กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง

หมายถึง แหล่งท่องเที่ยวที่มีลักษณะทางธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น โดยอาจมีเรื่องราวทางวัฒธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องโดย การจัดการการท่องเที่ยวในแหล่งนั้น จะต้องมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องมีกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศนั้น มีการจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตสำนึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน

Show
กิจกรรมเวลาว่างที่สร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ มีคุณค่า โดยใช้รายวิชาการศึกษาทั่วไปช่วยให้นิสิตมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ เช่น รู้ว่าการเล่นกีฬานอกจากเล่นให้เป็นแล้วยังต้องมีจริยธรรมและรู้จักน้ำใจนักกีฬา ดูงานสถาปัตยกรรมเป็น  ฟังดนตรีคลาสสิกได้ เป็นต้น นอกจากนี้กิจกรรมนันทนาการยังทำให้เกิดความผ่อนคลาย สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ  การเดินทางเพื่อผ่อนคลายความเครียด แสวงหาประสบการณ์แปลกใหม่  ทำให้มนุษย์มีทัศนคติกว้างไกล เปิดโลกทัศน์ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เกิดความสนุกสนาน และสร้างสัมพันธภาพระหว่างมนุษยชาติ การเรียนรายวิชาศึกษาทั่วไปช่วยให้นิสิตเรียนรู้การท่องเที่ยวแบบต่าง ๆ สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ การเข้าใจในวัฒนธรรม ภาษา และการได้เปิดโลกทัศน์ ซึ่งถือเป็นประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตได้จริง

นันทนาการการท่องเที่ยว (Tourism Recreation) เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในเวลาว่างโดยการเดินทางท่องเที่ยว ทำให้เกิดความผ่อนคลาย สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ และการเสริมสร้างประการณ์ใหม่ๆ นันทนาการการท่องเที่ยวเป็นพื้นฐานปัจจัยหนึ่งในการเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้เข้มแข็งโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ บทความนี้เรื่องนี้ มุ่งเสนอบทบาทของนันทนาการการท่องเที่ยวในการพัฒนาประเทศการนำเสนอเริ่มต้นด้วย การอธิบายความหมายและประเภทของนันทนาการนันทนาการการท่องเที่ยว : ความหมายและความสำคัญและแนวโน้มนันทนาการการท่องเที่ยวของโลกและประเทศไทย นันทนาการการท่องเที่ยวกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) นันทนาการการท่องเที่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและการนำเสนอแนวทางการพัฒนานันทนาการการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาประเทศ

จากความทันสมัยของเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่เพียงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้านเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อวิถีการใช้ชีวิตของผู้คนในสังคม โดยเฉพาะเมืองใหญ่ ๆ กลายเป็นเมืองที่ทันสมัย น่าอยู่ มีความสะดวกสบายจากสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนาของเทคโนโลยี และนั้นคือที่มาของคำว่า “Smart City”

สารบัญ

  • Smart city คืออะไร ?
  • Smart city มีอะไรบ้าง ?
  • หลักการพัฒนา Smart city 7 ด้าน
  • 8 องค์ประกอบ การขับเคลื่อนให้เป็นเมืองอัจฉริยะ Smart City ประจำปี 2022

Smart city คืออะไร ?

Smart city คือ เมืองน่าอยู่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง โดยเน้นการออกแบบที่ดีให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเมือง เป็นการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิตัล หรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร มาเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของบริการชุมชน เพื่อช่วยในการลดต้นทุน ลดการใช้ทรัพยากร จนเกิดเป็นมิติใหม่สำหรับคนเมือง ภายใต้แนวคิดการพัฒนา เมืองน่าอยู่ เมืองทันสมัย ให้ประชาชนในเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข อย่างยั่งยืน

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ทาง : https://www.depa.or.th/th/smart-city-plan

Smart city Thailand

สำหรับ สมาร์ทซิตี้ ประเทศไทย (Smart city Thailand) ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ ได้มีการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในมิติต่าง ๆ เพื่อเป้าหมายเดียวกันคือ การเป็นเมืองน่าอยู่ ทันสมัย ตลอดจนส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการจัดมหกรรมแสดงเทคโนโลยีด้านการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ในงาน Thailand Smart City Week ในรูปแบบ Hybrid Event ขึ้นเป็นครั้งแรกของประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้สัมผัสและเข้าถึงวิถีชีวิตในเมืองอัจฉริยะผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ได้จากทั่วทุกภูมิภาค ในปี 2020 ที่ผ่านมา ตอบรับชีวิตวิถีใหม่ (นิวนอร์มอล) ซึ่งประกอบด้วยโซนกิจกรรมหลัก ดังนี้

