ๆ สำหรับขังนก เป็นต้น
ลำดับ, หมวด, หมู่, กอง
เครื่องมือสำหรับตัดโดยใช้หนีบ
หลั่งน้ำอุทิศส่วนกุศล
ชื่อเต่าทะเลหลังเป็นเกร็ดแผ่นโตๆ สีน้ำลายเหลืองปากงุ้ม ขาเป็นพาย
อาการที่ของเหลวพุ่งออกไป
ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก
เอาเข้าสะเอว
ใบเรือ

กระโถน
กระทรวง(กระ-ซวง)
กระท่อม
กระบอง
กระบือ
กระเพาะ
กระแส
กังวล
กัน
กำจัด
กำเดา
กำธร
กำแพง
กำลัง
ขจร(ขะจอน)ภาชนะบ้วนน้ำหรือทิ้งของที่ไม่ต้องภารลงไป
ส่วนราชการเหนือทบวง, กรม
เรือนเล็กทำด้วยไม้หลังคามุงจาก ทำพออยู่ได้
ไม้สั้นสำหรับใช้ตี
ควาย
อวัยวะภายในรูปเป็นถุง มีหน้าที่ย่อยอาหาร
น้ำหรือลมที่ไหล-พัดเรื่อยเป็นแนวไม่ขาดสาย
มีใจพะวงอยู่
โกนให้เสมอกัน
ขับไล่, ปราบปราม
เลือดที่ออกทางจมูก
สนั่น, หวั่นไหว
เครื่องกั้น,
เครื่องล้อมที่ก่อด้วยอิฐ
แรง ; สิ่งที่ทำให้เกิดอำนาจความเข้มแข็ง
ฟุ้งไปในอากาศ

คำยืมจากภาษาจีน

           ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี อีกทั้งยังมีการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าและวัฒนธรรมอันดีงามกันมาช้านานรวมทั้งศิลปะ
สถาปัตยกรรมต่างๆ ด้วย
           ชาวจีนที่เข้ามาค้าขายตลอดจนตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ปัจจุบัน
คนไทยเชื้อสายจีนก็เพิ่มพูนขึ้นมากมาย ภาษาจีนจึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื้อสาย นอกจากนี้ภาษาจีนและภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันจึงทำให้คำภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยจนแทบแยกกันไม่ออก

ลักษณะภาษาจีน
           ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคำโดดและมีเสียงวรรณยุกต์ใช้
เช่นเดียวกัน gมื่อนำคำภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์และสระประสมใช้จึงทำให้สามารถ
ออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่างง่ายดาย คำภาษาจีนยังมีคำที่บอกเพศในตัวเช่นเดียว
กับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย), ซ้อ(พี่สะใภ้), เจ๊(พี่สาว),
           นอกจากนี้การสะกดคำภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา
และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วยประมวลคำยืมจากภาษาจีนที่ใช้บ่อย

ก๊ก
กงเต๊ก
ก๋ง ปู่
กวยจั๊บ
ก๋วยเตี๋ยว
กอเอี๊ยะ
กะหล่ำ
กังฟู
กุ๊น
กุยช่าย
เก๊
เก๋
เก๊ก
เกาลัด
เกาเหลา
เก้าอี้
เกี๊ยว
เกี๊ยะ
โก๋
ขาก๊วย กางเกงจีนขาสั้น
ขิม
เข่ง
ง่วน
งิ้ว
จับกัง
จับฉ่าย
เจ แจ ก็ว่า
เจ๊ง
เจ๊า
เจี๊ยบ
โจ๊ก
ฉำฉา
เฉาก๊วย
แฉ
ชีช้ำ
ซวยพวก, หมู่, เหล่า
การทำบุญให้ผู้ตายพิธีจีนโดยสวดและเผากระดาษรูปต่างๆ มี บ้าน, รถ, คนใช้
ชื่อของกินทำด้วยแป้งข้าวเจ้าหั่นเป็นชิ้นใหญ่
ชื่อของกินทำด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นๆ
ขี้ผึ้งปิดแผลชนิดหนึ่งแบบจีน
ชื่อไม้ล้มลุก มีหลายพันธุ์
ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบจีนเน้นสมาธิ
และความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย
ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่นๆ
แต่ต้องใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียง
ชื่อไม้ล้มลุกคล้ายต้นหอม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้
ปลอมเลียนแบบให้คิดว่าเป็นของแท้ ; ของปลอม
งานเข้าที
วางท่า ; ขับไล่
ไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกผลหนา ไม่มีหนาม เมล็ดเกลี้ยง
แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด ไม่ใช่แกงเผ็ดแกงส้ม
ที่นั่งมีขา ยกย้ายได้มีหลายชนิด ลักษณนามว่า ตัว
ของกินทำด้วยแป้งสาลีเป็นแผ่นห่อหมูสับเป็นต้น
เกือกไม้แบบจีน
ชื่อขนมทำด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมน้ำตาลทรายอัดใส่พิมพ์รูปต่างๆ
ชื่อเครื่องดนตรีจีนรูปคล้ายพระจันทร์ครึ่งซีกใช้ตี
ภาชนะสานมีรูปต่างๆ ทำจากไม้ไผ่
เพลิน, ทำเพลิน, เล่นอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ละครจีนแบบโบราณ, อุปรากรจีน
กรรมกร, ผู้ใช้แรงงาน
ชื่อแกงอย่างจีนใส่ผักหลายชนิด ; ของต่างๆ ที่ปะปนกันไม่เป็นชุด
อาหารที่ไม่มีของสดของคาวสำหรับผู้ถือศีล,
ล้มเลิกกิจการเพราะหมดทุน ; สิ้นสุดเลิกกันไป,
หายกัน(ภาษาการพนัน)
จัด, มาก, ยิ่งนัก
ข้าวต้มที่ใช้ปลายข้าวต้มจนเละ
ต้นก้ามปู,
ไม้เนื้ออ่อนพวกไม้สน
ชื่อขนมคล้ายวุ้นสีดำกินกับน้ำหวาน
แบ, ตีแผ่, เปิดเผย
เศร้าโศก, เสียใจ
เคราะห์ร้าย, อับโชค

