แบบฝึกหัดการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

  • Worksheets
  • Thai
  • วิทยาศาสตร์
  • ภูมิศาสตร์
  • แบบฝึกหัดที่ 3 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

Share on social networks

Language: Thai

Subject: วิทยาศาสตร์ > ภูมิศาสตร์

School grade: Thailand > มัธยมศึกษา > มัธยมศึกษาปีที่ 5

Age: 16 - 17

Lalitphan Kongbunwas

Report worksheet

Other worksheets of วิทยาศาสตร์: ภูมิศาสตร์

แบบฝึกหัดการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบฝึกหัดฤดูกาล

แบบฝึกหัดการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ข้างขึ้นข้างแรม

แบบฝึกหัดการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สุริยุปราคา

แบบฝึกหัดการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

กลางวันกลางคืน

Finish worksheet

The time to complete this worksheet is over. Complete the data to send the answers to your teacher

Send answers to teacher

Share on social networks


Twitter


Facebook


Google Classroom


Pinterest


Whatsapp

Record your answer

Record your answer

Play your answer

ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6

นางพชั รี คูณทอง
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

ชุดที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสือ่ นวตั กรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวชิ า ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซอ่ มเสรมิ ได้ หรือใชใ้ น
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย น ของผู้ เรี ย น กลุ่ มส าร ะการ เรี ยน รู้ วิทย าศาส ตร์ เป็น น วัตกรร มที่ช่ว ยล ดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซง่ึ สอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ตลอดจนสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมีจติ วิทยาศาสตรค์ ุณธรรมและคา่ นยิ มที่
ถูกต้องเหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รได้

พชั รี คูณทอง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ ก

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

สำรบัญ

เรือ่ ง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบญั ข
คำชีแ้ จงเกีย่ วกับกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภมู ิลำดบั ข้นั ตอนกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำช้ีแจงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์สำหรบั นกั เรียน ช
1
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ัด 1
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2
แนวความคิดต่อเนื่อง 3
สาระสาคญั 4
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
บตั รเนอ้ื หา ชดุ ท่ี 5 เร่อื ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 32
บตั รกจิ กรรมท่ี 5.1 เรื่อง การเคล่อื นทข่ี องแผน่ ธรณี 34
บัตรกิจกรรมท่ี 5.2 ผังมโนทศั น์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 35
บตั รกจิ กรรมที่ 5.3 ถอดบทเรยี น เรื่อง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 36
แบบฝึกหัด เรือ่ ง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 38
แบบทดสอบหลังเรียน 41
กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 42
บรรณำนกุ รม 43
ภำคผนวก 44
เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 5.1 เรอื่ ง การเคล่ือนทีข่ องแผ่นธรณี 47
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 5.2 ผังมโนทศั น์ เร่อื ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 48
เฉลยบัตรกจิ กรรมท่ี 5.3 ถอดบทเรยี น เรื่อง การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 49
เฉลยแบบฝึกหัด เรอ่ื ง การแบง่ ชั้นโครงสรา้ งโลก 51
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 52
ประวัตยิ ่อผ้จู ัดทำ

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ ข

ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

คำชแ้ี จงเกีย่ วกับชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์

. ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง กระบวนการเปลีย่ นแปลง

ภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยให้

สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับและ

วยั เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากจิ กรรมการเรียนรู้ และเพ่ือสง่ เสริม

เจตคติที่ดี นักเรียนจะไดพ้ ัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และ

สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการ

ทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสารวจตรวจสอบข้อมูล การคิด

แก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน

9 ชุด ดังนี้

ชุดที่ 1 เร่อื ง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชนั้ โครงสรา้ งโลก

ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง การแบง่ ชน้ั โครงสรา้ งโลก

ชุดท่ี 3 เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลอื่ นและหลักฐานสนบั สนุน

ชดุ ท่ี 4 เร่ือง แนวคดิ ของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลกั ฐานสนับสนุน

ชดุ ท่ี 5 เรอื่ ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

ชุดท่ี 6 เรื่อง ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณที เ่ี กิดจากการเคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณี

ชุดที่ 7 เรื่อง ภเู ขาไฟระเบิด

ชดุ ที่ 8 เร่ือง แผ่นดินไหว

ชุดที่ 9 เรอื่ ง สนึ ามิ

2. ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์นี้เป็น ชุดท่ี 5 เรื่อง กำรแปรสัณฐำนของแผ่นธรณี

ใชเ้ วลำ 2 ชว่ั โมง

3. ผใู้ ช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์น้คี วรศึกษาขนั้ ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้

อย่างละเอียดกอ่ นใช้

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ

นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ให้มคี ณุ ภาพมากยง่ิ ขนึ้ ต่อไป

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ ค

ชดุ ท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์

อ่านคาช้แี จงและคาแนะนาในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ศกึ ษาตวั ชีว้ ดั และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ เสรมิ พนื้ ฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผมู้ พี ื้นฐำนตำ่

ศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามข้ันตอน

ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้จากชดุ กจิ กรรม

ไม่ผำ่ น ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์เรอื่ งตอ่ ไป

แผนภมู ิลำดบั ข้ันตอนกำรเรยี นโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์
ชุดที่ 5 เรอื่ ง กำรแปรสัณฐำนของแผ่นธรณี

