โครงงานเครื่องกรองน้ำ ธรรมชาติ

ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ หากคุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำมาวิเคราะห์กับknsk.orgในหัวข้อโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำในโพสต์โครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาตินี้.

  • ข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุดเกี่ยวกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำในโครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ
  • คำอธิบายเกี่ยวกับหมวดหมู่โครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ
  • ภาพถ่ายบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ
  • คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ

ข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุดเกี่ยวกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำในโครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ

ชมวิดีโอด้านล่างเลย

ที่เว็บไซต์Koło Naukowe Systemów Komunikacyjnychคุณสามารถเพิ่มเนื้อหาอื่น ๆ นอกเหนือจากโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำสำหรับข้อมูลที่มีค่ามากขึ้นสำหรับคุณ ที่เพจKoło Naukowe Systemów Komunikacyjnych เราอัปเดตข้อมูลใหม่และถูกต้องให้คุณทุกวัน, ด้วยความตั้งใจที่จะมอบเนื้อหาที่ถูกต้องที่สุดให้กับคุณ ช่วยให้ผู้ใช้บันทึกข้อมูลออนไลน์ได้อย่างละเอียดที่สุด.

คำอธิบายเกี่ยวกับหมวดหมู่โครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ

โครงการเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ โรงเรียนโพธิ์ตากพิทยาคม Education and Knowledge Creation (IS) ผู้จัดงาน 1. นางสาวรัชนีกร พงศ์ปัง 2. นายคมกฤษ จันทคีรี 3. นางศิริรัตน์ สมโสม อาจารย์ที่ปรึกษา นายยุทธนา เทพจันทร์ ผู้อำนวยการ นาย. สุริยะ มาโยธี.

ภาพถ่ายบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ

โครงงานเครื่องกรองน้ำ ธรรมชาติ
โครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ

นอกจากอ่านข่าวเกี่ยวกับบทความนี้แล้ว โครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ ติดตามบทความเพิ่มเติมได้ที่ด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม

คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ

#โครงงานเครองกรองนำจากวสดธรรมชาต.

#IS.

โครงงานเครื่องกรองน้ำจากวัสดุธรรมชาติ.

โครง งาน เครื่อง กรอง น้ำ.

เราหวังว่าเนื้อหาบางส่วนที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอขอบคุณที่อ่านโครง งาน เครื่อง กรอง น้ำข่าวของเรา

Gabriela Franie

Gabriela Franie เป็นผู้ดูแลระบบและผู้แต่ง KNKS เว็บไซต์ของเราให้ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา หลักสูตรการสอน แหล่งข้อมูลการเรียนรู้เกี่ยวกับการขนส่ง การจัดการพื้นที่ การก่อสร้างและมด และชมรมวิทยาศาสตร์ หวังว่าเว็บไซต์ของเราจะช่วยคุณน้อยลง

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย

50% found this document useful (2 votes)

5K views

42 pages

Original Title

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2)

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Did you find this document useful?

50% found this document useful (2 votes)

5K views42 pages

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย

Original Title:

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2)

You're Reading a Free Preview
Pages 8 to 14 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 18 to 27 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 31 to 39 are not shown in this preview.

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

โครงงานวิทยาศาสตร์
เรือ่ ง เครอ่ื งกรองน้า One Of The World

จดั ท้าโดย

นายภาณพุ งศ์ แกว้ โภคา

นายพพิ ัฒน์ สาเจริญ

นายสหรัฐ เพชรเอือง

นางสาวปรยี าภรณ์ นมิ่ ดี

นางสาวนริศรา ยงิ่ สมบัติ

นางสาวสุธนิ า พยัคฆภมู ิ

นางสาวสมใจ บญุ เกิด

ชนั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

เสนอ
นางสาวอภิญญา สงั สริ ิ

โรงเรียนไทรเด่ยี ววทิ ยา
องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั สระแก้ว

โครงงานวิทยาศาสตร์
เรือ่ ง เครอ่ื งกรองน้า One Of The World

จดั ท้าโดย

นายภาณพุ งศ์ แกว้ โภคา

นายพพิ ัฒน์ สาเจริญ

นายสหรัฐ เพชรเอือง

นางสาวปรยี าภรณ์ นมิ่ ดี

นางสาวนริศรา ยงิ่ สมบัติ

นางสาวสุธนิ า พยัคฆภมู ิ

นางสาวสมใจ บญุ เกิด

ชนั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

เสนอ
นางสาวอภิญญา สงั สริ ิ

โรงเรียนไทรเด่ยี ววทิ ยา
องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั สระแก้ว

คา้ น้า

โครงงานเรื่อง “เคร่ืองกรองน้า One Of The World” เป็นโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ จัดทา้
เพอื่ ศกึ ษาเรอ่ื งเกยี่ วกบั การ กรองน้าจากวสั ดธุ รรมชาติ เพื่อท่ีจะนา้ มาใช้ในการกรองน้าเพอื่ อปุ โภคใน
ชวี ิตประจ้าวัน โดยคณะผจู้ ดั ท้าได้ออกศึกษาค้นคว้าจากอินเทอรเ์ นต็ และจากคนในชุมชน คณะ
ผู้จัดท้าได้ความรูเ้ ร่อื งการประดิษฐเ์ ครอ่ื งกรองนา้ จากวัสดธุ รรมชาติ จงึ ได้จดั ทา้ โครงงานนขี ึนมา