ซาลาเปา
เซียน
เซียมซี
ต๋ง
ตะหลิว
ตังเก
ตังฉ่าย
ตังโอ๋
ตั๋ว
ตุน
ตุ๋น
ตุ๊ย
เต้าเจี้ยว
เต้าส่วน
เต้าหู้
เต้าฮวย


ชื่อขนมของจีนทำด้วยแป้งสาลีเป็นลูกกลมมีไส้ข้างในทั้งหวานและเค็ม
ผู้สำเร็จ, ผู้วิเศษ, ผู้ที่เก่ง ชำนาญทางเฉพาะ
ใบทำนายโชคชะตาตามวัด มีเลขเทียบกับเลขบนติ้วที่เสี่ยงได้
ชักเอาเงินไว้จากขาไพ่ที่เป็นผู้กินหรือลูกค้าที่แทงถูกในการพนัน
เครื่องมือใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผัดในกระทะทำด้วยเหล็กมีด้ามจับ
ชื่อเรือต่อใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล มีเสากระโดง มีเก๋ง 2 ชั้น
ผักดองแห้งแบบจีนใช้ปรุงอาหาร
ชื่อไม้ล้มลุกใบเล็กหนา กลิ่นหอม กินได้
บัตรบางอย่างแสดงสิทธิของผู้ใช้
การเก็บหรือกันสิ่งใดๆ ไว้กันขาดแคลน หรือ หวังค้ากำไร
การปรุงอาหารโดยเอาใส่ภาชนะวางในภาชนะที่มีน้ำเอาฝาครอบตั้งไฟ
เอาหมัดกระแทก
ถั่วเหลืองหมักเกลือ ใช้ปรุงอาหาร
ขนมหวานทำด้วยแป้งเปียกกวนกับถั่วเขียวที่เอาเปลือกออกราดกะทิ
ถั่วเหลืองโม่เป็นแป้ง ทำเป็นแผ่นๆ ก้อนๆ
ขนมหวานทำด้วยน้ำถั่วเหลืองแข็งตัว ปรุงด้วยน้ำขิงต้มน้ำตาล

คำยืมจากภาษาสันสกฤต
           ภาษาสันสกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มีกฎเกณฑ์รัดกุมมาก เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็นภาษาที่ผู้มีการศึกษาสูงใช้ และเป็นภาษาทางวรรณคดีใช้เขียนคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์มีผู้ศึกษาน้อยจนเป็นภาษาที่ตายไปในที่สุด
การที่ไทยเรารับเอาลัทธิบางอย่างมาจากศาสนาพราหมณ์ ทำให้ภาษาสันสกฤตได้เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาที่ไพเราะและสุภาพมากจึงมักใช้ในบทร้อยกรองและวรรณคดี 

สระในภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤตมีสระทั้งหมด 14 เสียง สระเดี่ยว 10 เสียง สระประสม 4 เสียง

พยัญชนะวรรคในภาษาบาลีสันสกฤต

กัณฐชะฐานคอวรรคกะก ข ค ฆ งตาลุชะฐานเพดานวรรคจะจ ฉ ช ฌ ญมุทธชะฐานปุ่มเงือกวรรคฏะฏ ฐ ฑ ฒ ณทันตชะฐานฟันวรรคตะต ถ ท ธ นโอษฐชะฐานริมฝีปากวรรคปะป ผ พ ภ มเศษวรรค
ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ ?


