โครงงาน ปุ๋ยหมัก จาก ใบไม้ แห้ง บท ที่ 2

โครงงาน เร่ือง ป๋ยุ นา้ ชวี ภาพจากเศษอาหาร

จัดทา้ โดย

นายธนกร ทมิ แดง รหัส 5913 – 00002 – 8

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

กศน.ตาบลแม่สลิด

ครทู ปี่ รกึ ษา
นางสาวธฤดี คามาวงษ์

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อ้าเภอบ้านตาก
ส้านกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ตาก

สา้ นกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ส้านกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชื่อโครงงาน : ปุ๋ยน้าชีวภาพจากเศษอาหาร
จัดท้าโดย : นายธนกร ทมิ แดง

ครทู ี่ปรกึ ษา : นางสาวธฤดี คามาวงษ์
สถานทศ่ี ึกษา : กศน.ตาบลแม่สลดิ

บทคัดย่อ

จากการทดลองทาโครงงาน เร่อื งปุ๋ยน้าชวี ภาพจากเศษอาหาร เพอ่ื ศกึ ษาวิธกี ารทาปยุ๋ นา้ ชวี ภาพ
จากเศษอาหารในครวั เรอื น เพอื่ ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในครวั เรอื น เพอ่ื ใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์

โดยการนานาสว่ นผสมท้งั หมดคลุกเคล้ากนั ในถังแลว้ ปิดฝา หมักไวใ้ นทรี่ ม่ เปน็ เวลา 1 - 2 เดอื น
คนสว่ นผสมอย่างสม่าเสมอในระหวา่ งการหมกั เพือ่ ให้เกิดการย่อยสลายดขี ้ึน

สรปุ ไดป้ ุ๋ยนา้ ชวี ภาพ หรือทเ่ี รยี กว่านา้ หมกั จุลินทรีย์ ขยะหอม ใชข้ ยะท่ีเหลือใช้จากครวั เรือนมาทา
ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด ใชแ้ ทนปยุ๋ เคมี

กิตตกิ รรมประกาศ

การทาโครงงาน เรื่อง ป๋ยุ นา้ ชวี ภาพจากเศษอาหาร ในครั้งนสี้ าเรจ็ ได้เพราะ หมอดินประจาหมบู่ า้ น
ท่ีใหค้ าปรกึ ษาและเอ้ือเฟื้อวสั ดอุ ปุ กรณต์ ่างๆในการทาและได้รบั คาแนะนาจากนางสาวธฤดี คามาวงษ์ ครู กศน.ตาบล
แม่สลดิ รวมไปถงึ คุณพอ่ คุณแม่ เพอื่ น พ่ี ทีใ่ หค้ าแนะนาในการทาโครงงานคร้ังน้ี

จงึ ขอขอบพระคณุ ไว้ ณ ทนี่ ้ี

นายธนกร ทิมแดง

ค้านา้

โครงงาน เร่อื ง ปุ๋ยน้าชวี ภาพจากเศษอาหาร เป็นการนาเศษอาหารและพชื ผักท่เี หลอื ใชใ้ นครัวเรือน
มาทาใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ เป็นการทาปุ๋ยน้าท่ีสามารถทาเองได้งา่ ย ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ ชว่ ยฝกึ สมาธใิ น
การทางาน เสริมสร้างความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถนาความรู้ไปปรับเปลย่ี นและสามารถช่วยให้ลดรายจ่ายใน
ครัวเรือนได้

สารบญั ง

บทคดั ย่อ หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
คานา ข
สารบญั ค
บทท่ี 1 บทนา ง
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 1
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การ 2
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 8
บทที่ 5 สรปุ และอภปิ รายผลการทดลอง 9
10
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก 11
12

1

บทที่ 1
บทน้า

ที่มาและความสา้ คญั
ในปจั จบุ นั การดารงชีวติ ของคนเรานน้ั พงึ่ พา วสั ดุทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตทางโรงงานอตุ สหกรรม

ท่ีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของเราเป็นอย่างมากและมีแนวโน้มการใช้งานท่ีเพ่ิมมากข้ึน ปุ๋ยเคมีหรือ
ป๋ยุ วิทยาศาสตร์ทใ่ี ชใ้ ส่พชื ผัก ผลไมใ้ นทอ้ งไร่ ทอ้ งนาก็เกดิ มาจากกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เหมอื นกัน

ดงั นั้นผู้จัดทา จึงแนวคิดท่ีจะนาพชื ผกั ท่ีเหลือจากการประกอบอาหารและเศษอาหารท่เี หลือจาก
การรบั ประทานในแต่ละมอื้ แตล่ ะวัน เพ่ือนามาทาเป็นปยุ๋ น้าชีวภาพ เปน็ การช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและยังช่วยรักษา
สิ่งแวดล้อมในชุมชน

วัตถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ศึกษาวธิ ีการทาปยุ๋ นา้ ชีวภาพจากเศษอาหารในครวั เรือน
2. เพื่อประหยัดค่าใชจ้ ่ายในครวั เรือน
3. เพื่อใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์

สมมตฐิ าน
เศษอาหารสามารถนามาทาปยุ๋ น้าหมกั ชีวภาพในการปรบั ปรุงดิน

ตัวแปรท่ีเก่ียวขอ้ ง เศษอาหาร
ตัวแปรตน้
ปยุ๋ นา้ หมกั ชวี ภาพ
ตวั แปรตาม ปริมาณกากน้าตาล สารชวี ภาพ
ตัวแปรควบคมุ

นิยามเชิงปฏิบตั ิการ
เศษอาหาร หมายถงึ พืช ผกั ทเี่ หลือจากการประกอบอาหาร ขยะหรือส่ิงของท่เี หลอื จากการรบั ประทาน
สารชีวภาพ(EM) หมายถงึ หมายถงึ EM จากโรงงาน หรอื เอเยน่ ต์ หรือ ผจู้ าหนา่ ยรายย่อย ท่ีไมไ่ ด้ทาการแปรสภาพ

การใช้ EM แบบนา้ มี 2 วธิ ี
1. EM สด ราคาละ 90 บาท ซ้อื มาใชไ้ ดเ้ ลย ใช้ผสมเท่าไรก็ได้ 1: 1;100 ; 200 ; 500 ; 1,000
2. EM แบบขยาย คอื การทาใหจ้ ลุ ินทรีย์มคี วามแข็งแรง และเพมิ่ จานวนมากขนึ้ โดยการจดั สภาพแวดลอ้ ม

ให้ เหมาะสมและใหอ้ าหาร ซึ่งมสี ว่ นผสมดงั น้ี
EM 1 ลติ ร ราคา 90 บาท
กากน้าตาล 1 ก.ก. ราคา 5 บาท

นา้ สะอาด 20 ลติ ร ราคา - บาท
รวม 22 ลติ ร รวมราคา 95 บาท

2

บทที่ 2
เอกสารท่เี กี่ยวข้อง

ปยุ๋ นา้ ชีวภาพ หรือท่เี รียกว่า นา้ หมักจุลนิ ทรีย์ ขยะหอม นา้ สกดั ชวี ภาพ หรือ EM (Effective Microorganisms)
คือ สารละลายทไี่ ดจ้ ากการยอ่ ยสลายเศษวสั ดเุ หลือใชจ้ ากสว่ นตา่ งๆของพชื หรอื สตั ว์ โดยการหมกั ในสภาพไรอ้ ากาศ
ป๋ยุ นา้ ชีวภาพทห่ี มกั จนไดท้ ่ีแลว้ จะมีสีน้าตาลเขม้ ซงึ่ ประกอบดว้ ยสารอาหาร ดงั นี้

1. ธาตอุ าหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม
2. ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แคลเซียม แมกนเี ซียม กามะถนั
3. ธาตอุ าหารเสรมิ ไดแ้ ก่ เหลก็ ทองแดง แมงกานีส
ปุ๋ยนา้ ชวี ภาพ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่

1. ปุ๋ยนา้ ชวี ภาพทผ่ี ลติ จากพืชหรอื ขยะเปียก ได้แก่ เศษอาหาร เศษผกั เศษผลไมร้ สเปร้ยี ว เศษผลไมส้ แี ดง
สเี หลือง พชื สมุนไพร

2. ปยุ๋ น้าชีวภาพทผี่ ลติ จากสัตว์ ไดแ้ ก่ ปลา หอยเชอรี่

เกษตรชีวภาพ

เกษตรชวี ภาพ ทางเลอื กใหมข่ องเกษตรกร ในการทาเกษตรกรรม ปลอดภัย ไรส้ ารพิษตกค้าง และ ตน้ ทนุ ตา่ ลงได้

ดว้ ยเหตผุ ลจากการลดการใช้สารเคมเี พอ่ื การทาเกษตรกรรม ตง้ั แตก่ ารบารงุ พชื ดว้ ย ปยุ๋ ชีวภาพ และ วิธกี าร

กาจัดศตั รพู ืชดว้ ยสารชวี ภาพ

เกษตรชีวภาพ หรือ เกษตรอินทรีย์ หมายถึง การทาเกษตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือ

อนุชนรุ่นหลัง โดยการพัฒนาปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ เพื่อผลิตอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษและเกษตรอินทรีย์

โดย การหยุดใชส้ ารเคมีทเี่ ปน็ พษิ ทางการเกษตร เชน่ ยาปราบศัตรพู ืช ได้แก่ ยาฆ่าแมลง ยาป้องกนั กาจัดโรคพืช

ยาป้องกันกาจัดแมลง ฯลฯ แนวคิดพื้นฐานของเกษตรชีวภาพหรือเกษตรอินทรีย์ คือ การบริหารจัดการการผลิต

ทางการเกษตรแบบองค์รวม ซึง่ แตกตา่ งอย่างชัดเจนจากการเกษตรแผนใหมท่ ่ีมุ่งเนน้ การเพ่ิมผลผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง

สงู สุด โดยการพัฒนาเทคนคิ ต่างๆ เกี่ยวกับการให้ธาตุอาหารพืชและป้องกันกาจดั ส่ิงมีชีวติ อ่ืนทีอ่ าจมีผลในการทาให้

พชื ท่ีปลูกมผี ลผลิตลดลง แนวคิดเชน่ นเ้ี ป็นแนวคิดแบบแยกสว่ น เพราะแนวคิดนี้ตง้ั อย่บู นฐานการมอง ว่า

การเพาะปลูกไมไ่ ดส้ ัมพนั ธ์กับสิ่งแวดลอ้ มและระบบนิเวศ ดังนน้ั การเลือกชนิดและวิธีการใชป้ จั จัยการผลติ ตา่ งๆ มุ่ง

เฉพาะแต่การประเมินประสิทธิผลตอ่ พืชหลักท่ีปลกู โดยไม่ได้คานึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรการเกษตรหรอื นิเวศ

การเกษตร สาหรบั เกษตรอินทรียซ์ ่ึงเปน็ การเกษตรแบบองค์รวม จะให้ความสาคัญกบั การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

และระบบนิเวศการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟื้นฟูความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ การรักษาแหล่งนา้ ให้สะอาด และ

การฟ้นื ฟูความหลากหลายทางชวี ภาพของฟาร์ม ทัง้ นเี้ พราะแนวทางเกษตรอินทรีย์อาศยั กลไก และกระบวนการ

ของระบบนิเวศในการทาการผลิต ดงั นนั้ เกษตรอินทรยี จ์ ะประสบความสาเร็จได้ เกษตรกรจาเปน็ ตอ้ งเรยี นรูก้ ลไกและ

กระบวนการของระบบนิเวศ เพราะ ธรรมชาตนิ น้ั ยอ่ มมกี ารหมนุ เวียนย่อยสลาย และ พึ่งพาอาศัยกันและกัน

อยา่ งเป็นระบบ

3
เกษตรชีวภาพ ไม่ส่งผลเสียทางตรงและทางออ้ ม
ปจั จุบันเกษตรกรรมนบั ได้ว่าพ่ึงพาปุ๋ยและยากาจดั ศัตรพู ืชดว้ ยสารเคมี ซงึ่ มักจะสง่ ผลเสยี ในแง่ของสารตกค้างและ
ทาลายระบบนิเวศน์ แต่ หากเทียบกับเกษตรระบบชีวภาพ แล้ว เรียกไดว้ ่าเป็นการทาเกษตรกรรมด้วยหลักของ
ระบบนิเวศน์ซงึ่ เป็นหลกั หมุนเวียนเปลีย่ นถา่ ยอาหารในระบบโดยไม่สง่ ผลเสยี ขา้ งเคียงตอ่ ผลผลติ และผนื ดิน และ เป็น
ผลดใี นระยะยาวอีกเชน่ กนั เพราะ การหมนุ เวยี นอาหารในระบบของธรรมชาติ เป็นสง่ิ ทเี่ คยมมี าในอดตี เพยี งแตก่ าร
พัฒนาผลิตภณั ท์ เพ่ือการเกษตร ในรูปแบบการทาเกษตรกรรมท่ีให้การเกิดประสทิ ธภิ าพท่ีเร่งดว่ นจนกลายเปน็ การ
ทาลายระบบเดิมออกไป
ดังนั้นแนวคดิ พื้นฐานของเกษตรชีวภาพคอื การทาการเกษตรแบบองคร์ วม ซง่ึ แตกต่างอย่างมากจากระบบเกษตรแผน
ใหมท่ ่มี งุ่ เน้นการใชป้ จั จยั การผลิต ตา่ งๆ เพอ่ื เพมิ่ ผลผลิตเฉพาะพืชท่ีปลูก ซ่งึ เปน็ แนวคิดแบบแยกส่วน เพราะให้ความ
สนใจเฉพาะแต่ผลผลิตของพชื หลกั ทป่ี ลกู โดยไมไ่ ดค้ านงึ ถงึ ผลกระทบต่อทรพั ยากรการเกษตรหรอื นเิ วศการเกษตร
สาหรบั เกษตรชวี ภาพซงึ่ เปน็ การเกษตรแบบองคร์ วมจะให้ความสาคญั กบั การ อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละระบบ
นเิ วศการเกษตร โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การฟืน้ ฟูความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ , การรักษาแหล่งนา้ ให้สะอาด และการฟน้ื ฟู
ความหลากหลายทางชวี ภาพของฟาร์ม ทงั้ น้ีเพราะแนวทางเกษตรชวี ภาพอาศยั กลไกและกระบวนการของระบบนเิ วศ
ในการผลิต
เกษตรปลอดสารพิษ ดเู หมือนงา่ ยแต่ตอ้ งใชค้ วามพยายาม ศึกษา