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
Credit : SmartCityThailandOffice

จุดจัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล (Smart City PLAYs ) เพื่อให้ประชาชนได้สัมผัส

ประสบการณ์การใช้งาน พร้อมยกระดับคุณภาพชีวิต โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำนวัตกรรมมาสร้างสรรค์คุณค่าร่วมแก่ชุมชนและสังคม โดยชูแนวคิดการยกระดับคุณภาพชีวิตเคียงคู่ธุรกิจ เพื่อการใช้ชีวิตที่ดีและยั่งยืน 

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
Credit : SmartCityThailandOffice

กิจกรรมแบ่งปัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ (Smart City LEARNs) เป็น กิจกรรมแบ่งปัน

แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และองค์ความรู้ด้านการพัฒนาเมืองด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลจากผู้เชี่ยวชาญรวม 24 เซสชัน ผ่านการสัมมนาในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาต่อยอดการเรียนรู้อย่างไม่รู้จบ 

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
Credit : SmartCityThailandOffice

กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมค้นหาแนวทางและโซลูชัน (Smart City HACKs ) เพื่อ

แก้ไขปัญหาของประเทศผ่านการทำเวิร์คชอป โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์และองค์ความรู้จากหลากหลายสาขาที่มาร่วมให้ข้อเสนอแนะและคำแนะนำ เพื่อให้เกิด 12 โซลูชันที่สามารถนำไปใช้แก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างตรงจุด และสามารถต่อยอดเชิงพาณิชย์ต่อไป

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
Credit : SmartCityThailandOffice

การจัดแสดงนิทรรศการ (Smart City MEETs) เป็นการจัดแสดงนิทรรศการจากผู้ประกอบการ

กว่า 50 รายเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่คนไทยได้สัมผัสกับเทคโนโลยีด้านการพัฒนาเมืองอัจฉริยะครั้งแรกจากทั่วทุกภูมิภาค พร้อมสร้างโอกาสในการเจรจาจับคู่ธุรกิจผ่านระบบสนทนาแบบเรียลไทม์


Smart city มีอะไรบ้าง ?

Smart city หรือเมืองอัจฉริยะ คือเมืองน่าอยู่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง ในการสร้างเมืองอัจฉริยะให้เกิดขึ้นได้จริงนั้น จำเป็นจะต้องมีเทคโนโลยีสำคัญ 3 กลุ่มหลัก ได้แก่

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง

1. สมาร์ทกริด (Smart Grid) หรือโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ เป็นการนำเทคโนโลยี

หลายประเภทเข้ามาทำงานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระบบเซนเซอร์และการควบคุมอัตโนมัติเพื่อให้ระบบไฟฟ้ากำลังสามารถรับรู้ข้อมูลสถานะต่าง ๆ ในระบบได้แบบ Real Time รวมถึงระบบสารสนเทศ และระบบการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้โครงข่ายไฟฟ้าสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชาญฉลาดมากขึ้น โดยใช้ทรัพยากรน้อยลง 

2. อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) อาคารต้องเป็นมากกว่าโครงสร้างผนังและหลังคา

สามารถมอบความสะดวกสบายและความปลอดภัยให้แก่ผู้อยู่อาศัยได้มากขึ้น ดังนั้น อาคารจะต้องมีระบบอัจฉริยะที่ทำให้อาคารสามารถตอบสนองต่อความต้องการผู้อยู่อาศัยได้ สามารถเรียนรู้ ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และที่สำคัญคือ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

3. ระบบไอซีทีอัจฉริยะ (Smart ICT : Smart Information and Communication Technology)

ปีนี้อุปกรณ์มากกว่า 5 หมื่นล้านชิ้นจะสามารถเชื่อมต่อกันได้ และ 1 ใน 5 ของอุปกรณ์เหล่านี้จะถูกใช้อยู่ภายในอาคาร นั่นหมายความว่า ข้อมูลจำนวนมากมายมหาศาลจะถูกสร้างขึ้น หัวใจสำคัญคือเราจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาใช้และวิเคราะห์ได้อย่างไร จึงจะทำให้เมืองมีความยืดหยุ่นในการบริหาร ในขณะเดียวกัน ยังสามารถตอบสนองความต้องการในระดับชุมชนและระดับบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เมืองอัจฉริยะจะเกิดขึ้นได้ เมื่อทั้ง 3ส่วนนี้ทำงานผสานกัน