การสร้างคำในภาษาสันสกฤต
           1. การสมาส (ดูภาษาบาลี) เช่น ศิลป + ศาสตร์ = ศิลปศาสตร์, มานุษย + วิทยา =
มานุษยวิทยา
           2. การสนธิ (ดูภาษาบาลี) เช่น คณ + อาจารย์ = คณาจารย์, ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์
           3. การใช้อุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วนขยายศัพท์ ทำให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ - วิเทศ, สุ - สุภาษิต, อป - อัปลักษณ์, อา - อารักษ์


ข้อสังเกต
           1. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คำประสมสระไอเมื่อเป็นคำไทยใช้สระแอ (ไวทย - แพทย์)
           2. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส, ฬ) เช่น กรีฑา, ศิลป, ษมา
           3. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รร ใช้ เช่น ปรากฏ, กษัตริย์ ; ครรภ์, จักรวรรดิ

ประมวลคำยืมจากภาษาสันสกฤตที่ใช้บ่อย

กนิษฐ์ น้อง, น้อย (คู่กับเชษฐ์)
กบฎ (กะบด) พญาลิง (กปิ + อินทร)
กรกฎ (กอระกด) ปู ; ชื่อกลุ่มดาวปู
กรม (กฺรม) ลำดับ
กรรณ (กัน) หู, ใบหู
กรรณิกา (กัน-) ดอกไม้
กรรม (กำ) การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปยังอนาคต
กรรมกร (กำมะกอน) ผู้ใช้แรงงาน, คนงาน, ลูกจ้าง (กรฺม+ กร)
กรรมการ (กำมะกาน) คณะบุคคลที่ร่วมกันทำงานที่ได้รับมอบหมาย (กรฺม + การ)
กรรมฐาน (กำมะถาน) ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ
กรรมพันธุ์ (กำมะพัน) มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์, ลักษณะนิสัย-โรคที่สิบมาจากพ่อแม่ (กรฺม + พนฺธุ)
กรรมวาจา (กำมะ-) คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์ (กรฺม + วาจา)
กรรมสิทธิ์ (กำมะสิด) ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (กรฺม + สิทฺธิ)
กระษาปณ์ (-สาบ) เงินตราที่ทำด้วยโลหะ กษาปณ์ก็ใช้
กริยา คำที่แสดงอาการของนาม หรือสรรพนาม
กรีฑา กีฬาประเภทลู่และลาน ; การเล่นสนุก
กฤษฎี (กฺริดสะดี) รูป
กษมา (กะสะมา) ความอดกลั้น, ความอดโทษ ; กล่าวคำขอโทษ
กษัตริย์ (กะสัด) พระเจ้าแผ่นดิน ใช้เต็มคำว่า พระมหากษัตริย์
กันยา นางงาม, สาวรุ่น, สาวน้อย
กัลป์ ระยะเวลานานมาก โบราณถือว่าโลกประลัยครั้งหนึ่งคือสิ้นกัลป์หนึ่ง
กัลปพฤกษ์ (กันละปะพรึก) ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลตามปรารถนา
กัลปาวสาน (กันละปาวะสาน) ที่สุดแห่งระยะแวลาอันยาวนาน (กลฺป + อวสาน)
กาญจนา ทอง
กานต์ เป็นที่รัก (มักเป็นส่วนท้ายของสมาส)
กาพย์ คำร้อยกรองจำพวกหนึ่ง
กายกรรม (กายยะกำ) การทำด้วยกาย ; การตัดตนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง (กาย + กรฺม)
กาลเทศะ (กาละเทสะ) เวลาและสถานที่ ; ความควรไม่ควร
กาลกิณี (กาละ-, กานละ) เสนียดจัญไร, ลักษณะที่เป็นอัปมงคล
กาลี ชั่วร้าย, เสนียดจัญไร
กาสร (กาสอน) ควาย
กำจร (กำจอน) ฟุ้งไปในอากาศ
กีรติ เกียรติ, ชื่อเสียง, ความยกย่องนับถือ
กุลบุตร (กุลละบุด) ลูกชายผู้มีตระกูล
กุลสตรี (กุนละสัดตฺรี) หญิงผู้มีตระกูล
