แบบฝึกหัด ของแข็ง ของเหลว แก๊ส pdf

แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์เรื่ อง สถานะของสสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึก ษาปีที ่ 4 มี จุดประสงค์เพื่อประกอบกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการ เรียนรู้สถานะของสาร แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ช่วยกระตุ้น ความสนใจ สนุกในการเรียน ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตามความสามารถของตน มีเจตคติที่ดี ต่อการเรียนวิทยาศาสตร์และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ให้สูงขึ้น ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญ นางยุพาพร หรเสริฐ นายอดุลย์ วงศ์ก้อม และนายประเสริฐ อำพล ประธานชมรมพร้อมคณะแกนนำทีมยกผลสัมฤทธิ์วิทยาศาสตร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 3 ที่ให้คำแนะนำแก้ไขปรับปรุงที่ บกพร่องใน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์นี้ให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้บริหารศูนย์พัฒนา คุณภาพการศึกษาที่ 16 (บ้านหัน) ให้ความอนุเคราะห์ แนะนำ และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ ทำให้ แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ชุดนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดีเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและวงการศึกษาสืบไป

คณะผู้จัดทำ ครูวิทยาศาสตร์ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 3

สารบัญ เรื่อง คำนำ สารบัญ คำชี้แจง คูม่ ือครู คูม่ ือนักเรียน สาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ใบความรู้ที่ 1 แบบฝึกทักษะที่ 1 ใบความรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะที่ 2 แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร บรรณานุกรม ภาคผนวก

หน้า ก ข 1 2 4 5 6 7

คำชี้แจง แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีลำดับขั้นตอน ดังนี้ แบบทดสอบก่อนเรียน ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาตามลำดับขั้นตอน ให้เข้าใจ ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มตามลำดับให้ ต่อเนื่องกัน หากมีข้อสงสัยหรือพบ ปัญหา ครูเป็นผู้แนะนำ เมื่อศึกษาเนื้อหาและทำกิจกรรมครบแล้วให้ทำแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคำตอบกับเฉลย นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยแนวคำตอบก่อนตอบ คำถาม เมื่อทำผิดหรือไม่เข้าใจ ควรย้อนกลับไปศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง

คู่มือครู คำชี้แจงสำหรับผู้สอน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ชั้นประถมศึกษาที่ 4 ได้แบ่งขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที1่ การทดสอบก่อนใช้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร โดยนำ แบบทดสอบ ก่อนเรียนวัดผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นแบบปรนัยจำนวน 20 ข้อ ขั้นที่ 2 การให้ความรู้กับนักเรียน เป็นขั้นที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้้มีความเข้าใจเนื้อหา เข้าใจในเนื้อหา ขั้นที่ 3 แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร มาใช้ในการสร้างความเข้าใจใน เนื้อหา ขั้นที่ 4 ให้้นักเรียนอ่านศึกษา และให้้นักเรียนทำกิจกรรมในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 5 การทดสอบหลังเรียนของทุกเล่ม เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักเรียน

บทบาทผู้สอน 1. ทดสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นักเรียนก่อนเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สถานะของสารด้วยข้อสอบปรนัยจำนวน 20 ข้อ 2. เตรียมแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้้ผู้เรียนซึ่ง ประกอบไปด้วยคู่มือนักเรียนดังนี้ คำชี้แจงสำหรับผู้เรียน เนื้อหา กิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน 3. นักเรียนใช้แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ผู้สอน คอยดูแลชี้แนะและให้้ คำปรึกษา สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล การทำงานกลุ่มเพื่อเสนอแนะและปรับปรุงการ ทำงานให้ดีขึ้น 4. ผู้สอนเก็บคะแนนจากการทำกิจกรรม และการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ตรวจผลงาน นักเรียน และประเมินผล 5. ให้้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร ด้วยข้อสอบปรนัยจำนวน 20 ข้อ ใช้เวลา 30 นาที

คู่มือนักเรียน นักเรียนปฏิบัติดังนี้ 1. ทำาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคลจำนวน 20 ข้อลงในกระดาษคำตอบ 2. ศึกษาเนื้อหาในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร 3. ทำกิจกรรมให้ครบทุกฉบับ 4. ตรวจคำาตอบกิจกรรมจากเฉลย 5. นำผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน มาบันทึกลง ในตาราง เพื่อให้ทราบผลการเรียน และการพัฒนา

สาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคม ตัวชี้วัด ว 2.1 ป.4/1 เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จาก การทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านกระบวนการ ออกแบบ ชิ้นงาน ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จาก ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1 เปรียบเทียบสมบัติของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลวและแก๊ส จากการสังเกต มวล การ ต้องการ ที่อยู่ รูปร่าง และปริมาตร 2. ด้านทักษะะกระบวนการ 2.1 ทักษะทางกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.2 ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.1 การมีวนิ ัย 3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3 มุ่งมั่นในการทำงาน สาระสำคัญ สสาร หมายถึง สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้ำหนัก ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส มีสมบัติแตกต่างกัน ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรคงตัว ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ ของเหลวมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามรูปร่างของภาชนะที่บรรจุ แต่ยังคงมีปริมาตรเท่าเดิม แก๊สมีรูปร่างและปริมาตรเปลี่ยนแปลงไปตามรูปร่างและขนาดของภาชนะที่บรรจุ

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร

นักเรียน ลงในหน้าคาตอบทีถ่ ูกต้อง 1. ข้อใดจัดเป็นสสารทั้งหมด ก. น้ำผึ้ง ไอน้ำ

ข. ควันรถ เหล็ก

ค. ขนนก แสงแดด

ง. เสียงแก๊สออกซิเจน

2. เทน้ำส้มปริมาตร1 ลิตร จากภาชนะที่ 1 ลงในภาชนะที่ 2และ3 ตามลำดับสมบัติใดเปลี่ยนแปลงไป

1 1

ก. สี

2 1

ค. รูปร่าง

3

ข. น้ำหนัก ง. ปริมาตร

3. เด็กหญิงดารันบันทึกผลการทดสอบ X, Y และ Z ในด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและปริมาตร ได้ผลการทดลองดังตาราง ชนิดของสาร

รูปร่าง ปริมาตร คงที่ ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่ x / / y / / z / / ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับสถานะสถานะของสาร X,Y และ Z ตามลำดับ ก. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ข. แก๊ส ของแข็ง ของเหลว ค. ของเหลว ของแข็ง แก๊ส ง. ของเหลว แก๊ส ของแข็ง

4. เมื่อพิจารณาสถานะของสารทั้ง 3 ชนิด A, B และ C ควรเป็นสารใดตามลำดับ ชนิดของสาร x y z

รูปร่าง ปริมาตร คงที่ ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่ / / / / / / -

ก. น้ำเกลือ ทองแดง โอโซน ข. ทองคำ ปรอท LPG ค. NGV ฟิวส์ น้ำปลา ง. อากาศ น้ำเชื่อม สังกะสี 5. จงพิจารณาข้อมูลสมบัติของสารในตารางและรูปแสดงอนุภาคของสาร ดังนี้ สาร ก ข ค

มวล มี มี มี

ปริมาตร ไม่คงที่ คงที่ คงที่

รูปร่าง ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่

จากข้อมูลในตารางและรูปที่กำหนดให้ข้อใด สรุปได้ถูกต้อง ก. สาร ข มีความสัมพันธ์กับรูป B และสมบัติของของแข็ง ข. สาร ก มีความสัมพันธ์กับรูป C และสมบัติของของเหลว ค. สาร ค มีความสัมพันธ์กับรูป B และสมบัติของของเหลว ง. สาร ก, ข และ ค มีความสัมพันธ์กับรูป A, B และ C ตามลำดับ 6. ตัวเลือกใดแสดงการฟุ้งกระจายอนุภาคของแก๊สที่ถูกต้องที่สุด ก.

ค.

ข.

ง.

A

B

C

7. น้ำในสถานะที่เป็นของแข็ง (น้ำแข็ง) ของเหลว(น้ำ ) และแก๊ส(ไอน้ำ ) มีสิ่งใดที่แตกต่างกัน ก. การไหลของอนุภาค ข. การเรียงตัวของอนุภาค ค. การถ่ายเทของอนุภาค ง. การเคลือ่ นที่ของอนุภาค 8. สารใดต่อไปนี้เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊สตามลําดับ ก. น้ำแข็ง น้ำปลา ออกซิเจน ข. น้ำปลา น้ำตาล ออกซิเจน ค. น้ำแข็งแห้ง น้ำปลา ออกซิเจน ง. น้ำปลา ออกซิเจน น้ำแข็งแห้ง 9. สารในข้อใดอยู่ในสถานะเดียวกันทั้งหมด ก. อากาศ ฟิวส์ กำมะถัน ค. ดินน้ำมัน น้ำโคลน น้ำแป้ง