โดยทางคณะผจู้ ัดทา้ หวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ โครงงานเรอ่ื งนี จะมปี ระโยชนต์ ่อผู้ท่ีคดิ จะศึกษา
เก่ียวกบั เครื่องกรองน้าจากวัสดุธรรมชาติไม่มากกน็ ้อย ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสงู หากมีขอ้ ผิดพลาด
ประการใด ทางคณะผจู้ ัดท้าต้องขออภยั ไว้ ณ ท่นี ี

คณะผจู้ ัดทา้

ชอ่ื โครงงาน : เครอื่ งกรองน้า One Of The World

ผ้จู ดั ทา้ โครงงาน : นายภาณุพงศ์ แก้วโภคา

นายพพิ ฒั น์ สาเจริญ

นายสหรฐั เพชรเออื ง

นางสาวปรียาภรณ์ นิ่มดี

นางสาวนรศิ รา ย่ิงสมบตั ิ

นางสาวสุธินา พยคั ฆภมู ิ

นางสาวสมใจ บญุ เกิด

ครทู ่ีปรกึ ษาโครงงาน : นางสาวอภิญญา สงั สิริ

ปกี ารศึกษา : 2564

บทคดั ยอ่

ในอดตี ประเทศไทยมกี ารพัฒนาอุตสาหกรรมในขอบเขตท่ีจ้ากัด อุตสาหกรรมท่สี า้ คัญส่วน
ใหญเ่ ปน็ เพียงการผลติ สนิ ค้าหัตถกรรม และการแปรรปู สนิ ค้าเกษตรอยา่ งง่าย ๆ ภายในครัวเรอื น
เทา่ นนั ต่อมา เมอื่ มกี ารคา้ ขายสินคา้ กบั ชนชาติตะวันตก จงึ ก่อใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นวัฒนธรรม ไมว่ ่า
จะเปน็ ดา้ นอาหาร,การใช้ชีวิต,วทิ ยาการเทคโนโลยี ซึ่งน้ามาสู่การก่อตงั โรงงานอุตสาหกรรมเพม่ิ มาก
ขึนแตค่ วามเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีกม็ กั มาพร้อมกบั ผลเสยี มากมาย ซึ่งปัญหาหลกั ทีเ่ กดิ จาก
อตุ สาหกรรมในปจั จบุ นั นี ยอ่ มหนีไม่พ้นปัญหามลพษิ ทงั ทางน้า และทางอากาศ ไม่วา่ จะเป็น อากาศ
เป็นพษิ ส่งผลตอ่ โรคทางเดินหายใจ รวมถึงนา้ เน่าเสียท่ี สง่ ผลตอ่ สิ่งมชี ีวติ ทงั สัตวน์ ้าและมนษุ ยใ์ นด้าน
การอปุ โภค และดว้ ยวทิ ยาการทก่ี า้ วไกลของมนุษย์กีม่ ีการคิดแนวทางการแก้ปัญหานา้ เนา่ เสียนี
หลากหลายแนวทาง ไม่ว่าจะเปน็ การสร้างระบบบ้าบัดน้า การใช้สารเคมีในการบ้าบดั น้า แต่กย็ อ่ ม
ส่งผลต่อระบบนิเวศทางนา้ เช่นกันทางผู้จดั ทา้ ไดเ้ ล็งเห็นในปัญหานี และต้องการแก้ไขปัญหาน้าเนา่
เสยี โดยลดการใชส้ ารเคมี และหนั มาใช้วัสดุจากจากธรรมชาตแิ ทน เพ่ือเปน็ การอนรุ ักษ์ระบบนิเวศ แรู
เป็นการส่งเสริมและใหค้ วามส้าคัญกบั วัสดธุ รรมชาตใิ นท้องถิน่ อกี ทงั ยงั สามารถสรา้ งรายได้ให้กับคน
ในชุมชน เพอ่ื นา้ ไปสู่การสรา้ งประโยชน์สูงสุดผจู้ ดั ท้าโครงงานจงึ ได้คดิ ทา้ โครงานเกีย่ วกับการนา้ น้า
เสียมาใชส้ ้าหรบั อปุ โภค จึงเกิดเปน็ โครงงาน"เครื่องกรองนา้ จากวัสดธุ รรมชาติ' ขนึ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย
ให้สามารถน้าน้าเสียมาบา้ บดั ให้สะอาดและปลอดภัยเพียงพอที่จะใชใ้ นการอุปโภคได้

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานเร่ือง “เครอ่ื งกรองน้า One Of The World” นไี ดส้ ้าเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดีเพราะไดร้ ับ
ความอนเุ คราะห์และชว่ ยเหลือจาก ครูอภญิ ญา สงั สริ ิ ครูท่ีปรกึ ษาโครงงาน นอกจากนียังไดร้ ับความ
อนุเคราะหจ์ ากผู้ปกครอง ท้าให้โครงงานวิทยาศาสตร์นสี า้ เรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี

ผจู้ ดั ทา้ มีความซาบซึงจากผูก้ รณุ าทกุ ท่านท่ีไดก้ ลา่ วมาขา้ งต้นนี รวมทงั ผทู้ ่ไี ด้มสี ว่ นสนับสนนุ
ทไ่ี ม่อาจกลา่ วไดท้ ังหมด ตลอดจนแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทีเ่ ราไดน้ า้ มาประกอบ ทางคณะผู้จัดท้าจึง
ขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านเป็นอยา่ งสงู ดว้ ยความจริงใจ คุณคา่ และประโยชน์พี่พงึ มีขอมอบใหผ้ ้มู ี
พระคุณทุก ๆ ทา่ นดว้ ยใจจรงิ หากมีข้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทา้ ต้องขออภยั ไว้ ณ ที่นีดว้ ย

คณะผู้จดั ทา้

สารบญั

ช่ือ หนา้
คา้ นา้ ก
บทคัดย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ ค
บทน้า 1
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง 2
วธิ ีการด้าเนนิ งาน 5
ผลการดา้ เนนิ งาน 7
สรปุ และอภปิ รายผล 8

เอกสารอา้ งอิง
ภาคผนวก

1

บทที่ 1
บทน้า

ทีม่ าและความสา้ คญั ของโครงงาน
เนื่องดว้ ยเครื่องกรองนา้ ทางโรงเรียนได้มปี ัญหาการกรองน้าทีไ่ ม่คอ่ ยสะอาด มกี ล่นิ และมฝี ุน่

ทา้ ใหเ้ กดิ การขาดแคลนน้าเพ่ือให้นกั เรยี นในโรงเรียนได้อุปโภค
ทางเราจึงไดค้ ดิ ค้นวิธีแกป้ ญั หาการกรองน้าที่ไมส่ ะอาด โดยการท้าเครื่องกรองน้า เพ่ือ

ประหยดั คา่ ใช้จ่ายของนักเรยี นในการท่จี ะตอ้ งซอื น้าเพ่ืออุปโภค และยังเปน็ การลดสารเคมีในนา้ ท่ีใช้
อุปโภคได้อีกดว้ ย

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื แก้ปัญหาการขาดแคลนน้าเพอื่ อุปโภค
2. เพือ่ การลดสารเคมใี นน้าที่ใช้อุปโภค
3. เพ่อื เป็นการประหยดั ค่าใชจ้ ่ายของนักเรยี น

สมมตฐิ านของการศกึ ษาคน้ คว้า
เครอื่ งกรองน้าเพื่ออุปโภคจากธรรมชาติ ทีป่ ระดิษฐ์ขนึ สามารถกรองน้าที่เหมาะสมแก่การ

นา้ ไปอุปโภค

ขอบเขตของการศกึ ษา
ตัวแปรทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการท้าโครงงานครังนี ไดแ้ ก่
ตัวแปรตน้ คือ สิง่ ประดษิ ฐ์เครือ่ งกรองนา้ จาก ถ่าน กรวด ทราย และส้าลี
ตวั แปรตาม คือ ความสะอาดของน้าทไ่ี ด้จากเครื่องกรองน้า
ตัวแปรควบคมุ คือ ปรมิ าณ ถ่าน กรวด ทราย และส้าลี ทีใ่ ชใ้ นการท้าเครื่องกรอง

นา้ ปรมิ าณน้าที่ใช้ แหล่งนา้ ท่ีใช้

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ
1. สามารถประดษิ ฐ์เคร่ืองกรองน้าที่ไม่สะอาดจากธรรมชาติได้
2. สามารถนา้ ความรูจ้ ากการประดษิ ฐเ์ คร่ืองกรองนา้ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจ้าวนั
3. สามารถนา้ ความร้ทู ่ีไดจ้ ากการประดิษฐเ์ คร่อื งกรองน้า ไปพัฒนาต่อยอดเพื่อลดปญั หาการ

ขาดแคลนนา้ เพื่ออุปโภคในถิ่นทรุ กนั ดารได้

นยิ ามศัพท์เฉพาะ
ความสะอาดของนา้ หมายถึง นา้ ท่ีสามารถน้ามาอุปโภคได้ โดยมีวธิ ีการตรวจสอบ คอื
1. ความใสของน้า ทดสอบโดยการใชแ้ สงเลเซอรส์ ่องผ่าน
2. กลิ่นของน้า ทดสอบโดยการดมกล่ิน

2

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง

การศึกษาครงั นี ผจู้ ดั ท้าได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง โดยแบ่งเนอื หาของเอกสาร
และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งออกเปน็ หวั ข้อต่าง ๆ ดงั นี

1.ความหมายของเครอ่ื งกรองน้า
"เครือ่ งกรองน้า" คอื อุปกรณ์ที่ชว่ ยก้าจดั สิง่ ปนเป้ือนท่ีมากบั นา้ ด่ืมและน้าใช้ ถึงแมว้ ่าทาง