กุศล (-สน) สิ่งที่ดีที่ชอบ, บุญ ; ฉลาด
เกลศ (กะเหฺลด) กิเกส
เกศ (เกด) ผม, หัว
เกษตร (กะเสด) ที่ดิน, ทุ่งนา, ไร่
เกษม (กะเสม) ความสุขสบาย, ความปลอดภัย
เกษียณ (กะเสียน) สิ้นไป
เกษียรสมุทร ทะเลน้ำนม (กฺษีร + สมุทร)
เกียรติ์ (เกียด) ชื่อเสียง, ความยกย่องนับถือ
โกเมน พลอยสีแดงเข้ม
โกรธ (โกฺรด) ขุ่นเคืองใจอย่างแรง ; ไม่พอใจมาก
โกศ (โกด) ที่ใส่ศพนั่งเป็นรูปกลมทรงกระบอกฝาครอบมียอด ; ที่ใส่กระดูกผี
โกศล (โกสน) ฉลาด
คเชนทร์ (คะเชน) พญาช้าง (คช + อินฺทร)
คณาจารย์ อาจารย์ของหมู่คณะ, คณะอาจารย์ (คณ + อาจารฺย)
คณิตศาสตร์ (คะนิดตะสาด) วิชาว่าด้วยการคำนวณ (คณิต + ศาสฺตฺรย)
ครรภ์ (คัน) ท้อง (เฉพาะท้องหญิงมีลูก)
คราส (คฺราด) กิน ; จับ ; ถือ
ครุฑ (คฺรุด) พญานก พาหนะของพระนารายณ์
คฤหบดี (คะรึหะบอดี) ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน
คฤหัสถ์ (คะรึหัด) ฆราวาส, ผู้ครองเรือนที่ไม่ใช่นักบวช
คามภีร์ (คามพี) ลึกซึ้ง
คุปต์ รักษา, คุ้มครอง, ปกครอง
เคหสถาน (เคหะ-) บ้านเรือน, ที่อยู่อาศัยรวมพื้นที่บริเวณที่เป็นที่อยู่
เคารพ (เคารบ) แสดงอาการนับถือ, ไม่ล่วงเกิน
โคตร (โคด) วงศ์ตระกูล, เผ่าพันธุ์, ต้นสกุล
โฆษก (โคสก) ผู้ประกาศ, ผู้โฆษณา
โฆษณา (โคดสะนา) การเผยแพร่หนังสือออกสู่สาธารณชน ; ป่าวประกาศ
โฆษิต กึกก้อง, ป่าวร้อง
จงกรม (จงกฺรม) เดินไปมาในที่ที่กำหนดอย่างพระเจริญกรรมฐานเดิน
จตุร สี่ (ใช้ประกอบหน้าคำอื่น)
จรรยา (จันยา) ความประพฤติ ; กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่ในคณะ (ใช้ทางดี)
จักร (จัก) อาวุธในนิยายรูปเป็นวงกลมมีแฉกโดยรอบ
จักรพรรดิ (จักกระพัด) พระราชาธิราช, ประมุขของจักรวรรดิ

คำยืมจากภาษาอังกฤษ
           ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่วโลก การที่ไทยติดต่อค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร.3 ไทยเริ่มมีการยืมคำจากภาษาอังกฤษมาใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจนเจ้านายและข้าราชการที่ได้ศึกษาภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทำให้ภาษาอังกฤษเข้ามามีบทบาทในภาษาไทยมากขึ้น ร.4 ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษา
ภาษาอังกฤษมากด้วย


ลักษณะภาษาอังกฤษ
           1. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดงลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล (go-went-gone) หรือทำให้คำเปลี่ยนความหมายไป
           2. คำในภาษาอังกฤษมีการลงน้ำหนัก ศัพท์คำเดียวกันถ้าลงน้ำหนักต่างพยางค์กันก็ย่อมเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำ เช่น record - record
           3. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร 26 ตัว สระเดี่ยว(สระแท้) 5 ตัว สระประสมมากมาย
           4. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกล้ำมากมาย ทั้งควบกล้ำ 2 เสียง 3 เสียง 4 เสียง ปรากฏได้ทั้งต้นและท้ายคำ เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ
desk, past, text พยัญชนะท้ายควบ