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ง

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

คำชแ้ี จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตรส์ ำหรับครู

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีครูผ้สู อนได้ศึกษาต่อไปนี้คอื ชุดท่ี 5 เรื่อง กำรแปร
สัณฐำนของแผ่นธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและ
รวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุ
จุดประสงค์และมปี ระสิทธภิ าพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดงั น้ี

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือท่ีครูผู้สอนสามารถนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรไู้ ปใช้ในการ
จดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

2. ครูผสู้ อนเตรยี มส่ือการเรียนการสอนให้พรอ้ ม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นส่ือการสอนท่ตี ้องใช้รว่ มกนั
4. ครูต้องชี้แจงใหน้ ักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
ดงั น้ี

4.1 ศึกษาบทบาทของนกั เรียนจากการปฏิบัติกจิ กรรมให้เข้าใจก่อนการเรยี นรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพ่ือจะได้ทราบ
ว่าจะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมอะไร อย่างไร

4.3 นักเรียนต้องต้ังใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกัน ไม่รบกวนผอู้ ืน่ และไม่ชกั ชวนเพอื่ นใหอ้ อกนอกลนู่ อกทาง

4.4 หลังจากปฏิบตั กิ จิ กรรมแล้ว นักเรียนจะตอ้ งจัดเกบ็ อปุ กรณท์ ุกช้นิ ให้เรียบรอ้ ย
4.5 เมื่อมกี ารประเมนิ ผลนกั เรยี นต้องปฏบิ ัติตนอยา่ งตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ข้ันตอน ดังน้ี
5.1 ขั้นท่ี 1 ข้ันตรวจสอบความรู้เดมิ
5.2 ข้นั ท่ี 2 ขนั้ สรา้ งความสนใจ
5.3 ขนั้ ที่ 3 ข้ันสารวจและค้นหา

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ จ

ชดุ ท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
5.4 ขน้ั ท่ี 4 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
5.5 ข้นั ท่ี 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมนิ
5.7 ขัน้ ท่ี 7 ขน้ั นาความร้ไู ปใช้
6. ขณะที่นกั เรียนทุกกล่มุ ปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกล่มุ หรือรายบุคคล ต้องไมร่ บกวนกิจกรรมของนักเรยี นกลุ่มอ่นื
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลมุ่ ใดมปี ัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปญั หาน้นั คลค่ี ลายลง
8. การสรุปผลที่ไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตวั แทนของกลุม่ รว่ มกนั ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน เพือ่ ตรวจสอบผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ฉ

ชุดท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

คำช้ีแจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรูว้ ทิ ยำศำสตรส์ ำหรับนักเรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศกึ ษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปร
สณั ฐำนของแผ่นธรณี ซึ่งนกั เรียนจะได้สารวจ สงั เกต และรวบรวมขอ้ มูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ นกั เรยี นควรปฏบิ ัติตามคาชีแ้ จง ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 5 เร่ือง กำรแปรสณั ฐำนของแผ่นธรณี
ใชเ้ วลำในกำรทำกจิ กรรม 2 ชัว่ โมง

2. นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ขอ้
3. นกั เรยี นทากิจกรรมเป็นรายกลมุ่ และศกึ ษาวธิ ีดาเนินกจิ กรรมให้เข้าใจ
4. นกั เรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นกั เรยี นทากิจกรรมในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน 10 ขอ้

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ช

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ชุดที่ 5

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วดั
ว 3.2 ม.6/2 อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณโี ดย
ใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณท่ีสัมพันธ์กับ
การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยา
ทพ่ี บ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายสาเหตุ และกระบวนการเคลือ่ นทีข่ องแผน่ ธรณี และระบผุ ลทเ่ี กิดจากการ

เคลอ่ื นท่ีของแผ่นธรณีได้ (K)
2. ทดลองและอธิบายสาเหตุที่ทาให้เกิดการเคลอื่ นที่ของแผน่ ธรณไี ด้ (P)
3. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ ายและสรปุ เกยี่ วกับกระบวนการเคล่ือนท่ขี องแผน่ เปลือกโลก (P)
4. อธบิ ายรปู แบบการเคลอ่ื นที่ของแผ่นธรณที ี่สัมพันธก์ บั การเกดิ ธรณสี ัณฐานและโครงสร้าง

ทางธรณวี ทิ ยาแบบต่าง ๆ (K)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 1

ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

5. ประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกยี่ วกับการแปรสัณฐานของแผน่ ธรณีในการ
รว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)

6. มคี วามสนใจใฝเ่ รยี นรหู้ รืออยากรู้อยากเหน็ ทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ อย่างสรา้ งสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ได้ (A)

ลาดับความคิดตอ่ เนือ่ ง

การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

ธรณีภาคซึ่งเป็นช้ันนอกสุดของโครงสร้างโลก แบ่งออกเป็นแผ่นธรณี (plate)
หลายแผน่ ซึง่ เคลื่อนทไ่ี ปบนฐานธรณภี าคทา ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทางธรณีอยูต่ ลอดเวลา