ประปาจะยืนยันว่าน้าประปาสามารถด่ืมกินได้ แตเ่ น่อื งด้วยระยะทางจากทอ่ สง่ นา้ จนถงึ ทอ่ี ยู่อาศัยนัน
อาจมีรอยรา้ ว รัว่ ซึม ซึ่งอาจท้าใหม้ ีฝุ่นตะกอนหลุดรอดเขา้ มาสู่น้าของบ้านคุณได้

นอกจากสาเหตุที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว น้าจากก๊อกยงั มี โลหะหนัก ฟลอู อไรด์ และสารปนเปอ้ื น
อืน่ ๆ รวมทัง เชอื โรค แบคทเี รยี หินปูน และสารเคมตี ่างๆ ที่ปนมากับน้า

โดย "ระบบกรองนา้ " ท่ีนยิ มทา้ เป็นน้าดื่มบรรจขุ วดที่วางจ้าหนา่ ยอย่ตู ามท้องตลาดท่วั ไป คอื
ระบบ RO. (Reverse Osmosis System)เปน็ การกรองแบบละเอียด เพือ่ ใหไ้ ด้นา้ กรองมีความ
บริสทุ ธมิ์ ากทสี่ ดุ

2.ความหมายของถา่ นดูดกล่ิน
ถา่ นดูดกล่นิ หมายถงึ ผลิตภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากการน้าถ่านมาบดให้มคี วามละเอียดตามต้องการ

อาจเติมสมนุ ไพร ที่มสี มบัติในการดูดกลน่ิ เช่น ชา สะเดา บรรจใุ นภาชนะบรรจุ หรอื อดั เปน็ รปู ทรง
ต่างๆ อาจแต่งสี หรอื ได้ จากการน้าผลไม้ หรอื ส่วนตา่ งๆ ของพืช มาเผาในท่ีอับอากาศจนกลายเปน็
ถ่านโดยยงั คงรูปทรงผลไม้ หรือ สว่ นตา่ งๆ ของพืชไว้เช่นเดิม

3.การผลิตถา่ นดูดกล่ินและการน้าไปใช้
แตล่ ะท้องถ่นิ มเี ทคนิควิธกี ารเผาถา่ นผลไมท้ ี่น่าสนใจ ยกตัวอยา่ งเช่น เทคนิคการผลติ ถ่าน

ผลไม้ดดู กล่ิน จากภูมิปัญญาท้องถ่นิ ของ กลุม่ ยวุ เกษตรกรประจ้าต้าบลหนองกะท้าว ตังอยู่หมู่ท่ี 8
ต้าบลหนองกะท้าว อ้าเภอนครไทย จังหวดั พิษณุโลก

เยาวชนในชมุ ชนแหง่ นี มเี ทคนคิ การเผาถา่ นผลไม้ได้ในปริมาณที่มาก โดยใช้วิธขี ุดหลุมใหม้ ี
ขนาดกว้าง 1×1.5 เมตร ลกึ 1 เมตร สามารถบรรจุผลไมใ้ สห่ ลมุ ได้จา้ นวน 20 กโิ ลกรมั จากนัน
คัดเลอื กผลไมท้ ่ีมีลักษณะเปลือกแข็ง เมื่อเผาแล้วสามารถคงรูปเดมิ ได้ เช่น ข้าวโพด สม้ โอ สับปะรด
มงั คุด กลว้ ย นอ้ ยหนา่ น้าผลไม้วางบนตะแกรงลวด ใช้ถา่ นจากซงั ข้าวโพดและซังข้าวโพดแหง้ เป็น
เชือเพลิงเผาไหม้ ใช้เวลาในการเผานาน 10 ช่ัวโมง กจ็ ะได้ถา่ นผลไม้ไวใ้ ช้ดูดกลิน่ ท้าให้ประหยดั เวลา
และได้ผลผลติ มากกว่าเดิม ลักษณะเดน่ ของสินคา้ ที่น่ีคือ ถ่านผลไม้จะมผี ิวมนั วาว เมื่อหยิบแล้วไม่ทา้
ให้มอื เปื้อนคราบเขม่าสดี า้ ของถา่ น

3

ท่นี า่ สนใจไม่แพ้กัน คือ เทคนิคการผลิตถ่านผลไม้ดดู กล่ิน ของ ชมุ ชนบ้านหนองยอเหนอื ต.
โพธป์ิ ระสาท อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ เริ่มจากขดุ ดินเป็นร่องขนาดกว้าง 1 ศอก ลึก 1 คืบ แลว้ ใช้ซงั
ข้าวโพดโรยลงไปในร่อง ใช้เหล็กเสน้ ขนาดเท่านิวชพี าดขวางรอ่ งขนาดพอท่จี ะวางภาชนะได้ แลว้ เท
น้ามันเบนซนิ รดซงั ขา้ วโพดนิดหน่อย จงึ ค่อยจดุ ไฟ