หลักการพัฒนา Smart city 7 ด้าน

สมาร์ตซิตี หรือเมืองอัจฉริยะ มีการพัฒนาในหลายภาคส่วน รวมถึงหน่วยงานราชการ การจราจรและขนส่ง พลังงาน สาธารณสุข โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการจัดการเมืองและชุมชน และการตอบสนองแบบทันท่วงที แบ่งเป็น 7 ประเภทหลักๆ ได้แก่

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง

1. Smart Environment : สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่คำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

และสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นหลัก โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านการเฝ้าระวังภัยพิบัติ  การดูแลสภาพอากาศ จัดการของเสีย และการจัดการน้ำ รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

2. Smart Economy : หรือเศรษฐกิจอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มใน

ระบบเศรษฐกิจและบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ  โดยพบเห็นได้ในหลาย ๆ ด้าน เช่น เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ หรือเมืองเกษตรอัจฉริยะ 

3. Smart Energy : พลังงานอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่มีการบริหารจัดการด้านพลังงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ สร้างความสมดุล ระหว่างการผลิตและการใช้พลังงานในพื้นที่เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานและลดการพึ่งพาพลังงานจากระบบโครงข่ายไฟฟ้าหลัก

4. Smart Governance : การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่มีการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ

หรือบริหารนโยบายสาธารณะ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐอย่างมีคุณภาพ โดยมุ่งเน้น ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องผ่านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เช่น นวัตกรรมบริการที่ทันสมัย

กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง

5. Smart Living : การดำรงชีวิตอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกโดย

คำนึงถึงหลักอารยสถาปัตย์  ให้ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัย และมีความสุขในการดำรงชีวิต

6. Smart Mobility : การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ หมายถึง การบริหารที่มุ่งเน้นพัฒนาระบบ

จราจรและขนส่งอัจฉริยะเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อมโยงของระบบขนส่งและการสัญจรที่หลากหลาย เพิ่มความสะดวกและความปลอดภัยในการเดินทางและขนส่ง รวมถึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

7. Smart People : พลเมืองอัจฉริยะ หมายถึง เมืองที่มุ่งพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ และสิ่งแวดล้อม ที่

เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจตลอดจนเปิดกว้างสำหรับความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการมีส่วนร่วมของประชาชน


กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว มีอะไรบ้าง
Smart City คืออะไร ? เมืองน่าอยู่จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย 

8 องค์ประกอบ การขับเคลื่อนให้เป็นเมืองอัจฉริยะ Smart City ประจำปี 2022

สำหรับวันนี้ ทางเราเว็บไซต์ Thechapt ก็ได้โอกาสดีๆจาก ผู้ที่เชี่ยวชาญด้าน Smart City นั้นก็คือ คุณ ชาญณรงค์ ลีลาบูรณพงศ์ (รองหัวหน้าคณะทำงานกระบี่เมืองอัจฉริยะ) ให้เกียรติแบ่งปันข้อมูลความรู้ ที่ได้รับจากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาจริงๆ ฉบับอัพเดท ปี 2565 ดังนี้

1. พัฒนาเมืองเดิมให้น่าอยู่

ปรับปรุงซ่อมแซมระบบโครงสร้างพื้นฐานดี ระบบสาธารณูปโภคดี การคมนาคมดีตามคุณลักษณะประโยชน์พื้นฐานให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างสะดวกก่อน การให้เทคโนโลยีเข้าถึงก่อนจะไม่มีประโยชน์ เช่นมีแอปพลิเคชั่นนำทาง แต่ถนนหนทางที่ไปไม่มีความสะดวก ถนนลูกรัง เป็นหลุมเป็นบ่อ การติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV ไม่มีการดูแลรักษาต่อเนื่องชำรุดใช้ไม่ได้ก็ไม่มีประโยชน์ ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการแจ้งเหตุแต่คนใช้ไม่เป็น หรือระบบศูนย์ควบคุมปลายทางไม่มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการไม่ได้อย่างทันท่วงที ไม่มีการบูรณาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ไม่มีประโยชน์อะไร

2. ทำเมืองใหม่ให้ทันสมัย

ออกแบบแนวคิดเพิ่มความสมาร์ทให้เมือง โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเสมอไป ไม่จำเป็นต้องใช้จ่ายงบประมาณสูง ไม่ต้องรองบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐอื่นหรือของเอกชน การบริหารงบประมาณภายในก็สามารถทำให้เมืองสมาร์ทได้ เพราะหัวใจของการทำให้เมืองสมาร์ทได้ พื้นฐานคือความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะดวกสบาย ประขาชนเข้าถึงการบริการสาธารณะได้ง่าย การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตื่นรู้ การให้ประชาชนร่วมกันเป็นเจ้าของปัญหา และกระบวนการมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุด

3. ให้ความสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ

มากกว่าการสร้างคุณค่าสร้างความทันสมัย เพราะความเป็นเมืองสมาร์ทซิตี้ไม่จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเสมอไป เทคโนโลยีถือเป็นส่วนประกอบในการเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ความเชื่อถือ การใช้เทคโนโลยีสูง และมีขั้นตอนการเข้าถึงยาก ประชาชนบางกลุ่มอาจใช้ไม่เป็น ต้องพัฒนาคนควบคู่กับเทคโนโลยี

4. การพัฒนาจากเล็กไปใหญ่

โดยกำหนดโซนพื้นที่ให้เป็นต้นแบบนำร่อง นอกจากเป็นการเพิ่มความสมาร์ทให้พื้นที่แล้ว เป็นการสร้างจิตสำนึก สร้างองค์ความรู้ให้กับประชาชน เช่นการกำหนดให้สวนสาธารณะ,ย่านการค้า หรือจุดแลนด์มาร์คของเมือง เป็นโซนพื้นที่ปลอดภัย โซนสุขภาวะ เป็นพื้นที่สร้างวินัย การดูแลจัดการขยะ วินัยจราจร การใช้พื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการ ออกกำลังกาย พักผ่อนหย่อนใจที่มีอุปกรณ์ที่ครบครัน โดยสามารถต่อยอดขยายไปในวงกว้างให้ครอบคลุมเมืองตามลำดับได้ในอนาคต

5. การพัฒนาเมืองไม่ใช่เป็นเรื่องของเทคโนโลยีอย่างเดียว

แต่เป็นเรื่องของประชาชน สร้างองค์ความรู้ สร้างความเชื่อมั่น ความรวดเร็ว สร้างความน่าเชื่อถือ เชื่อใจ ทำจริงได้ผลจริง เพราะหากประชาชนไม่เชื่อใจก็ไม่สามารถพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนได้

6. การพัฒนาให้เป็นเมือง Smart City

นอกจากทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัย มีความสะดวกสบายแล้ว สิ่งสำคัญต้องเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ การสร้างอาชีพและรายได้ให้ประชาชน เพราะจะให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่น และให้ความร่วมมือในทุกมิติ

นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว คืออะไร

นันทนาการการท่องเที่ยว (Tourism Recreation) เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในเวลาว่างโดยการ เดินทางท่องเที่ยว ทาให้เกิดความผ่อนคลาย สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคมและจิตใจ และการเสริมสร้างประการณ์ใหม่ๆ นันทนาการการท่องเที่ยวเป็นพื้นฐานปัจจัยหนึ่งในการเสริมสร้างฐานราก ของสังคมให้เข้มแข็งโดยมุ่งเน้นการ ...

แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ มีอะไรบ้าง

แหล่งนันทนาการที่เป็นแหล่งเรียนรู้ 1. อุทยานแห่งชาติ 7. ธรรมชาติทางทะเลและหาดทราย 2. วนอุทยาน 8. สวนสัตว์ 3. สวนพฤกษศาสตร์ 9. สวนสนุก 4. สวนรุกขชาติ 10. สปา 5. สวนสาธารณะ 11. เซาว์น่า 6. อุทยานประวัติศาสตร์ 12. คาราโอเกะ 13. พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น

นันทนาการมีความสําคัญต่อการท่องเที่ยวอย่างไร

นันทนาการการท่องเที่ยว (Tourism Recreation) เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในเวลาว่างโดยการเดินทางท่องเที่ยว ทำให้เกิดความผ่อนคลาย สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ และการเสริมสร้างประการณ์ใหม่ๆ นันทนาการการท่องเที่ยวเป็นพื้นฐานปัจจัยหนึ่งในการเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้เข้มแข็งโดยมุ่งเน้นการ ...

กิจกรรมสันทนาการ มีอะไรบ้าง

ตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการ.
การเต้นรำ.
การรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม.
การล่าสัตว์และการตกปลา.
การท่องเที่ยว.
เล่นอินเทอร์เน็ต.
อ่านหนังสือ.
เขียนนิยายหรือเรื่องสั้น (ในกรณีที่เขียนโดยไม่ได้ตั้งใจจะนำไปจัดพิมพ์).
การเล่นกีฬาและออกกำลังกาย.