การปรบั ปรุงดิน ให้เหมาะกบั การปลูกพชื แนวทางเกษตรชีวภาพ

เกษตรชวี ภาพ กบั ความย่งั ยนื ของอาชีพด้วยหลกั ของวธิ ธี รรมชาติ
“ทางเลอื กของการทาการ เกษตรอินทรีย์ หรอื เกษตรชีวภาพ คือทางเลือกท่ียงั่ ยืนของเกษตรกรไทย และ ยกระดบั
คุณภาพของผลผลติ รองรบั การเปลีย่ นแปลงของผบู้ ริโภคในอนาคต ทีต่ อ้ งการเล่ียงจากสารเคมปี นเปอื้ นในอาหาร”

4

E M (อี เอ็ม) คืออะไร

ศ.ดร.เทรโู อะ ฮหิ งะ แหง่ มหาวทิ ยาลยั รวิ กวิ ประเทศญป่ี ุ่น เป็นผูเ้ ชยี่ วชาญเกีย่ วกบั เรื่องส้ม แต่ไมส่ ามารถ
แก้ปญั หาโรคระบาดในสวนส้มได้ แม้จะพยายามใชค้ วามรคู้ วามสามารถเพียงใดก็ไม่ไดผ้ ล ในโอกาสนั้น ท่านได้มี
โอกาสไปรว่ มงานเปิดพพิ ิธภณั ฑ์ศิลปะของท่านโมกิจิ โอกาดะ (เมซซุ ามะ) เกดิ ความสนใจ หนงั สอื เลม่ หนง่ึ ของทา่ นโม
กิจิ โอกาดะ เขียนไวเ้ ก่ยี วกบั การเกษตรธรรมชาติ มีข้อความท่ีน่าสนใจหลายเรอื่ ง เชน่

• การเกษตรทปี่ ลอดสารเคมี
• ภยั พบิ ัตขิ องมนษุ ย์ชาตแิ ละธรรมชาติของโลก
• ความรักของธรรมชาตติ ่อสรรพสง่ิ ในธรรมชาติของโลก
• สิ่งมีชีวติ เล็กๆ ในดนิ มีความสาคัญต่อสงิ่ มีชวี ิตทั้งมวล
ท่าน ศ.ดร.ทารโู อะ ฮิหงะ แหง่ มหาวทิ ยาลัยรวิ กิว โอกนิ าวา ประเทศญป่ี นุ่ ได้เร่ิมการค้นคว้า เมอ่ื พ.ศ. 2510 และ
ได้ค้นพบสิ่งมีชวี ติ ในดินทีเ่ รยี กวา่ จลุ ินทรยี ์ เมอ่ื พ.ศ.2525 เปน็ การคน้ พบเทคนคิ การใช้ E.M. (Effective
Microorganisms) กล่มุ จุลนิ ทรียท์ ี่มีประสิทธภิ าพ ความสาคญั ณ จดุ นค้ี ือ ไดค้ น้ พบการทางานของจุลินทรีย์ใน
ธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น 3 แบบ คือ

1. ทางานแบบสร้างสรรค์ เรยี กวา่ กลมุ่ จลุ นิ ทรีย์สรา้ งสรรค์ มปี ระมาณ10 %
2. ทางานแบบเปน็ กลาง เรยี กวา่ กล่มุ เป็นกลางคอยเกื้อหนุน 2 ฝา่ ยแรก ทีมจี านวนมาก ถงึ ประมาณ 80 %
3. ทางานแบบทาลาย หรือ กลุม่ จลุ นิ ทรียโ์ รค มปี ระมาณ 10 %