ทฤษฎีทวีปเลื่อน คือ แนวความคิดท่ีกล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนงึ่ ทวีปต่าง ๆ
ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปจั จุบนั แต่เคยอย่รู วมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพยี งแผ่นดินเดียวท่ี
เรียกวา่ พันเจยี (Pangaea)

หลักฐานท่ีสนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป
ซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครูดบนหิน
ทเ่ี กิดจากการเคล่ือนตัวของธารน้า แขง็ บรรพกาล

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการ
เคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี ได้แก่ สันเขากลางสมุทร อายุของหินบะซอลต์บนพ้ืนมหาสมุทร
ภาวะแมเ่ หล็กบรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคดิ จากทฤษฎีทวปี เลื่อน ทฤษฎีการแผ่
ขยายพืน้ สมทุ ร นา มาสรุปเป็นทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซ่ึงกล่าวถึงการเคลือ่ นที่
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่นธรณีอันเนื่องมาจากวงจรการพาความร้อนของแมกมา
ภายในเนื้อโลก

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 2

ชุดท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ
แนวแผ่นธรณีแยกตวั แนวแผ่นธรณีเคล่ือนที่หากัน แนวแผ่นธรณเี คล่ือนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณตี า่ ง ๆ บนโลก
สาระสาคญั

นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคดิ และทฤษฎีตา่ ง ๆ ต้งั แต่ทฤษฎีทวปี เลอ่ื น ทฤษฎี
การแผ่ขยายพ้ืนมหาสมทุ ร และแนวคิดการพาวงจรความร้อน มาสรปุ เป็นทฤษฎีเรียกว่า ทฤษฎีการ
แปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซ่งึ กล่าวถึงการเคล่อื นที่และการเปล่ียนแปลงลักษณะ เช่น ขนาด ตาแหน่ง
ของแผ่นธรณี โดยมีวงจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนให้แผ่นธรณีมี
การเคลอ่ื นท่ีในรูปแบบต่าง ๆ การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีจะส่งผลต่อการเกิดและการเปลยี่ นปลงของ
ทวีปและมหาสมุทร รวมท้ังธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี แผ่นธรณีแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
แผ่นทวีป และแผน่ มหาสมุทร แผน่ ธรณีภาคเหลา่ น้ีมกี ารเคลอื่ นท่อี ยตู่ ลอดเวลา นักวทิ ยาศาสตร์และ
นักธรณีวิทยาได้ศึกษารอบต่อของแผ่นธรณีภาคอย่างละเอยี ด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณีภาคไดด้ ังน้ี

1. ขอบแผ่นธรณภี าคแยกออกจากกัน
2. ขอบแผ่นธรณภี าคเคลอ่ื นเขา้ หากัน
3. ขอบแผ่นธรณภี าคเคลื่อนท่ีผ่านกัน

ทมี่ า : https://www.google.com/search?sxsrf=ALiCzsZ8eHAM1GG_t_

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 3

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6
เร่อื ง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104

คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบท่ีถูกต้องทีส่ ดุ แลว้ เขียนเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. ทฤษฎที ี่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมทุ ร และสงิ่ มีชีวติ ที่ตายทับถม อยู่ในหินบน
เปลือกโลก คือข้อใด

ก. ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวปี
ข. ทฤษฎีการขยายตวั ของพน้ื ทวีป
ค. ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการขยายตวั ของพนื้ มหาสมุทร

2. ผนื แผน่ ดินแผน่ เดียวกนั บนโลกต่อมาแยกเปน็ ทวีปใหญ่ 2 ทวปี คือข้อใด
ก. เอเชียและยโุ รป
ข. ยุโรปและอเมริกา
ค. ออสเตรเลียและอัฟริกา
ง. ลอเรเซยี และกอนด์วานา

3. จากการพบหนิ บะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมทุ ร แอตแลนตกิ อายุของ
หินอยูบ่ รเิ วณดังกลา่ วเปน็ อย่างไร

ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายมุ ากกว่าหนิ บะซอลต์ ที่อยใู่ กล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ท่อี ยู่ไกลจากรอยแยกมีอายนุ ้อยกว่าหินบะซอลต์ ทีอ่ ยใู่ กล้รอยแยก
ค. หนิ บะซอลต์ทีอ่ ยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกวา่ หนิ บะซอลต์ ทอี่ ยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก

4. สนามแมเ่ หล็กโลกโบราณใชเ้ ป็นหลักฐานเพ่ือพสิ ูจนท์ ฤษฎีอะไร
ก. การแปรสณั ฐานแผ่นธรณีภาค
ข. การเคลือ่ นทข่ี องแผ่นธรณีภาค
ค. แม่เหลก็ โลกในปัจจบุ นั
ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 4

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

5. แผน่ ดนิ ของทวีปอเมรกิ ากบั ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา แยกหา่ งกันมากข้ึนตลอดเวลา
เพราะสาเหตุใด

ก. เกดิ การแทรกตวั ของภเู ขาไฟและแผน่ ดนิ ในบริเวณชน้ั น้บี ่อยครั้ง
ข. แผ่นเปลอื กโลกเคลื่อนทเ่ี นื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเน้อื โลก
ค. หนิ หนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขนึ้ มาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