ข. ถ่าน ทองเหลือง เพชร ง. น้ำตาลทราย น้ำส้มส้ม น้ำกลั่น

10. สารใดที่มีสถานะของเหลวทั้งหมดหมด ก. น้ำ น้ำแข็ง ไฮโดรเจน ค. น้ำเชื่อม ปรอท ไนโตรเจน

ข. น้ำมันพืช น้ำเกลือ น้ำตาล ง. ปรอท แอลกอฮอล์ น้ำ

11. โละหะชนิดใดเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ก. เหล็ก ค. ตะกัว่

ข. ทองแดง ง. ปรอท

12. ข้อใดเป็นการจำแนกสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์ ก. ผงชอล์ก แป้งมัน น้ำอบ ข. กาแฟ นมสด น้ำตาลทราย ค. เกลือ น้ำตาลทราย น้ำแข็ง ง. ซีอิ๊ว น้ำปลา เต้าหู้ยี่ 13. พิจารณาข้อมูลสาร 4 ชนิด ดังตาราง ชนิดของสาร สถานะ รสชาด การละลายน้ำ A ของแข็ง เค็ม ละลาย B ของแข็ง หวาน ละลาย C ของเหลว จืด ไม่ละลาย D ของเหลว เปรี้ยว ละลาย บีพบขนมชนิดหนึ่งเป็นของแข็ง มีรสหวาน ละลายน้ำได้ ควรจัดขนมชนิดนี้อยู่ในสารชนิดใด ก. A ข. B ค. C ง. D

14. สารในขอ้ใดมีสถานะเดียวกันทัง้ หมด ก. ตะกัว่ ฟิวส์ไฟฟ้า ปรอท ค. ทิงเจอร์ไอโอดีน ปรอท น้ำ

ข. ทองเหลือง นิกเกิล ปรอท ง. เงิน อากาศ นาก

15. สารในขอ้ใดมีปริมาตรไม่คงที่ ก. สบู่เหลว ค. ขี้เถ้า

ข. นมข้นหวาน ง. ไนโตรเจน

16. ข้อใดคือสมบัติของที่เหมือนกันของ ของแข็งและของเหลว ก. รูปร่าง ข. ปริมาตร ค. เป็นของไหล ง. การจัดเรียงของอนุภาค 17. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารใดเกิดขึ้นเนื่องจากการสูญเสียความร้อน ก. น้ำชาที่ต้มอยู่ในหม้อ ข. เทียนเกิดการอ่อนตัวหลังจุดไฟเพื่อให้ความสว่าง ค. ไอสารสีน้ำตาลรวมตัวเป็นหยดเกาะอยู่ข้างขวดแก้วที่แช่เย็น ง. น้ำแข็งแห้งที่วางไว้นอกตู้เย็นมีควันเกิดขึ้นและมีขนาดเล็ก 18. ข้อใดคือสมบัติของของเหลว ก. รูปร่างคงที่ ปริมาตรคงที่ ข. รูปร่างคงที่ ปริมาตรไม่คงที่ ค. รูปร่างไม่คงที่ ปริมาตรคงที่ ง. รูปร่างไม่คงที่ ปริมาตรไม่คงที่ 19. สารใดสามารถเปลี่ยนรูปร่างไปตาม ภาชนะที่บรรจุ ก. น้ำแข็ง ค. ดินน้ำมัน

ข. น้ำผลไม้ ง. น้ำตาลทราย

20. เด็กหญิงนิอร จำแนกสารดังตาราง สารกล่มุที่ ชนิดของสาร 1 แอลกอฮอล์ เบนซิน น้ำเชื่อม 2 ไฮโดรเจน ออกซิเจน มีเทน 3 น้ำตาล ถ่านไม้ ผงชูรส เด็กหญิงนิอรใช้เกณฑ์ตามข้อใด ก. การใช้ประโยชน์ ค. การติดไฟ

ข. การทำละลาย ง. สถานะ

ใบความรู้ที่ 1 สสาร

สสาร ( Matter )

คือสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามาสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆที่ อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือมองไม่เห็นก็ ได้ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรานั้น ล้วนเป็น สสาร ทั้งสิ้น เช่น อากาศ หิน ดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์ บ้าน รถ หรือแม้กระทั้งตัวเราเองเป็นต้น

สำร ( Substance )

คือสสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอน สารทุกชนิดจะมีลักษณะ เฉพาะตัวที่สามารถนำมาใช้ระบุชนิดของสาร ลักษณะเฉพาะตัวนี้เรียกว่า สมบัติของสาร สมบัติของสาร

หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เช่น เนื้อสาร สี กลิ่น รส การนำไฟฟ้า การละลายน้ำ จุด เดือด จุดหลอมเหลว ความเป็นกรด – เบส เป็นต้น สมบัติของสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพ หรือสมบัติทางฟิสิกส์ ( Physical roperties ) หมายถึง สมบัติของสารที่สามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองที่ไม่ เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี เช่น สถานะ เนื้อสาร สี กลิ่น รส ความแข็ง ความอ่อน ความเหนียว ความ หนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนำไฟฟ้า การละลายน้ำ ความถ่วงจำเพาะ ความร้อนแฝง เป็นต้น ซึ่งสมบัตทิ างกายภาพสามารถสังเกตลักษณะ ทางกายภาพของสารได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสหรือ ใช้อุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น เช่น เครื่องวัดความหนาแน่น เครื่องวัดการนำไฟฟ้า เครื่องวัดความชื้น เป็นต้น

สมบัติทางเคมี ( Chemical Properties )

หมายถึง สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารที่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดขึ้น ซึ่งสารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติ แตกต่างไปจากเดิม เช่น การติดไฟ การผุกร่อน การทำปฏิกิริยากับน้ำ การทำปฏิกิริยากับกรด – เบส การ เกิดสนิม การเน่าของผัก ผลไม้ เป็นต้น

แบบฝึกทักษะที่ 1 สสาร คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนนำสิ่งที่กำหนดให้ต่อไปนีเ้ ติมลงในกรอบสี่เหลี่ยม เพื่อจำแนกว่ำสิ่งใด จัดเป็ นสำร สิ่งใดไม่ใช่สำร

นำ้ ตำลทรำย

ทองแดง

แอลกอฮอล์

ควำมร้อน

แสงแดด

หินปูน

นำ้ เชื่อม

เสียง

ด่ำงดับทิม

นำ้ อัดลม

ลม

ดิน

สิ่งที่จัดเป็นสาร

สิ่งที่ไม่ใช่สาร

สรุ ปผลการวิเคราะห์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………...………………………………………………………………………………

ใบความรู้ที่ 2 สถานะของสาร สถำนะของสำร

เมื่อจำแนกสารโดยใช้การจัดเรียงตัวของอนุภาคที่เป็นองค์ประกอบเป็นเกณฑ์ สารแบ่งออกเป็น 3 สถานะ ดังนี้

1. ของแข็ง ( Solid )

หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างและปริมาตรคงที่ มีรูปร่างเฉพาะตัว เนื่องจากอนุภาคใน ของแข็งจัดเรียงชิดติดกันและอัดแน่นอย่างมีระเบียบ มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกันสูงมากทำให้อนุภาค ไม่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ยาก เช่น ไม้ หิน เหล็ก ทองคำ ดิน ทราย พลาสติก กระดาษ น้ำตาล เกลือแกง ตะกั่ว ถ่านไฟฉาย ยางรถยนต์ เป็นต้น

ผลึกของเกลือแกงและการจัดเรียงอนุภาค

ทราย

พลาส ติก

ไม้ ตัวอย่างสสารอยู่ในสถานะ ของแข็ง

หิน

เหล็ก ยาง

หมายถึงสารที่มีปริมาตรคงที่ แต่รูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ 2. ของเหลว ( Liquid ) สามารถไหลได้ เนื่องจากอนุภาคในของเหลวอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง อนุภาคไม่ยึดติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกัน และกันสามารถทะลุผ่านได้ เช่น น้ำ แอลกอฮอล์ น้ำมันพืช น้ำมันเบนซิน น้ำส้มสายชู น้ำหมึก น้ำอัดลม น้ำปลา เป็นต้น การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว

นมสด

น้ ำ

น้ ำมันพืช น้ ำยำล้ำงห้องน้ ำ แอลกอฮอล์ น้ ำหวำน

น้ ำชำ ตัวอย่างสสาร ในสถานะของเหลว ของเหลว

น้ ำส้ม น้ ำปลำ

น้ ำส้มสำยชู

น้ ำมะนำว

3. แก๊ส ( Gas )

หมายถึงสารที่มีรูปร่าง และปริมาตรไม่คงที่ เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ มีลักษณะฟุ้งกระจายเต็ม ภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไปได้ในทุก ทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคน้อยมาก สามารถทะลุผ่านได้ง่ าย และบีบอัดให้เล็กลงได้งา่ ย เช่น อากาศ แก๊สออกซิเจน แก๊สหุงต้ม ไอน้ำ เป็นต้น