“กลมุ่ จลุ ินทรยี ท์ ม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ” มีจลุ ินทรียร์ วมอยู่ 5 แฟมลิ ่ี 10 จนี ัส 80 สปีชีส์ ในท่ีน้จี ะมที งั้ จลุ นิ ทรยี ท์ ่ีต้องการ
อากาศ คอื แอโรบิค แบคทีเรีย (Aerobic Bacteria) และจลุ ินทรียท์ ไ่ี มต่ อ้ งการอากาศ คือ อนาโรบคิ แบคทีเรีย
(Anaerobic bacteria)
E M (อี เอ็ม)
เปน็ การรวมกลมุ่ จลุ ินทรียท์ ่ีมปี ระสิทธิภาพมาบรรจุในภาชนะเดยี วกัน มจี ลุ ินทรยี ร์ วมอยู่ 5 แฟมลิ 1่ี 0 จนี สั 80 สปีชสี ์
เพือ่ นาไปใชง้ านแบง่ ออกเป็น 5 กล่มุ คือ
1. กลมุ่ จลุ ินทรยี ส์ ังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)
2. กล่มุ จลุ นิ ทรยี ผ์ ลิตกรดแลคตกิ (Lactic acid bacteria)
3. กลมุ่ จุลนิ ทรยี ต์ รงึ ไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria)
4. กล่มุ จุลนิ ทรีย์แอคทโิ นมยั ซที ส์ (Actenomycetes)
5. กลุ่มจุลนิ ทรีย์ยสี ต์ (Yeasts)

ลักษณะทว่ั ไปของ EM
1. เปน็ ของเหลวมีสีนา้ ตาลแก่ กลิ่นอมเปร้ยี ว อมหวาน
2. เปน็ กลมุ่ จลุ ินทรยี ท์ มี่ ชี วี ติ และไมส่ ามารถใช้ร่วมกบั สารเคมี ยาปฏิชวี นะ และยาฆ่าเชอ้ื ตา่ งๆได้
3. ไม่เป็นอนั ตรายตอ่ สง่ิ ทีม่ ชี ีวิต เช่น คน สัตว์ พืชและแมลงท่ีเป็นประโยชน์
4. ชว่ ยปรับสภาพความสมดลุ ของสงิ่ ทมี่ ีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม
5. เปน็ กลุม่ จุลินทรียท์ ที่ กุ คนสามารถนาไปเพาะขยาย เพ่ือชว่ ยแกป้ ัญหาต่างๆได้ด้วยตนเอง

5

1. หัวเชอ้ื EM สามารถเกบ็ รกั ษาไวไ้ ด้ประมาณ 6 เดือนทอี่ ุณหภูมิปกตทิ ่ี 25-45 องศาเซลเซยี ส โดยปิดฝา
ใหส้ นิท อย่าใหอ้ ากาศเข้าและอยา่ เกบ็ ไวใ้ นตเู้ ย็น ทุกครง้ั ที่นาออกมาใชจ้ ะต้องรบี ปิดฝาใหส้ นทิ การขยาย EM
ควรใช้ภาชนะและน้าทสี่ ะอาดและใชใ้ ห้หมดในเวลาทเ่ี หมาะสม

2. ในกรณที เี่ ก็บไวห้ ลายวันโดยไมม่ ีการเคลอ่ื นไหว ในภาชนะจะมฝี ้าขาวๆเหนอื ผวิ น้าเปน็ การพักตวั ของเชอ้ื
เมื่อเขยา่ ทง้ิ ไวฝ้ า้ สีขาวกจ็ ะหายเปน็ ปกติ

ประโยชน์ของ EM ในดา้ นปศสุ ตั ว์

 ช่วยกาจดั กลิน่ เหม็นจากฟารม์ ปศสุ ัตว์ภายใน 24 ชม.
 ชว่ ยบาบัดนา้ เสียจากฟาร์มได้ใน 1-2 สปั ดาห์
 ช่วยปอ้ งกันโรคระบาดต่างๆในสัตวแ์ ทนยาปฏิชวี นะและอ่นื ๆได้
 ช่วยกาจัดแมลงวันด้ายการตดั วงจรชีวิตของหนอนแมลงวนั ไมใ่ หเ้ ข้า ดักแด้เกิดเป็นแมลงวนั
 ช่วยเสริมสขุ ภาพสัตว์เลี้ยง ทาใหส้ ัตวแ์ ขง็ แรง มคี วามต้านทานตอ่ โรค ใหผ้ ลผลิตสูง และอตั ราการตายตา่

EM สด
EM สด หมายถงึ EM จากโรงงาน หรอื เอเย่นต์ หรือ ผจู้ าหนา่ ยรายย่อย ทไี่ มไ่ ดท้ าการแปรสภาพ การใช้ EM แบบนา้
มี 2 วิธี

1. EM สด ราคาละ 90 บาท ซือ้ มาใชไ้ ด้เลย ใช้ผสมเทา่ ไรก็ได้ 1: 1;100 ; 200 ; 500 ; 1,000
2. EM แบบขยาย คอื การทาใหจ้ ลุ นิ ทรีย์มีความแข็งแรง และเพิม่ จานวนมากขึน้ โดยการจดั สภาพแวดล้อม