6. ปัจจบุ ันแผ่นเปลอื กโลกที่รองรับทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา มกี ารเคลอื่ นท่ี
อยา่ งไร

ก. เคลอ่ื นทเ่ี ข้าหากัน
ข. เคลือ่ นทแี่ ยกออกจากกัน
ค. เคล่อื นทใ่ี นทิศท่ีแตกตา่ งกัน
ง. ยังไมม่ ีการเคลื่อนท่แี ตอ่ ย่างไร

7. เทอื กเขาแอลปใ์ นทวีปยโุ รป เกดิ จากแผน่ ธรณีภาคใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกบั แผ่นธรณีภาคใตม้ หาสมุทร
ข. แผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมุทรกับแผ่นธรณภี าคพื้นทวปี
ค. แผ่นธรณภี าคใตม้ หาสมุทรกบั แผ่นธรณีใตม้ หาสมุทร
ง. แผ่นธรณภี าคพื้นทวปี กับแผน่ ธรณภี าคพนื้ ทวีป

8. สาเหตทุ ่ที าใหเ้ ปลอื กโลกเคลอ่ื นท่ี คือข้อใด
ก. การไหลของหนิ หนืดในชน้ั เน้ือโลก
ข. การประทุของหนิ แข็งในชน้ั เปลอื กโลก
ค. การเคลอ่ื นที่ของแร่ธาตใุ นแก่นโลกช้ันใน
ง. การแทรกตัวขนึ้ มาของแรธ่ าตุจากแกน่ โลกชั้นนอก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 5

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี
9. การท่ีแผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน นักเรียนคิดว่าเกิดจาก
สาเหตใุ ด

ก. ความรอ้ นจากชั้นเน้ือโลกถา่ ยเทอุณหภูมิไม่เทา่ กัน
ข. ความหนาแนน่ ของชนั้ ธรณภี าคและเนื้อโลกเท่ากัน
ค. อตั ราการเคลอื่ นตวั ของแมกมาในชนั้ เนอ้ื โลกไม่เท่ากัน
ง. ความหนาแนน่ ของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน
10. สาเหตสุ าคัญท่ีทาให้ธารนา้ แข็งเคลื่อนทล่ี งสู่ทต่ี า่ จนทาให้เปลือกโลกเปลีย่ นแปลงคืออะไร
ก. แรงดึงดดู ของโลก
ข. ความลาดเอยี งของภมู ิประเทศ
ค. ความกดดนั ของธารน้าแขง็ ดา้ นบน
ง. การเปล่ยี นแปลงของอุณหภูมิรอบๆ ธารนา้ แขง็

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 6

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรเนื้อหา
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี (plate tectonics)
จากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนสมุทรทาให้ทราบว่าทวีปและพื้นมหาสมุทร

มีการเคลื่อนที่ แต่ทวีปและพ้ืนมหาสมุทรเป็นส่วนบนของธรณีภาคการเคลื่อนท่ีของทวีปและพ้ืน
มหาสมทุ รจงึ มีความเกี่ยวขอ้ งกบั ธรณีภาคโดยรอยแยกทเ่ี กดิ ข้นึ บนพื้นมหาสมุทรเป็นรอยแตกในธรณี
ภาคซึ่งทาให้ธรณีภาคแตกออกเป็นแผ่นย่อย ๆ เรียกว่าแผ่นธรณี (plate หรือ lithospheric plate)
แผ่นธรณีแต่ละแผ่นอาจรองรับทั้งพ้ืนมหาสมุทรและพื้นทวีปแผ่นธรณีที่สาคัญในปัจจุบัน เช่น
แผ่นยูเรเซีย แผ่นแปซฟิ ิก แผ่นอินเดยี -ออสเตรเลีย แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นอเมริกาใต้ แผน่ แอฟริกา
แผ่นแอนตารก์ ติกา ดังรปู 5.1

รูปที่ 5.1 แผน่ ธรณีของโลก
ท่มี า : หนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หนา้ 49)

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 7

ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

แผ่นธรณีเคลื่อนท่ีได้เนื่องจากกระบวนการพาความร้อนภายในโลกโดยกระบวนการน้ีเกิด
จากความรอ้ นจากแกน่ โลกท่ีส่งผา่ นเนื้อโลกตอนล่างมาถงึ เน้อื โลกตอนบนเม่ือเนื้อโลกตอนบนสญู เสีย
ความร้อนบางส่วนให้กับธรณีภาคอุณหภูมิของเน้ือโลกตอนบนจึงลดต่าลงและไหลวนลงสู่ด้านล่าง
กลับมารับพลังงานความร้อนเพ่ิมจากแก่นโลกอีกครั้งเกิดการเคล่ือนท่ีหมุนวนจนเป็นวงจรเรียกว่า
วงจรการพาความร้อน (convection cell) ดังรปู 5.2

รปู ที่ 5.2 วงจรการพาความร้อนภายในโลก
ที่มา : หนงั สอื เรียนรายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หนา้ 51)