การสร้างคำในภาษาอังกฤษ
           1. การใช้หน่วยคำเติมทั้งหน้าศัพท์ (prefix) และหลังศัพท์ (suffix) โดยศัพท์นั้นเมื่อเติมอุปสรรค, ปัจจัย จะทำให้เกิดศัพท์ความหมายใหม่ หรือ ความหมายเกี่ยวกันก็ได้ การปัจจัย (suffix) เช่น draw (วาด) - drawer (ลิ้นชัก), write (เขียน) - writer (ผู้เขียน) การเติมอุปสรรค (prefix) เช่น -polite (สุภาพ) - impolite (ไม่สุภาพ), action (การกระทำ) - reaction (การตอบสนอง)
           2. การประสมคำโดยการนำคำศัพท์ 2 คำขึ้นไปมาเรียงติดต่อกันทำให้เกิดคำใหม่ ความหมายกว้างขึ้น อาจใช้ นาม + นาม, นาม + กริยา, นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคำขยายจะอยู่หน้าคำศัพท์ คำประสมอาจเขียนติดหรือแยกกันก็ได้


คำภาษาอังกฤษที่กลายเป็นคำยืมในภาษาไทยมักเกิดการเปลี่ยนแปลงตามระบบเสียงที่
แตกต่างกันโดย
           1. การตัดเสียงพยัญชนะต้นคำและท้ายคำ
           2. การเพิ่มเสียง มีทั้งเสียงสระและเสียงพยัญชนะ โดยเฉพาะสระระหว่างพยัญชนะควบ
เช่น copy - ก๊อปปี้, meeting - มี้ตติ้ง เพิ่มเสียงพยัญชนะ
slang - สแลง, screw - สกรู เพิ่มเสียงสระ
           3. การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะทั้งต้นคำและพยัญชนะท้ายคำ
เช่น g = k-golf = กอล์ฟ, g หรือ j = y-jam = แยม gypsy = ยิปซี
sh = ch-shirt = เชิ้ต, v = w-vote = โหวต เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นคำ
jazz = แจ๊ส, bugalow = บังกาโล เปลี่ยนเสียงพยัญชนะท้ายคำ

ประมวลคำยืมจากภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อย

กราฟ (graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปร
เทียบกับตัวแปรอื่น
ก๊อก (cork) เครื่องปิด-เปิดน้ำจากท่อ หรือภาชนะบรรจุน้ำ
กอซ (gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล
ก๊อปปี้ (copy) กระดาษที่ใช้ทำสำเนา
กอล์ฟ (golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื้นที่ขวางกั้น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่กำหนด
กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย
กะละแม (caramel) ชื่อขนมทำด้วยข้าวเหนียว กะทิ และน้ำตาลกวนจนเหนียวเป็นสีดำ
กัปตัน (captain) นายเรือ
ก๊าซ (gas) อากาศธาตุ
การ์ด (card) บัตร, บัตรเชิญ
การ์ตูน (cartoon) ภาพล้อ, ภาพตลก บางทีเขียนติดต่อกันเป็นเรื่องยาว
กีตาร์ (guitar) เครื่องดีดทำรูปคล้ายซอฝรั่งมี 6 สายใช้มีอดีต
กุ๊ก (cook) พ่อครัวทำกับข้าวฝรั่ง
เกม (game) การเล่น, การแข่งขัน
เกรด (grade) ระดับคะแนน, ชั้นเรียน
เกียร์ (gear) กลอุปกรณ์ส่งผ่านกำลังและการเคลื่อนที่ของเครื่องกล ; ส่วนของรถต่อจากคลัทช์
แก๊ง (gang) กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ความหมายไม่ดี)
แก๊ป (cap) ชื่อหมวกมีกระบังหน้า
โกโก้ (cocoa) ชื่อเครื่องดื่มที่ทำมาจากเมล็ดผลโกโก้
โกล์ (goal) ประตูฟุตบอล
ไกด์ (guide) ผู้นำเที่ยว, คนนำทาง
ครีม (cream) หัวน้ำนมส่วนที่ลอยขึ้นมา
คลาสสิก (classic) ดีถึงขนาด
คลินิก (clinic) สถานพยาบาลของเอกชน ไม่รับผู้ป่วยพักรักษาประจำ
เคลียร์ (clear) ทำให้ชัดเจน, ทำให้หมดสิ้น
คอฟฟีเมต (coffee mate) ครีมเทียมใส่กาแฟ เป็นผงสีขาวรสมัน
คอตตอนบัด (cotton bud) สำลีพันปลายไม้
คอนกรีต (concrete) วัสดุก่อสร้างประกอบด้วย ซีเมนต์ หิน ทราย น้ำผสมกัน เมื่อแห้งจะแข็งมาก