เม่อื ซังข้าวโพดติดไฟแล้วนา้ ภาชนะทีบ่ รรจวุ ัตถุดิบจนเต็มปิดฝา นา้ ไปวางบนตะแกรงเหล็ก
จากนนั ให้เทแกลบดนิ กลบภาชนะให้มดิ แลว้ เผาไปเรื่อย ๆ ระหว่างท่ีเผาเถ้าแกลบยุบต้องเติม และ
ควบคุมไมใ่ ห้ไฟลกุ เหมอื นกบั การเผาถา่ นไมท้ ุกประมาณ ใช้เวลาเผาประมาณ 24 ช่วั โมง จึงเข่ียเอา
แกลบออกดับไฟ แล้วปลอ่ ยทิงไว้ให้เยน็ โดยไมต่ ้องเปิดภาชนะ ไมต่ ้องรดนา้ ครบ 1 คืน กม็ าคัดแยก
เพื่อน้าไปจา้ หนา่ ยได้

ผลไมแ้ ละเศษวตั ถเุ หลือใช้ทีน่ ้ามาเผาถ่านมหี ลายชนิดดว้ ยกัน เช่น นอ้ ยหน่า มังคดุ สบั ปะรด
ทเุ รียน มะพร้าว ลกู ตาล ขนุน ลูกท้อ ฝักบัว ซงั ข้าวโพด ไปจนถึงกระบอกไม้ไผ่ ซงึ่ วตั ถุดิบทีน่ า้ มาเผา
แตล่ ะชนิด มขี นาดรูปทรงสมบรู ณ์ ผลไม้บางชนิดตอ้ งมีจุก มขี ัวตดิ เช่น มะพร้าว ลกู ตาล มงั คดุ ขนนุ
ทเุ รยี น ส่วนกล้วยอาจแยกผลหรอื เผาเป็นหวกี ไ็ ด้ หากเปน็ กระบอกไมไ้ ผต่ ้องตดั ให้มขี ้อ ความยาวและ
ลักษณะพอกบั กระบอกข้าวหลาม

มีคา้ แนะน้าวา่ อายุของวตั ถดุ ิบทใี่ ชต้ ้องไม่ใชผ้ ลแก่ ห้ามใช้ผลที่มนี ้าขา้ งใน ข้าวโพดจะต้อง
ดิบเมล็ดยงั ไม่ลงแป้ง ทุเรียนก็จะใชผ้ ลอ่อน ไม่ใช้ผลทพ่ี ร้อมจะรับประทาน การจดั เรียงในภาชนะ
จะต้องจัดวางให้ดี ไมใ่ ห้ทบั ซ้อนหนาแนน่ จนเกนิ ไป โดยเฉพาะสบั ปะรดทต่ี ้องระวังไมใ่ ห้ตะเกยี ง ใบ
และตา หลุดหักหรือชา้ รุด การจัดเรยี งต้องไม่ซ้อนทับกนั หลังจากเผาเสร็จและทงิ ไว้ให้เยน็ แลว้ ควร
คดั เลอื กถา่ นผลไม้ โดยสงั เกตจากน้าหนักของแตล่ ะชนิ ถ้าเบาและไม่มีกล่นิ อะไรออกมาแสดงว่าใช้ได้
หากผลไม้ยังมนี ้าหนกั และมีกลิน่ อย่ตู อ้ งนา้ ไปเผาใหม่ สา้ หรับชินงานทแ่ี ตกร้าวก็น้าไปใช้เป็นเชอื เพลงิ
แทนถา่ นหุงขา้ วได้

4.งานวิจยั เก่ยี วกบั เครอ่ื งกรองน้า
ผศ.ดร.ธิดารัตน์ บญุ ศรี อาจารย์ประจ้าภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กลา่ ววา่ เน่อื งจากในชุมชนหา่ งไกลที่อยตู่ ้นนา้
หรอื พนื ที่ทร่ี ะบบสาธารณปู โภค เชน่ นา้ ประปา หรือไฟฟ้า ยงั เข้าไม่ถงึ เชน่ บ้านโปงลกึ -บางกลอย
ตา้ บลห้วยแมเ่ พรยี ง อ้าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบรุ ี ซึ่งเปน็ ชมุ ชนชาวปกาเกอะญอท่ีอาศัยอยตู่ น้
ลา้ นา้ เพชรบุรี ชุมชนแหง่ นจี ะบรโิ ภคนา้ จากแม่น้าเพชรบุรี โดยท่ัวไปน้าจะใส ยกเว้นในฤดฝู นทีน่ ้าจะ
ขุ่นเน่ืองจากการพัดพาตะกอนจากภเู ขา แม้วา่ นา้ ทใี่ ช้จะดูใส แต่อาจไมป่ ลอดภัยหากน้ามาบริโภค
ทางคณะฯได้เกบ็ ตวั อย่างนา้ ผลการวเิ คราะห์บง่ ชีว่า แหล่งนา้ อาจปนเปื้อนสิ่งปฏิกลู เนอื่ งจากตรวจ
พบจุลินทรยี ์ทีบ่ ง่ ชีว่าอาจก่อใหเ้ กดิ โรคทางเดนิ อาหาร เช่น อี.โคไล สงู กวา่ 2,000 โคโลนตี ่อนา้ 100
มิลลิลิตร (โคโลนี เปน็ จ้านวนของอีโคไล) ท่ีผ่านมายงั ไม่พบวา่ ชาวบา้ นประสบปัญหาจากการอปุ โภค-
บรโิ ภคนา้ โดยตรง เช่น ท้องร่วง หรอื โรคทางเดนิ อาหาร แต่เพอื่ เปน็ การป้องกนั ปัญหาสุขภาพท่เี กดิ
จากการรบั สารปนเป้ือนในนา้ และสะสมเปน็ เวลานาน