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ต้ังแต่ทฤษฎีทวีปเลื่อนทฤษฎี
การแผ่ขยายพ้ืนมหาสมุทรและแนวคิดวงจรการพาความร้อนมาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่าทฤษฎีการ
แปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics) ซ่ึงกล่าวถึงการเคลือ่ นที่และการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
เช่นขนาดตาแหน่งของแผ่นธรณีโดยมีวงจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกสาคัญในการ
ขบั เคลอื่ นให้แผ่นธรณมี ีการเคลอ่ื นที่ในรปู แบบตา่ ง ๆ การเคลือ่ นท่ีของแผน่ ธรณีนอกจากจะสง่ ผลต่อ
การเกิดและการเปล่ยี นแปลงของทวีปและมหาสมุทรแล้วยังส่งผลต่อธรณีสัณฐานและโครงสร้างทาง
ธรณี
การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค เป็นทฤษฎีเชิงธรณีวิทยาที่ถูกพัฒนาขึ้นเพ่ืออธิบายถึง
หลักฐานจากการสังเกตการเคล่ือนตัวของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎีน้ีได้พัฒนาต่อ
ยอดจากทฤษฎีการเล่ือนไหลของทวีปเดมิ ท่ีถกู เสนอขึน้ มาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปร

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 8

ชุดท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

สัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นท่ีแพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดท่ีเก่ียวกับการกระจายของพื้น
ทะเลในคริสต์ทศวรรษท่ี 1960 (ช่วงตน้ พ.ศ. 2500)

โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อคลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น
ช้ันท่ีอยู่นอกสุดคือช้ันธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเน้ือโลก
(mantle) ชั้นบนซึ่งมีอุณหภูมิต่าและแข็งเกร็ง ช้ันล่างลงไปคือช้ันฐานธรณีภาคชั้นดินอ่อน
(asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่าและขาดความแข็งแรง
อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเม่ือพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชงิ ธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิล
ท่ีอยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากข้ึนอีกคร้ัง กระน้ันความแข็งดังกล่าวไม่ได้มา
จากการเย็นลงของอุณหภูมิ แตเ่ นือ่ งมาจากความดนั ทมี่ ีอย่สู ูง

ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็น
แผน่ ขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผน่ ขนาดเล็กอีกจานวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่าน้ีเคลือ่ นท่ีสัมพันธ์
กับแผ่นเปลือกโลกอ่ืนๆ ขอบของเปลือกโลกสามารถแบ่งได้เป็นสามประเภทตามลักษณะการ
เคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชน
กันหรือบรรจบกัน ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มี
การแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ การก่อตัวของ
ภูเขา และการเกิดข้ึนของเหวสมุทรน้ันจะเกิดข้ึนพร้อมกับการเปล่ียนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน
การเคล่ือนตวั ด้านข้างของแผ่นดนิ นน้ั มอี ตั ราเร็วอย่รู ะหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนตเิ มตรตอ่ ปี

แผน่ เปลอื กโลกขนาดใหญ่

แผ่นเปลอื กโลกท่ีมีขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่
1. แผ่นแอฟริกา ครอบคลุมทวปี แอฟริกา เปน็ แผ่นทวปี แอฟรกิ า เป็นทวีปทมี่ ีขนาดใหญ่

ท่ีสุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นท่ีและจานวนประชากร ด้วยพ้ืนท่ี
ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ท่ีอยู่ข้างเคียง ทวีป
แอฟริกามีพื้นท่ีประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกท้ังหมด และนับเป็นพื้นท่ีประมาณร้อยละ 20.4
ของพื้นดินท้ังหมด ประชากรกว่า 1,100 ล้านคน (พ.ศ. 2556) ในดินแดน 61 ดินแดน นับเป็น
รอ้ ยละ 14.72 ของประชากรโลก

ทวีปแอฟริกาถูกล้อมรอบด้วยทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตอนเหนือ คลองสุเอซ และทะเล
แดง บริเวณคาบสมุทรไซนายทางตะวันออกเฉียงเหนือ มหาสมุทรอินเดียทางตะวันออกเฉียงใต้
และมหาสมทุ รแอตแลนติกทางตะวนั ตก ประกอบด้วย 54 รฐั

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 9

ชดุ ท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

รปู ท่ี 5.3 ทวีปแอฟริกา
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/
ทวีปแอฟริกาเป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก มีทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็น
พรมแดนระหว่างทวีปยุโรปทางตอนเหนือ และมีคลองสุเอซเป็นพรมแดนระหว่างทวีปเอเชียทาง
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ จดุ เด่นของทวีปแอฟริกาคอื มที ี่ราบสงู ถึง 2 ใน 3 ของทวปี โดยเฉพาะทางภาค
ตะวันออกของทวีป เป็นที่ราบสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1,500 - 2,000 เมตรจากระดับน้าทะเล มีแนว
ภเู ขาไฟที่ดับแลว้ มแี นวทะเลสาบขนาดใหญ่ แลว้ จะลาดตา่ ไปทางตะวันตก มีเกาะมาดากัสการ์
1. เทือกเขา แบ่งออกเปน็ 2 เขตคอื
1. เขตภูเขาทางภาคเหนือ เป็นเขตเทือกเขาเกิดใหม่อายุราวพอ ๆ กบั เทือกเขาแอลป์ใน
ทวีปยุโรป เรยี กว่า เทือกเขาแอตลาส ขนานไปกับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในเขตพื้นที่ประเทศ
โมรอ็ กโก แอลจีเรยี และตูนเิ ซีย
2. เขตภูเขาทางภาคใต้ ได้แก่ เทอื กเขาดราเคนสเบิร์ก ในประเทศแอฟรกิ าใต้และเลโซโท
2. ทะเลทราย แบง่ เป็น 2 เขตคือ
1. เขตทะเลทรายตอนเหนือ ได้แก่ ทะเลทรายสะฮารา (ซ่ึงเป็นทะเลทรายทีม่ ีขนาดใหญ่
ที่สดุ ในโลก) และทะเลทรายลิเบีย บริเวณนจี้ ะเกดิ ลมรอ้ นในทะเลทรายสะฮารา เรยี กว่า ซิร็อกโก
2. เขตทะเลทรายตอนใต้ ไดแ้ ก่ ทะเลทรายนามิบ และทะเลทรายคาลาฮารี