แก๊สและการจัดเรียงอนุภาค

แก๊สมีเทน แก๊สฮีเลียม

ตัวอย่างสสารอยู่ในสถานะ ของแก๊ส

แก๊สออกชิเจน

ตารางแสดงความแตกต่างของสารในสถานะต่างๆ ลักษณะ

ของแข็ง

ของเหลว

แก๊ส

ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง

มีรูปร่างตาทภาชนะที่ใส่

มีรูปร่างกระจายเต็ม

สมบัติของสาร รูปร่าง

ภาชนะ ที่บรรจุ การเคลื่อนที่

อยู่กับที่

ไหลได้

ฟุ้งกระจ่ายอย่างรวดเร็ว

การจัดเรียงของ อนุภาค

เรียงชิดติดกัน และอัด

อนุภาคอยู่ห่างกัน

อนุภาคของแก๊สอยู่ ห่าง

แน่นอย่าง มีระเบียบ

มากกว่าของแข็ง

กันมากกว่า ของเหลว

กดอัดหรือบีบให้

กดอัดหรือบีบให้

กดอัดหรือบีบให้เล็ก

เล็กลง ไม่ได้

เล็กลงได้น้อยมาก

ได้ง่าย

ระหว่างอนุภาค

มาก

น้อย

คงที่

ไม่คงที่

การกดอัด

แรงยึดเหนี่ยว

มากที่สุด ปริมาตร

คงที่

แบบฝึกทักษะที่ 2 สถานะของสาร

คำชี้แจง 1. ให้เติมข้อความให้สมบูรณ์

2. ให้นักเรียนจำแนกสถานะของสารที่กำหนดให้ โดยทำเครื่องหมาย (√) ลงในตาราง

ชื่อสำร

สถำนะของสำร ของแข็ง

1. น้ำตาลทราย 2. น้ำเชื่อม 3. เกลือแกง 4. น้ำส้มสายชู 5. ลูกเหม็น 6. น้ำกลั่น 7. น้ำแข็ง 8. แก๊สหุงต้ม 9. ทองแดง 10. อากาศ 11. ไม้ 12. นมข้น 13. ยางลบ 14. ออกชิเจน 15. ไอน้ำ

ของเหลว

แก๊ส

3. ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1) สารแบ่งเป็นกี่สถานะ อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 2) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแข็ง พร้อมยกตัวอย่างสาร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 3) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของเหลว พร้อมยกตัวอย่างสาร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 4) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแก๊ส พร้อมยกตัวอย่างสาร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 5) จงเขียนแบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแข็ง ของเหลวและ แก๊ส

ของแข็ง

ของเหลว

แก๊ส

4. ให้จำแนกกลุ่มสำร โดยใช้สถำนะเป็ นเกณฑ์ ไอน้ำ

น้ำตาลทราย

ออกซิเจน

ผงฟู

แอลกอฮอล์

น้ำเชื่อม

น้ำอบ

ผงชูรส

ลูกเหม็น

เกลือ

สบู่

ผงซักฟอก

นมสด

น้ำแข็ง

สบู่เหลว

ขี้เถ้า

……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………..

แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องสถานะของสาร นักเรียน ลงในหน้าคำตอบที่ถูกต้อง 1. เด็กหญิงนิอร จำแนกสารดังตาราง สารกล่มุที่ 1 2 3 เด็กหญิงนิอรใช้เกณฑ์ตามข้อใด ก. การใช้ประโยชน์ ค. การติดไฟ

ชนิดของสาร แอลกอฮอล์ เบนซิน น้ำเชื่อม ไฮโดรเจน ออกซิเจน มีเทน น้ำตาล ถ่านไม้ ผงชูรส

ข. การทำละลาย ง. สถานะ

2. ข้อใดคือสมบัติของที่เหมือนกันของ ของแข็งและของเหลว ก. รูปร่าง ข. ปริมาตร ค. เป็นของไหล ง. การจัดเรียงของอนุภาค 3. ข้อใดคือสมบัติของของเหลว ก. รูปร่างไม่คงที่ ปริมาตรคงที่ ค. รูปร่างคงที่ ปริมาตรคงที่