4

ดว้ ยเหตนุ ที างคณะฯ จงึ ได้จัดทา้ ‘ชุดกรองน้าโดยนา้ วัสดจุ ากธรรมชาติ’ ทส่ี ามารถหาได้ใน
ทอ้ งถิน่ มาผลิตและคมู่ ือวิธสี ้าหรบั การผลิตน้าสะอาดจากล้าธารเพือ่ การบรโิ ภคขนึ เพื่อน้าไปเผยแพร่
และถา่ ยทอดความรู้พนื ฐานเบอื งตน้ แก่ชาวปกาเกอะญอในพืนที่ เน่อื งจากชมุ ชนดงั กลา่ วมี
ทรัพยากรธรรมชาติท่อี ดุ มสมบูรณ์ ชาวบ้านมีทักษะพนื ฐานในการผลติ เครื่องกรองนา้ ใชเ้ องในระดบั
ครัวเรอื น โดยไมต่ ้องพ่งึ พานา้ ดืม่ บรรจุขวด ซึง่ ก่อให้เกิดขยะจากบรรจภุ ณั ฑ์ และท้าให้ชุมชนสามารถ
พง่ึ พาตนเองได้ในอนาคต

สา้ หรบั ชดุ กรองน้าด่ืมจากวสั ดุธรรมชาตนิ ี ประกอบด้วย ตวั กรอง 4 ชัน ได้แก่ ชันกรวด
ทราย ถา่ น และเซรามิคหรือกระถาง โดยกรวดจะเป็นตวั กรองชนั บนสดุ สามารถหาไดท้ ่ัวไปจากบริ
เวณรมิ แม่น้าลา้ ธาร กรวดจะสามารถกา้ จัดอนุภาคท่มี ขี นาดใหญ่ เชน่ เศษใบไม้ และตะกอนขนาด
ใหญ่ ถดั ลงมาเป็นชนั ทรายละเอียด จะช่วยก้าจดั อนุภาคท่ีมีขนาดเลก็ ขณะทต่ี วั กรองถา่ น ซ่ึงมี
คุณสมบตั ใิ นการดดู ซับสารพิษหรือสารตกค้าง ช่วยก้าจัดสีและกลนิ่ โดยนา้ ที่ผ่านตวั กรองทัง 3 ชนั
ดังกลา่ ว แมจ้ ะสามารถนา้ ไปใช้อุปโภคหรือชา้ ระลา้ งตา่ งๆ ได้ แต่หากต้องการน้าน้าไปบริโภคหรอื ดมื่
จะต้องผ่านตัวกรองชันท่ี 4 คือ ไสก้ รองเซรามิค หรือกระถาง ท้าหน้าทใ่ี นการกักเชอื โรคหรอื จุลินทรยี ์
ที่มขี นาดเล็กได้เป็นอย่างดี ดงั นัน มั่นใจไดว้ า่ นา้ ทผี่ า่ นการกรองทงั 4 ชนั ดงั กลา่ วจะสามารถนา้ มาใช้
ดื่มหรือบริโภคได้อย่างปลอดภัยปราศจากเชือโรค

ผศ.ดร.ธิดารตั น์ กลา่ วว่า “สิ่งส้าคญั สา้ หรบั การนา้ น้ามาใช้ในการบรโิ ภคนัน คอื เรื่องของ
สารเคมตี กค้าง และเชอื โรค ที่ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสขุ ภาพ เมื่อผลติ น้าเพื่อใชอ้ ปุ โภคต้องก้าจดั
สารเคมตี กคา้ ง จึงต้องกรองด้วยถา่ น แตน่ า้ ยงั มีจลุ ินทรยี ์หลงเหลอื อยูใ่ นระดบั ที่ไม่เปน็ อันตราย แต่
สา้ หรบั น้าบรโิ ภคจะตอ้ งปราศจากจุลินทรีย์ โดยเฉพาะ E.coli จึงจา้ เป็นตอ้ งกรองด้วย ไสก้ รอง
เซรามคิ หรือกระถางดินเผาที่หาได้จากธรรมชาติ

ตัวอย่างนา้ ทเ่ี กบ็ จากในพืนที่บา้ นโปง่ ลกึ -บางกลอย เมอ่ื ผา่ นตัวกรอง 3 ชนดิ ข้างตน้ แลว้ เรา
พบวา่ อาจยังมีการปนเปื้อนของจลุ นิ ทรีย์ และ อ.ี โคไลในระดับทไ่ี ม่อันตราย เพียง 3 โคโลนี ต่อน้า
100 มลิ ลิลติ ร แต่เมอื่ น้าผา่ นไส้กรองเซรามิคซง่ึ ภายในเนือเซรามิคมรี ูพรนุ ขนาดเลก็ มากระดบั
ไมโครมิเตอร์ จะสามารถกรองจลุ ินทรยี ไ์ ดท้ งั หมด จงึ ค่อนข้างม่นั ใจวา่ น้านนั สามารถดื่มได้อย่าง
ปลอดภยั ”