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 10

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
3. แมน่ า้

1. แม่น้าไนล์ เป็นแม่น้าสายที่ยาวท่ีสุดในโลก ต้นน้าคือทะเลสาบวิกตอเรีย ไหลลงทะเล
เมดิเตอรเ์ รเนียน

2. แมน่ ้าคองโก เปน็ แมน่ า้ เขตศูนย์สตู ร ไหลลงมหาสมุทรแอตแลนติก
3. แมน่ ้าไนเจอร์ อยู่ในส่วนแอฟริกาตะวันตก ตน้ นา้ อยู่ท่ีประเทศเซยี รร์ าเลโอน ไหลลงสู่
อ่าวกินี
4. แม่น้าแซมเบซี อยู่ทางด้านตะวันออกของทวีปมีแอ่งน้าตก น้าค่อนข้างไหลเชี่ยว ไหล
ลงมหาสมทุ รอินเดยี ทีป่ ระเทศโมซมั บกิ

รูปที่ 5.4 แผนที่ดาวเทยี มแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชีย่ วชาญ 11

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
2. แผ่นแอนตาร์กติก ครอบคลุมทวีปแอนตาร์กติกา เป็นแผ่นทวีป แอนตาร์กติกา
(Antarctica) เป็นทวีปท่ีอยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้ว
โลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบท้ังหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมรอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่
ประมาณ 14 ล้านตารางกิโลเมตร เปน็ ทวีปที่ใหญ่เป็นอนั ดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวปี ออสเตรเลียถึง
2 เท่า พื้นท่ี 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้าแข็งหนาเฉล่ีย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ท้ังหมด
เว้นแต่ส่วนเหนอื สุดของคาบสมุทรแอนตารก์ ตกิ

รูปที่ 5.5 ทวีปแอนตารก์ ตกิ า
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
โดยค่าเฉล่ียแล้วแอนตารก์ ตกิ าเป็นทวีปที่หนาวท่ีสดุ แหง้ แล้งท่ีสุด ลมแรงท่ีสุดและมีความสูง
โดยเฉล่ียมากท่ีสุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้าฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนว
ชายฝั่งและพื้นที่ภายใน ในช่วงไตรมาสที่สามซ่ึงเป็นช่วงท่ีหนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉล่ีย -63 °C
แต(่ ท่สี ถานีวอสตอค ของรัสเซีย) อุณหภูมทิ วี่ ัดได้เคยตา่ ถงึ -89.2 °C (และเคยวัดไดถ้ ึง -94.7 °C โดย
เป็นการวัดจากดาวเทียมในอวกาศ บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่
กระจายอยู่ทั่วท้ังทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ด
รา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร หนอนตัวกลม เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้า
สว่ นพืชก็จะเป็นพวกทันดรา

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 12

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
แม้ว่ามีตานานเลา่ ขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ต้ังแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถกู ระบุ
ว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกคน้ พบ เพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระท่ัง พ.ศ.
2363 นักสารวจชาวรัสเซียเฟเบียน ก็อทลีป ฟอน เบลลิ่งเชาเซนและมิคาอิล ลาซาเรฟท่ีอยู่บนเรือ
สลุบวอสตอค และเรือสลุบเมอร์นีย์ ได้สังเกตเห็นห้ิงน้าแข็งฟิมโบลแต่ก็ไม่ได้สนใจเนื่องจาก
สภาพแวดล้อมท่ีไม่เป็นมิตรต่อมนุษย์ ขาดแคลนทรัพยากรในการสารวจและความห่างไกลของพื้นท่ี
ต่อมาพ.ศ. 2438 ทมี สารวจชาวนอร์เวยไ์ ดร้ ับการยนื ยนั การมาเยอื นดินแดนแหง่ นี้เป็นคร้ังแรก
ทวีปแอนตาร์กติกาเป็นดินแดนใตก้ ารปกครองร่วมโดยพฤตนิ ัยตามกฎหมายระหว่างประเทศ
และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติกท่ีลงนามครั้งแรกโดย 12 ประเทศใน
พ.ศ. 2502 และตามด้วยการลงนามอีกเพ่ิม 38 ประเทศ ระบบสนธิสัญญานี้ห้ามมิให้มีการทาเหมือง
แร่ กิจกรรมทางทหาร ทดลองระเบิดนิวเคลียร์และการกาจัดกากนิวเคลียร์ แต่จะสนับสนุนการวิจัย
ทางวทิ ยาศาสตร์และปกปอ้ งชนั้ โอโซนของทวีป ทาให้มีการทดลองอย่างตอ่ เนอื่ งโดนนักวิทยาศาสตร์
4,000 คนจากหลายประเทศบนทวปี น้ี