ข. รูปร่างคงที่ ปริมาตรไม่คงที่ ง. รูปร่างไม่คงที่ ปริมาตรไม่คงที่

4. เมื่อพิจารณาสถานะของสารทั้ง 3 ชนิด A, B และ C ควรเป็นสารใดตามลำดับ ชนิดของสาร รูปร่าง ปริมาตร คงที่ ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่ A / / B / / C / / ก. น้ำเกลือ ทองแดง โอโซน ค. NGV ฟิวส์ น้ำปลา

ข. ทองคำ ปรอท LPG ง. อากาศ น้ำเชื่อม สังกะสี

5. จากข้อมูลในตารางและรูปที่กำหนดให้ข้อใด สรุปได้ถูกต้อง ก. สาร ข มีความสัมพันธ์กับรูป B และสมบัติของของแข็ง ข. สาร ก มีความสัมพันธ์กับรูป C และสมบัติของของเหลว ค. สาร ค มีความสัมพันธ์กับรูป B และสมบัติของของเหลว ง. สาร ก, ข และ ค มีความสัมพันธ์กับรูป A, B และ C ตามลำดับ 6. ตัวเลือกใดแสดงการฟุ้งกระจายอนุภาคของแก๊สที่ถูกต้องที่สุด ก.

ค.

ข.

ง.

7. น้ำในสถานะที่เป็นของแข็ง (น้ำแข็ง) ของเหล ว(น้ำ ) และแก๊ส (ไอน้ำ ) มีสิ่งใดที่แตกต่างกัน ก. การไหลของอนุภาค ค. การเคลื่อนที่ของอนุภาค

ข. การถ่ายเทของอนุภาค ง. การเรียงตัวของอนุภาค

8. สารใดสามารถเปลี่ยนรูปร่างไปตาม ภาชนะที่บรรจุ ก. น้ำผลไม้ ข. น้ำแข็ง ค. ดินน้ำมัน ง. น้ำตาลทราย 9.สารใดที่มีสถานะของเหลวทั้งหมดหมด ก. น้ำ น้ำแข็ง ไฮโดรเจน ค. น้ำเชื่อม ปรอท ไนโตรเจน

ข. ปรอท แอลกอฮอล์ น้ำ ง. น้ำมันพืช น้ำเกลือ น้ำตาล

10. พิจารณาข้อมูลสาร 4 ชนิด ดังตาราง ชนิดของสาร A B C D

สถานะ ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลว

รสชาด เค็ม หวาน จืด เปรี้ยว

การละลายน้ำ ละลาย ละลาย ไม่ละลาย ละลาย

บีพบขนมชนิดหนึ่งเป็นของแข็ง มีรสหวาน ละลายน้ำได้ ควรจัดขนมชนิดนี้อยู่ในสารชนิดใด ก. A ข. B ค. C ง. D 11. โละหะชนิดใดเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ก. เหล็ก ค. ตะกัว่

ข. ปรอท ง. ทองแดง

12. จงพิจารณาข้อมูลสมบัติของสารในตารางและรูปแสดงอนุภาคของสาร ดังนี้ สาร ก ข ค

มวล มี มี มี

ปริมาตร ไม่คงที่ คงที่ คงที่

ข้อใดเป็นการจำแนกสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์ ก. ผงชอล์ก แป้งมัน น้ำอบ ค. ซีอิ๊ว น้ำปลา เต้าหู้ยี่ 13. สารในข้อใดอยู่ในสถานะเดียวกันทั้งหมด ก. อากาศ ฟิวส์ กำมะถัน ค. ดินน้ำมัน น้ำโคลน น้ำแป้ง

รูปร่าง ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่

A

ข. กาแฟ นมสด น้ำตาลทราย ง. เกลือ น้ำตาลทราย น้ำแข็ง

ข. ถ่าน ทองเหลือง เพชร ง. น้ำตาลทราย น้ำส้มส้ม น้ำกลั่น

B

C

14. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารใดเกิดขึ้นเนื่องจากการสูญเสียความร้อน ก. น้ำชาที่ต้มอยู่ในหม้อ ข. เทียนเกิดการอ่อนตัวหลังจุดไฟเพื่อให้ความสว่าง ค. ไอสารสีน้ำตาลรวมตัวเป็นหยดเกาะอยู่ข้างขวดแก้วที่แช่เย็น ง. น้ำแข็งแห้งที่วางไว้นอกตู้เย็นมีควันเกิดขึ้นและมีขนาดเล็ก 15. ข้อใดจัดเป็นสสารทั้งหมด ก. น้ำผึ้ง ไอน้ำ