สา้ หรับก้าลังการผลติ นา้ ของชดุ กรองนา้ จากวสั ดุธรรมชาติขนาดเล็กเหมาะสา้ หรบั ครวั เรือน
ตน้ แบบชุดนีสามารถผลิตนา้ สะอาดส้าหรับอุปโภคหรอื ใช้ชา้ ระล้างได้ในอัตราความเรว็ ที่ 60 ลิตรต่อ
ชั่วโมง และ 1 ลติ รตอ่ ช่วั โมงส้าหรบั น้าดื่ม อยา่ งไรกต็ ามชดุ กรองน้าดว้ ยวิธกี ารแบบงา่ ยๆ และไม่
ย่งุ ยากนสี ามารถน้าไปขยายขนาดเพ่ือให้มีก้าลังผลติ มากขนึ ไดแ้ ละสามารถน้าไปประยุกต์ใชไ้ ดก้ ับทุก
พืนทที่ ี่มปี ัญหาการขาดแคลนน้าดม่ื หรือในพนื ท่ที ่ีมีปัญหาขาดแคลนไฟฟา้ ใช้ เพราะเปน็ วิธกี ารกรอง
และผลติ น้าสะอาดตามหลักวิชาการโดยไมต่ ้องใช้ไฟฟ้าและสามารถใชว้ ัสดุท่หี าได้ในพืนที่

5

บทที่ 3
วธิ กี ารดา้ เนนิ การศกึ ษาค้นคว้า

ในการศึกษาครังนี ผู้ศึกษาได้ทา้ การศึกษาเรื่องเคร่อื งกรองน้าจากวสั ดธุ รรมชาติ ซง่ึ มวี ิธกี าร
ดังนี

1.ระเบียบวธิ ีทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา
ในการศึกษาใช้วิธีการค้นสบื หาขอ้ มูลจาก หนงั สอื อินเตอร์เนต็ และการสอบถาม จากนันจงึ

พิสูจนส์ มมติฐานท่ตี ังขนึ ด้วยการทดลอง และหาข้อสรปุ ผลการศึกษา

2.วัสดุอุปกรณ์
- ถังนา้
- เทปกาว
- เลื่อย
- นุน่
- ทรายหยาบ
- ทรายละเอียด
- กรวดเลก็
- กรวดใหญ่
- ถ่านดดู กล่นิ
- น้าคลอง/น้าท่ีไมส่ ะอาด

3.วธิ กี ารด้าเนนิ งาน
1.นา้ ถังใบท่ี 1 มาตัดบริเวณกน้ ถงั และนา้ ถงั ใบที่ 2 มาตัดบริเวณดา้ นบนถงั จากนนั น้ามา

ประกอบเข้าด้วยกนั

ภาพที่ 1 ตัดถังน้า ภาพที่ 2 ประกอบถังนา้

6

2.น้ากรวดเล็ก กรวดใหญ่ มาล้างท้าความสะอาดจากนนั น้าไปตากแดดจนแหง้

ภาพท่ี 3 ลา้ งกรวด ภาพที่ 4 ตากกรวด

3.นา้ กรวดเลก็ กรวดใหญ่ ทราย ส้าลี ถา่ น ที่เตรยี มไวใ้ ส่ลงในถงั

ภาพท่ี 5 ใสว่ สั ดุลงถัง
4.น้านา้ คลองหรอื นา้ ที่ไม่สะอาด มาทดลองกรองเปน็ อนั เสรจ็ เรยี บร้อย

ภาพที่ 6 เทนา้ คลองลงถงั กรอง

7

บทท่ี 4
ผลการด้าเนนิ งาน

จากการประดิษฐ์เครื่องกรองน้าจากวัสดุธรรมชาติ ซ่ึงได้แก่ หนิ กรวด ทราย ถ่าน และจากท่ี
ผจู้ ดั ท้าได้น้าเครื่องกรองนา้ ไปใช้ในการกรองน้าคลองหรือน้าท่ีไมส่ ะอาด เพื่อทดสอบประสทิ ธภิ าพ
พบว่าสามารถทา้ ใหน้ า้ คลองหรือน้าท่ีไม่สะอาดใสขึนสะอาดขึนมากกวา่ เดมิ

ภาพที่ 7 นา้ คลอง/น้าไม่สะอาด

ภาพที่ 8 น้าทผี่ ่านการกรองแล้ว

8

บทท่ี 5
สรปุ และอภปิ รายผล

จากทคี่ ณะผู้จัดทา้ ได้ศึกษาและดา้ เนนิ งานในโครงงานเรื่อง “เคร่อื งกรองน้า One Of The
World” ไดผ้ ลการศึกษาว่า