ให้ เหมาะสมและใหอ้ าหาร ซึ่งมสี ว่ นผสมดงั นี้
EM 1 ลติ ร ราคา 90 บาท
กากนา้ ตาล 1 ก.ก. ราคา 5 บาท
นา้ สะอาด 20 ลิตร ราคา - บาท
รวม 22 ลติ ร รวมราคา 95 บาท

ใช้เวลาในการหมกั 7 วัน จะได้ EM ที่สูตรขยายนร้ี าคา 4.31 บาท/ลิตร (95 ÷ 22) และให้ใช้ให้หมดภายใน 7 วนั
ถ้าหลงั จาก 14 วันไปแลว้ ประสทิ ธภิ าพของอีเอม็ จะลดนอ้ ยถอยลง จาก 100% เหลอื
90%....80%.....70%.....60%.....ตามลาดบั
EM ขบั ไล่แมลง
เปน็ สารหมักเพ่ือป้องกันและขับไลแ่ มลงศัตรพู ชื /สตั ว์ ไมใ่ ช่สารฆา่ แมลง เวลาใชจ้ งึ จะเห็นผลชา้ ไมเ่ หมอื นสารเคมี
ฉดี ปุ๊บตายปบั๊ ดังนน้ั จึงตอ้ งรอเวลา หรือ ใช้บอ่ ยๆ เสมอๆ และใช้เปน็ การปอ้ งกนั มี 2 สูตร คอื

1. สุโตจู (EM 5 ) แบบธรรมดา (ใชเ้ วลาหมกั 15 วนั )
2. ซุปเปอร์สโุ ตจู (ซุปเปอร์ EM 5) (ใชเ้ วลาหมัก 1 วัน)

6

สารขับไลแ่ มลง /สโุ ตจู (EM 5) แบบธรรมดา
1. EM 1 ลิตร ราคา 90 บาท
2. กากนา้ ตาล 1 ก.ก. ราคา 5 บาท

3. น้าสม้ สายชูแท้ 5% 1 ขวด ราคา 20 บาท
4. เหล้าขาว 40 ดกี รี 1 ขวด ราคา 100 บาท
5. น้าสะอาด 6 ลิตร ราคา - บาท

รวม 10 ลติ ร รวมราคา 215 บาท

วิธที ้า

1. ผสมกากนา้ ตาลกับนา้ จนเข้ากนั ดีแล้ว จงึ นาเหล้า,นา้ สม้ ,และ EM ผสม เขย่าหรือ คนให้เขา้ กัน
2. นาบรรจใุ นภาชนะหมกั ทม่ี ีความจพุ อดี ๆ คอื ใหม้ ีช่องอากาศบ้างเล็กนอ้ ย ประมาณ 10 % แลว้

ปดิ ฝาใหส้ นทิ
3. หมักไว้ 15 วนั ระหว่างการหมกั ใหเ้ ขย่าขวด เชา้ – เย็น แลว้ เปดิ ฝาระบายแกส๊ ออก แล้วปิดไว้
4. เมอ่ื ครบกาหนด สามารถเก็บไว้ไดป้ ระมาณ 3 เดือน ระยะการเกบ็ ควรเปดิ ระบายแกส๊ บ้างเปน็ บางครั้ง

วิธีใช้

1. ใช้ทาแผลต่าง ๆ ทง้ั แผลสด/แผลเป่อื ย รวมถงึ โรคผิวหนงั เรอ้ื รังตา่ ง ๆ ยง่ิ ทาบอ่ ย ย่งิ หาย เร็ววัน
2. ใช้ สุโตจู 1 ลิตร ร่วมกบั EM สูตรขยาย ถา้ สตู รขยายไมไ่ ด้ผล หรือเหน็ ผลชา้ จะบงั เกดิ ผลดี

แบบธรรมดาน้ี ต้องหมักถึง 15 วนั ราคาจะตกลิตรละ 21.50 บาท (210 ÷ 10) การใช้ก็ไม่ตอ้ งกลวั วา่ เปน็ สารพิษ
เพราะว่าสว่ นผสมเป็นของธรรมชาตทิ ง้ั นัน้ ยาบางชนดิ ตอ้ งใช้เวลา 1 เดือน ถึงจะนามารบั ประทานได้

ซปุ เปอรส์ โุ ตจู (ซปุ เปอร์ EM5)
ไมต่ อ้ งหมกั นาน และเกบ็ ไวไ้ ด้ 3 เดอื น สตู รนีไ้ มม่ นี ้าผสม ราคาจะแพงกว่าสตู รธรรมดา ทาเปน็ สารไลแ่ มลงท่ี
จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ ร่งด่วน เพราะวา่ ผสมไว้ 24 ชว่ั โมง ก็มาสามารถ นาไปใช้ได้เลย มสี ว่ นผสมดงั น้ี