ข. ควันรถ เหล็ก

ค. ขนนก แสงแดด

ง. เสียงแก๊สออกซิเจน

16.เทน้ำส้มปริมาตร1 ลิตร จากภาชนะที่ 1 ลงในภาชนะที่ 2และ 3 ตามลำดับ สมบัติใดเปลี่ยนแปลงไป

1 1

ก. สี

2 1

ค. รูปร่าง 17. สารในขอ้ใดมีสถานะเดียวกันทัง้ หมด ก. ตะกัว่ ฟิวส์ไฟฟ้า ปรอท ค. ทิงเจอร์ไอโอดีน ปรอท น้ำ

3

ข. น้ำหนัก ง. ปริมาตร

ข. ทองเหลือง นิกเกิล ปรอท ง. เงิน อากาศ นาก

18. เด็กหญิงดารันบันทึกผลการทดสอบ X, Y และ Z ในด้านการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและปริมาตร ได้ผลการทดลองดังตาราง ชนิดของสาร x y z

รูปร่าง ปริมาตร คงที่ ไม่คงที่ คงที่ ไม่คงที่ / / / / / /

ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับสถานะสถานะของสาร X,Y และ Z ตามลำดับ ก. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ข. แก๊ส ของแข็ง ของเหลว ค. ของเหลว ของแข็ง แก๊ส ง. ของเหลว แก๊ส ของแข็ง 19. สารใดต่อไปนี้เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊สตามลําดับ ก. น้ำแข็ง น้ำปลา ออกซิเจน ข. น้ำปลา น้ำตาล ออกซิเจน ค. น้ำแข็งแห้ง น้ำปลา ออกซิเจน ง. น้ำปลา ออกซิเจน น้ำแข็งแห้ง 20. สารในขอ้ใดมีปริมาตรไม่คงที่ ก. สบู่เหลว ค. ขี้เถ้า

ข. นมข้นหวาน ง. ไนโตรเจน

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเริมการสอนวิทยาศาสตร์. (2562). หนังสือเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว. สถาบันส่งเริมการสอนวิทยาศาสตร์. (2562). แบบบันทึกกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีท4ี่ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์และคนอื่นๆ. (2563). หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุภาพวิชาการ. http://academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1604029241_example.pdf (สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2564) http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/State&Changing.htm (สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2564) https://sites.google.com/site/kroosirirat/satha (สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม2564) https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/33062 (สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม2564) https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7078-2017 (สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม2564) https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/8793-3 (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม2564) http://www.thaischool1.in.th/_files_school/90070003/workteacher/90070003_1_20180507194323.pdf (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม2564)

ภาคผนวก

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน สถานะของสาร ข้อที่

คำตอบ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1 สสาร คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนนำสิ่งที่กำหนดให้ต่อไปนีเ้ ติมลงในกรอบสี่เหลี่ยม เพื่อจำแนกว่ำสิ่งใด จัดเป็ นสำร สิ่งใดไม่ใช่สำร

นำ้ ตำลทรำย

ทองแดง

แอลกอฮอล์

ควำมร้อน

แสงแดด

หินปูน

นำ้ เชื่อม

เสียง

ด่ำงดับทิม

นำ้ อัดลม

ลม

ดิน

สิ่งที่จัดเป็นสาร น้ำตาลทราย ทองแดง น้ำอัดลม แอลกอฮอล์ หินปูน ด่างทับทิม ดิน ลม

สิ่งที่ไม่ใช่สาร เสียง แสงแดด ความร้อน

สรุ ปผลการวิเคราะห์

เราสามารถจำแนกสิ่งที่อยู่รอบตัวเราได้2 ประเภท คือ สิ่งที่เป็นสาร เป็นสิ่งที่มีมวล มี ตัวตน ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัส และสิ่งที่ไม่ใช่สารจะมีคุณสมบัติตรงกันข้ามกับ สิ่งที่เรียกว่า สาร