การประดิษฐ์เคร่ืองกรองน้าด้วยวสั ดธุ รรมชาตซิ ่ึงไดแ้ ก่ หินกรวด ทราย ถา่ น ส้าลี สามารถ
ใชไ้ ดจ้ ริง และจากท่ีคณะผู้จัดทา้ ได้น้าเครอื่ งกรองน้านไี ปใช้ในการกรองน้าขุ่นเพื่อทดสอบ
ประสทิ ธิภาพ พบว่าสามารถช่วยกรองนา้ ขุ่นให้มีความใสมากขึน และยังสามารถน้ามาอุปโภคได้อีก
ด้วย

อภปิ รายผล

การทดสอบประสิทธภิ าพของเครอื่ งกรองน้า ทา้ โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัตทิ สี่ ามารถ
สังเกตได้ เช่น สขี องน้า ความใส กลน่ิ ของนา้ ทยี่ งั ไมผ่ ่านการกรอง นา้ ทผ่ี า่ นการกรองครังแรกและนา้
ท่ผี า่ นการกรองครังทีส่ อง พบว่า น้าทีย่ ังไม่ผ่านการกรอง มีความขุ่นค่อนข้างมาก พบตะกอนดิน
ปะปนอยดู่ ้านลา่ ง มกี ลิ่นของดินและกลนิ่ เหมน็ เลก็ นอ้ ย นา้ ทผ่ี ่านการกรองครังแรก มีความขุ่น
เล็กนอ้ ย มีเศษตะกอนขนาดเลก็ ลอยอยู่ด้านบนผิวน้าเล็กน้อย กลน่ิ ของดินจางลง แตย่ งั คงได้กลิ่นเห
มนื อยู่ ส่วนนา้ ท่ผี ่านการกรองครงั ทสี่ อง คอ่ นขา้ งใส ไม่พบเศษตะกอนลอยหรือจมอยู่ในน้า ไมม่ ีกล่นิ
ของดินเหลือ และกลนิ่ เหมน็ จางลงจนแทบไม่ไดก้ ล่นิ

เครอ่ื งกรองน้าด้วยถ่านและวัสดธุ รรมชาตินี สามารถช่วยกรองนา้ ท่ีมเี ศษตะกอนต่าง ๆ และ
มกี ล่นิ ไดด้ ีในระดับหนึ่ง โดยสามารถกรองเอาตะกอนขนาดใหญ่และเลก็ ออกได้หมด และสามารถ
ก้าจัดกล่ินที่ไม่พึงประสงค์ได้ โดยเม่ือนา้ นา้ ที่ได้ไปกรองผ่านเคร่ืองกรองน้าซ้า ๆ จะช่วยใหน้ ้าท่ีได้
ออกมามีความสะอาดมากยิ่งขนึ

ข้อเสนอแนะ

1.ควรน้านา้ ที่ได้ไปต้มเพอื่ ฆา่ เชือกอ่ นนา้ ไปอุปโภค
2.สามารถเพม่ิ จา้ นวนชนั ของวัสดธุ รรมชาติเพ่ือเพ่ิมความสะอาดของนา้ ที่ไดจ้ ากการกรอง
ด้วยเครื่องกรองน้า

9

เอกสารอา้ งอิง

ธวลั รัตน์ ใสสะอาด.//(2561).//โครงงานเครือ่ งกรองนา้ จากวสั ดุธรรมชาต.ิ //(ออนไลน์).
สืบค้นวนั ท่ี 28 ธันวาคม 2564.

Campus.//(2563).//วิธที ้าเครือ่ งกรองน้าจากวัสดธุ รรมชาติ.//(ออนไลน์).
สืบค้นวันที่ 28 ธันวาคม 2564.

10

ภาคผนวก

11

แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง เครอื่ งกรองนา้ One Of The World

ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป

คา้ ชีแจง โปรดใส่เคร่ืองหมาย / ลงในชอ่ งตามความเปน็ จริงที่มีประโยชนอ์ ย่างยิง่ ในการดา้ เนนิ การ

โครงงาน

เพศ ชาย หญิง

อายุ ต่า้ กวา่ 15 ปี 15 – 20 ปี

21 – 30 ปี 31 ปีขนึ ไป

สถานะภาพ นกั เรียน/นกั ศึกษา ครอู าจารย์

ประชาชนท่วั ไป อนื่ ๆ โปรดระบ.ุ ....................

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจของผู้ใช้งานเครอ่ื งกรองนา้

รายการประเมนิ มาก ระดบั ความพึงพอใจ
ท่สี ุด
1.ดา้ นโครงสรา้ งทว่ั ไป มาก ปาน พอใช้ ปรับปรุง
1.1ขนาดและนา้ หนกั มีความเหมาะสม กลาง
1.2มคี วามมน่ั คงแข็งแรง

2.ดา้ นการออกแบบ
2.1เลือกใช้วัสดุมคี วามเหมาะสม
2.2รูปร่างมคี วามเหมาะสมกบั การใช้

3.ด้านการใชง้ าน
3.1ใช้งานได้ง่าย
3.2ดแู ลรักษางา่ ย
3.3ใช้งานไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์
3.4มีความปลอดภยั ในการใช้งาน

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
...................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. ...................................

คณะผจู้ ัดทา้ โรงเรยี นไทรเดี่ยววิทยา

12

แบบสอบถามแบบออนไลน์