1. EM 1 ลิตร ราคา 90 บาท
2. กากน้าตาล 1 ก.ก. ราคา 5 บาท
3. น้าสม้ สายชแู ท้ 5% 1 ขวด ราคา 20 บาท

4. เหลา้ ขาว 40 ดกี รี 2 ขวด ราคา 200 บาท
รวม 5 ลติ ร รวมราคา 315 บาท
วธิ ที า้ ผสมเหมือนกับสูตรสโุ ตจ(ู EM 5) แต่ไมม่ นี ้า คอื ผสมน้าสม้ สายชแู ท5้ %, เหล้าขาวและ กากน้าตาล ใหเ้ ขา้ กันดี

แลว้ จงึ ใส่ อี เอม็ คนใหเ้ ขา้ กนั บรรจุใสใ่ นภาชนะพลาสติก โดยให้เหลือพื้นทวี่ ่าง หา่ งจากปากขวด 2 นิว้ ปิดฝาใหส้ นทิ
หมักไว้ 24 ชวั่ โมง (1 วัน) จะมรี าคา 63 บาท (315 ÷ 5) นาไปใช้ไดเ้ ลย เก็บไวใ้ ช้ได้นาน 3 เดอื น ถ้าเกินกาหนด
ประสิทธิภาพจะไดผ้ ลน้อย

7

สารสกัดพชื หมกั (EM F.P.E.)
สารสกดั พชื หมัก EM (EM Fermented Plant Extract) เปน็ สารทมี่ กี ารทดลองและนยิ มใชก้ นั ในตา่ งประเทศ เปน็
การสกัดสารจากการหมักพืชสดด้วย EM โดยมีสว่ นประกอบของกรดอนิ ทรีย์ (Organic Acids) สารออกฤทธิ์ทาง
ชวี ภาพ แรธ่ าตุ และสารทม่ี ปี ระโยชน์จากวัชพืช ซึง่ มีตน้ ทุนในการผลิตตา่ เพราะได้นาเอาวชั พืชมาเป็นองค์ประกอบ
ในการผลติ โดยเกบ็ รวบรวมมาในตอนเชา้ กอ่ นพชื ถกู แสงแดด คอื กอ่ นพืชจะสงั เคราะห์แสง มสี ว่ นผสมดังตอ่ ไปนี้
พชื สมุนไพรสับช้นิ เล็ก ๆ 5 ก.ก. ราคา - บาท
นา้ (สะอาด) 10 ลติ ร ราคา - บาท
กากนา้ ตาล 300 ซ.ี ซ.ี ราคา 1.5 บาท
E.M. 300 ซ.ี ซ.ี ราคา 27 บาท
รวม 10.65 ลติ ร รวมราคา 28.50 บาท

วิธีทา้

1. สับพืชสมนุ ไพรให้มีขนาด 2-5 เซนตเิ มตร บรรจุในภาชนะสาหรับหมกั
2. ผสมกากน้าตาลและนา้ ละลายดแี ลว้ เติม E.M.คนใหเ้ ขา้ กัน เทใสภ่ าชนะสมนุ ไพรทหี่ มกั
3. วางไม้หรอื ของหนกั ทับบนพชื สมุนไพร(กันไม่ใหส้ มนุ ไพรลอย) ปดิ ฝาใหส้ นิท
4. หมักไว้ 7 วนั เทน้าหมกั ในถังใส่ขวดหรอื แกลลอนไว้ใช้ โดยใช้ผ้ากรองเศษพืชสมุนไพร
5. เก็บถังหมกั ไว้ในทรี่ ม่ และมลี มพัดผ่าน หมักไว้ 3 วนั คนพชื สมุนไพรในถงั

EM.F.P.E (สารสกัดพืชสมนุ ไพรหมัก EM.) ราคาลติ รละ 2.68 บาท (28.50 ÷ 10.65) ควรเกบ็ รักษาไว้ในท่มี ดื และ
เย็นในทีอ่ ณุ หภมู สิ ม่าเสมอ อย่าเกบ็ ไว้ในตเู้ ย็นหรอื ถกู แสงแดด ควรนาออกใชใ้ ห้หมดภายใน 3 เดอื น หลังจากการสกัด
หรอื หมักไว้

8

บทท่ี 3
วิธีด้าเนินงาน
วิธีดา้ เนินการ
1. วางแผนการทางาน
2. ออกแบบการทดลอง
3. ค้นคว้าตามแหลง่ ความรแู้ ละสอบถามผู้รเู้ พ่อื เปน็ แนวคดิ
4. ปฏิบตั ติ ามแผน
5. สรปุ ผลการทดลอง