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2 สถานะของสาร

คำชี้แจง 1. ให้เติมข้อควำมให้สมบูรณ์

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน สถานะของสาร

2. ให้นักเรียนจำแนกสถานะของสารที่กำหนดให้ โดยทำเครื่องหมาย (√) ลงในตาราง

ชื่อสำร

สถำนะของสำร ของแข็ง

1. น้ำตาลทราย

√ √

4. น้ำส้มสายชู 5. ลูกเหม็น

√ √

6. น้ำกลั่น 7. น้ำแข็ง

√ √

8. แก๊สหุงต้ม 9. ทองแดง

√ √

10. อากาศ 11. ไม้

√ √

12. นมข้น 13. ยางลบ

แก๊ส

2. น้ำเชื่อม 3. เกลือแกง

ของเหลว

√ √

14. ออกชิเจน

15. ไอน้ำ

3. ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1) สารแบ่งเป็นกี่สถานะ อะไรบ้าง สำรแบ่งออกเป็ น 3 สถำนะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 2) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแข็ง พร้อมยกตัวอย่างสาร สำรที่อนุภำคจะอยูช่ ิดกัน แรงยึดเหนี่ยวอนุภำคสูง ทำให้อนุภำคไม่สำมำรถเคลื่อนที่ได้ มีรูปร่ ำงและ ปริ มำตรที่คงที่แน่นอน ไม่ข้ นึ กับภำชนะที่บรรจุ ได้แก่น้ ำตำลทรำย เกลือแกง ลูกเหม็น น้ ำแข็ง และทองแดง 3) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของเหลว พร้อมยกตัวอย่างสาร สำรที่อนุภำคอยูห่ ่ำงกันเล็กน้อย แรงยึดเหนี่ยวอนุภำคน้อย ทำให้อนุภำคเคลื่อนที่ได้ รู ปร่ ำงไม่ แน่นอน เปลี่ยนตำมภำชนะที่บรรจุ แต่ปริ มำตรคงที่ ได้แก่ น้ ำเชื่อมน้ ำส้มสำยชูและน้ ำกลัน่ 4) จงอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแก๊ส พร้อมยกตัวอย่างสาร สำรที่มีอนุภำคจะอยูห่ ่ำงกัน แรงยึดเหนี่ยวมีค่ำน้อยมำก ทำให้เคลื่อนที่อนุภำคเคลื่อนที่ได้อย่ำง อิสระ มีปริ มำตรและรู ปร่ ำงตำมภำชนะที่บรรจุ ได้แก่ ไอน้ ำ ออกชิเจน 5) จงเขียนแบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสารที่มีสถานะของแข็ง ของเหลวและ แก๊ส

ของแข็ง

ของเหลว

แก๊ส

4. ให้จำแนกกลุ่มสำร โดยใช้สถำนะเป็ นเกณฑ์ ไอน้ำ

น้ำตาลทราย

ออกซิเจน

ผงฟู

แอลกอฮอล์

น้ำเชื่อม

น้ำอบ

ผงชูรส

ลูกเหม็น

เกลือ

สบู่

ผงซักฟอก

นมสด

น้ำแข็ง

สบู่เหลว

ขี้เถ้า

จัดกลุ่มได้ดงั นี้สำรที่มีลกั ษณะของเหลว - น้ ำ เชื่อม น้ำ อบ นมสด สบู่เหลว แอลกอฮอล์ สำรที่มีลกั ษณะของแข็ง - น้ ำตำลทรำย ผงฟู ผงชูรส ลูกเหม็น เกลือ ผงซักฟอก น้ ำแข็ง ขี้เถ้ำ สำรที่มีลกัษณะแก๊ส – ไอน้ ำ ออกซิเจน

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน สถานะของสาร

ข้อที่

สถำนะของสำร

คำตอบ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สถานะของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ-สกุล.............................................................ชั้น...............เลขที่................ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องแล้วกากบาท X ลงในกระดาษคำตอบ ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเเรียน เรื่อง สถานะของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชื่อ-สกุล.............................................................ชั้น...............เลขที่................ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องแล้วกากบาท X ลงในกระดาษคำตอบ ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

คณะที่ปรึกษา 1. ดร.สนอง สุดสะอาด ผู้อำนวยการ สพป.ขอนแก่นเขต 3 2. นายสุเนตร สารบัณทิตกุล ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 3. นายประเสริฐ อำพล ประธานชมรมครูวิทยาศาสตร์สพป.ขอนแก่นเขต 3 4. ดร.ยุพาพร หรเสริฐ ศึกษานิเทศก์ วิทยาศาสตร์ 5. ดร.อดุลย์ วงศ์ก้อม ศึกษานิเทศก์ วิทยาศาสตร์ 6. นางภัทราภรณ์ เบญจวัฒนานนท์ ศึกษานิเทศก์ วิทยาศาสตร์ 7. นายปริญา ศึกษานิเทศก์ ศูนย์ฯที่ 16

คณะทำงาน ครูวิทยาศาสตร์ ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 (บ้านหัน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 1. นางวิมาน บัวองค์