วัสดอุ ปุ กรณ์
1. เศษอาหาร
2. สารชีวภาพ(EM)
3. กากนา้ ตาล
4. น้าสะอาด
5. ถังพรอ้ มฝาปิด
6. มดี
7. กะละมัง
8. ไมส้ าหรบั กวน

วิธที ้า
1. นาสว่ นผสมทงั้ หมดคลุกเคล้ากันในถังแล้วปดิ ฝา หมักไวใ้ นทรี่ ่ม เป็นเวลา 1 - 2 เดือน
2. กวนสว่ นผสมอยา่ งสม่าเสมอในระหวา่ งการหมกั เพ่อื ให้เกดิ การย่อยสลายดีข้ึน

9

บทที่ 4

ผลการศกึ ษาค้นควา้
ไดป้ ๋ยุ นา้ ชวี ภาพ หรอื ท่เี รียกว่าน้าหมกั จุลินทรีย์ ขยะหอม

10

บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการศึกษา

สรปุ ผลการศึกษา
จากการศกึ ษา เรือ่ งปยุ๋ นา้ ชวี ภาพจากเศษอาหาร เพอ่ื ศึกษาวิธกี ารทาปยุ๋ นา้ ชวี ภาพจากเศษอาหาร

ในครัวเรือน เพอื่ ประหยดั ค่าใช้จา่ ยในครวั เรอื น เพ่ือใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการนานาส่วนผสมทั้งหมด
คลกุ เคลา้ กันในถงั แลว้ ปิดฝา หมกั ไวใ้ นที่ร่ม เป็นเวลา 1 - 2 เดือน คนส่วนผสมอยา่ งสม่าเสมอในระหว่างการหมัก
เพื่อใหเ้ กดิ การย่อยสลายดีขึน้

สรปุ ไดป้ ุ๋ยน้าชีวภาพ หรือทเี่ รียกว่าน้าหมกั จุลินทรยี ์ ขยะหอม ใชข้ ยะที่เหลอื ใชจ้ ากครวั เรือน
มาทาใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ใช้แทนปุ๋ยเคมี

ประโยชน์ท่ีไดร้ บั
1. ใชข้ ยะทเ่ี หลอื ใชจ้ ากครัวเรือนมาทาใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
2. ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. ชว่ ยฝกึ สมาธใิ นการทางาน
4. เสรมิ สรา้ งความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์
5. สามารถนาความรไู้ ปปรับเปลีย่ นและเผยแพร่ใหผ้ ู้อนื่
6. ใชเ้ ปน็ หัวเชื้อในการทาปุ๋ยหมกั อินทรีย์
7. ใชใ้ นการกาจดั น้าเสยี และการเพาะเล้ียงสตั วน์ า้
8. ใชท้ าความสะอาดพื้นที่เลยี้ งสตั ว์
9. ชบ้ าบัดกลิ่นเหม็นต่างๆ เช่น ห้องสว้ ม กองขยะ ทอ่ ระบายนา้
10. ใชแ้ ทนปยุ๋ เคมี

ขอ้ เสนอแนะ
1. การควบคุมปริมาณกากนา้ ตาล เพื่อป้องกนั การเกดิ กลนิ่ เหมน็ ระหว่างการหมกั
2. การควบคุมการใชป้ ยุ๋ นา้ ชวี ภาพ โดยไมใ่ ช้ติดตอ่ กันหลายวันและใช้ปรมิ าณทเี่ ขม้ ข้นสงู

11

บรรณานุกรม
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั , สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวง

ศกึ ษาธกิ าร.โครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ .กรงุ เทพฯ :เอกพิมพ์ไทย,2555.

12

ภาคผนวก

รปู ภาพของการจัดทา้ โครงงาน

วสั ดอุ ปุ กรณ์

เศษอาหาร พืช ผกั ที่เหลอื จากการประกอบอาหาร

สารชีวภาพ(EM) และกากน้าตาล น้าสะอาด และ ถังพร้อมฝาปิด

วธิ ที า้

1. นาสว่ นผสมทงั้ หมดคลุกเคล้ากันในถังแล้วปดิ ฝา หมกั ไวใ้ นทรี่ ม่ เปน็ เวลา 1 - 2 เดอื น
2. คนส่วนผสมอย่างสมา่ เสมอในระหวา่ งการหมัก เพอื่ ใหเ้ กดิ การย่อยสลายดีขน้ึ

ไดป้ ยุ๋ น้าชวี ภาพ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ นา้ หมกั จลุ นิ ทรีย์ ขยะหอม