รปู ที่ 5.6 ภาพถา่ ยดาวเทยี มของทวีปแอนตาร์กติกา
ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 13

ชุดที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี
3. แผ่นออสเตรเลีย ครอบคลุมออสเตรเลีย (เคยเช่ือมกับแผ่นอินเดียเมื่อประมาณ 50-55
ลา้ นปกี ่อน) เป็นแผ่นทวปี

รปู ท่ี 5.7 ทวปี ออสเตรเลีย
ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/
ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย (Commonwealth of
Australia) เป็นประเทศซ่ึงประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย
และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ ออสเตรเลียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็น
อันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นท่ีท้ังหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลี ประกอบด้วย
อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนีย
ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และนิวซีแลนด์ทางตะวนั ออกเฉียงใต้
เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนท่ีจะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษท่ี
18 ประเทศออสเตรเลียเป็นท่อี ยอู่ าศัยของชาวออสเตรเลียพื้นเมอื ง ท่พี ูดภาษาท่ีแบ่งออกได้เปน็ กลุ่ม
ประมาณ 250 ภาษา หลังจากการค้นพบของทวีปโดยนักสารวจชาวดัตช์ในปี ค.ศ. 1606, คร่ึงหน่ึง
ของฝ่ังตะวันออกของออสเตรเลียถูกอ้างว่าเป็นของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1770 และต้ังรกราก
ในขั้นต้นโดยการขนส่งนักโทษมายังอาณานิคมของนิวเซาธ์เวลส์จากวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1788
จานวนประชากรเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองในทศวรรษท่ีผ่านมา ทวีปถูกสารวจ และอีกห้าอาณานิคม
ปกครองตนเองของพระมหากษตั ริย์ถูกจัดตั้งขึน้

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 14

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
เม่ือวันท่ี 1 มกราคม ค.ศ. 1901 หกอาณานิคมถูกตั้งขน้ึ เป็นสหพันธ์, รวมตัวกันเป็นเครือรัฐ
ออสเตรเลีย. ตั้งแต่น้ันมา ออสเตรเลียยังคงรักษาระบบการเมืองเสรีนิยมประชาธิปไตยท่ีม่ันคง ที่ทา
หน้าท่ีเป็นรัฐสภาประชาธิปไตยของรัฐบาลกลางและพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญ สหพันธ์
ประกอบด้วยหกรัฐ และอีกหลายพ้ืนที่ ประชากร 23.1 ล้านคน อยู่ในเมืองเป็นส่วนใหญ่และมีความ
หนาแนน่ อย่างมากในรัฐทางตะวันออก
ออสเตรเลียเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป็นหน่ึงในประเทศที่ร่ารวยที่สุดในโลกที่มี
เศรษฐกิจ ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับท่ี 12 ของโลก ในปี ค.ศ. 2012 ออสเตรเลียมีรายได้ต่อหัวที่สูงที่สุด
อันดับห้าของโลก[14] คา่ ใช้จา่ ยทางทหารของออสเตรเลียมากท่สี ุดเป็นอันดับท่ี 13 ของโลก ด้วยดชั นี
การพัฒนามนุษย์ที่สูงที่สุดอันดับที่สองทั่วโลก, ออสเตรเลียถูกจัดอันดับท่ีสูงในการเปรียบเทียบ
ระหว่างประเทศจานวนมากของประสิทธิภาพการทางานในระดับชาติ เช่น คุณภาพชีวิต, สุขภาพ,
การศึกษา, เสรีภาพทางเศรษฐกิจ, และการปกป้องเสรีภาพของพลเมืองและสิทธิทางการ
เมือง ออสเตรเลียเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ, G20, เครือจักรภพแห่งชาติ, ANZUS, องค์การเพ่ือ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD), องค์การการค้าโลก, ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
เอเชยี แปซฟิ ิกและหมู่เกาะแปซิฟิกฟอรมั่

รปู ท่ี 5.8 แผนทีด่ าวเทียมแสดงสว่ นประกอบทางภูมศิ าสตรข์ องทวปี ออสเตรเลยี
ทีม่ า : https://sites.google.com/site/tor42273/thwip-xxsterleiy
โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 15

ชดุ ท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

4. แผ่นยเู รเชยี ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เป็นแผน่ ทวปี
แผ่นยูเรเชีย (Euresian Plate) คือแผ่นเปลือกโลกท่ีรองรับพื้นที่เกือบทั้งหมดของทวีป

ยูเรเชียแต่ไม่ได้รองรับประเทศอินเดีย อนุภูมิภาคอาหรับและพ้ืนที่ทางตะวันออกของเทือกเขา
เชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากน้ียังมีส่วนทร่ี องรบั มหาสมทุ รแอตแลนติกทางตอนเหนือ
ไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ
67,800,000 ตารางกิโลเมตร

การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อยา่ งเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973
การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ.2553 ล้วนเกิดจาก
การแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมรกิ าเหนอื กบั แผน่ ยเู รเชีย

ธรณีพลศาสตร์ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่น
อินเดยี

ทวีปเอเชีย เป็นทวีปใหญแ่ ละมีประชากรมากที่สุดในโลก พ้ืนท่ีส่วนมากต้ังอยใู่ นซกี โลกเหนือ
และตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย
ร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพ้ืนท่ีท้ังหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น
30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์
มานานและเป็นแหล่งกาเนิดอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนาดใหญ่
และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานท่ี และท่ีต้ังถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับท่ียังมี
บริเวณที่ประชากรต้ังถ่ินฐานเบาบางด้วย ท้ังนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น
60% ของประชากรโลก

รูปที่ 5.9 ทวปี เอเชีย
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 16

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
โดยทั่วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดีย
และทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์
และโครงสร้างวฒั นธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันดว้ ยลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ทชี่ ัดเจน จึงมีการ
โยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทาให้บริเวณน้ีแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม
ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธ์ขุ องตะวันออกกับตะวันตกและแบง่ จากกนั อย่างเด่นชัดกว่าการขีด
เส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสเุ อซ แม่น้ายูรัล, เทือกเขายูรัล
ช่องแคบตรุ กี ทางใตข้ องเทือกเขาคอเคซัส ทะเลดาและทะเลแคสเปยี น

รูปท่ี 5.10 แผนทด่ี าวเทยี มแสดงสว่ นประกอบทางภูมศิ าสตร์ของทวีปเอเชยี
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

จีนและอินเดียเป็นประเทศท่ีมีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชท่ี 1 ถึง 1800
จีนเป็นประเทศที่มีอานาจทางเศรษฐกิจที่สาคัญและดึงดูดผู้คนจานวนมากให้ไ ปทางตะวันออก
และตานาน ความม่ังค่ังและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของ
เอเชียส่ิงเหล่าน้ีจึงดึงดูดการค้า การสารวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทาง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 17

ชุดท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ขา้ มมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลมั บสั ในขณะที่กาลังค้นหาเส้นทาง
ไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝ่ัง
ตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ชอ่ งแคบมะละกากลายเป็นเสน้ ทางเดินเรือทีส่ าคัญ ช่วงศตวรรษท่ี
20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่าง
มากแต่การเตบิ โตของ ประชากรโดยรวมลดลงเร่ือย ๆ เอเชียเปน็ แหล่งกาเนิดของศาสนาหลักบนโลก
หลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์ ศาสนาฮินดูพระพุทธศาสนา
ลทั ธิขงจื๊อ ลัทธเิ ตา๋ ศาสนาเชน ศาสนาซกิ ข์ ศาสนาโซโรอสั เตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย

เนื่องจากเอเชียมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมี
ต้ังแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความ
แตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตรแ์ ละระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยงั มสี ภาพอากาศทแ่ี ตกต่างกันอย่างมาก เช่น พนื้ เขตร้อน
หรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่ง
อารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบข้ัวโลกในไซบีเรีย

ทวีปยโุ รป เป็นทวปี ทีต่ ั้งอยใู่ นซกี โลกเหนอื และส่วนมากอยูใ่ นซกี โลกตะวนั ออก ทางทิศเหนือ
ติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันออกติดกับทวีป
เอเชีย ทางทศิ ตะวนั ตกตดิ กับมหาสมทุ รแอตแลนติก เป็นอนุทวปี ทางด้านตะวนั ตกของทวีปยูเรเชยี

รปู ที่ 5.11 ทวปี ยุโรป
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 18

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
ต้ังแต่ประมาณ 1850 การแบ่งยุโรปกับเอเชียมักยึดตามสันปันน้าของเทือกเขายูรัล
และเทือกเขาคอเคซัส แม่น้ายูรัล ทะเลแคสเปียน ทะเลดาและช่องแคบตุรกี แม้คาว่า "ทวีป"
จะหมายถงึ ภูมิศาสตร์กายภาพของผนื ดินขนาดใหญ่ที่ไม่มีการแบ่งอย่างแน่นอนและชัดเจน จึงมีการ
โยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทาให้บริเวณชายแดนยุโรปกับเอเชียของยูเรเชียนั้นแสดงให้
เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธ์ุของตะวันออกกับตะวันตก
และแบง่ จากกันอย่างเดน่ ชัดกว่าการขดี เส้นแบ่งเขตแดน เสน้ แบ่งเขตแดนของทวีปไม่ไดแ้ บง่ ตามเส้น
แบ่งเขตแดนทางการเมอื งทาให้ตุรกี รสั เซียและคาซัคสถานเป็นประเทศข้ามทวปี

รปู ท่ี 5.12 แผนท่ีดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมศิ าสตรข์ องทวปี ยุโรป
ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki/

ยุโรปมีพ้ืนท่ีประมาณ 10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8%
ของผืนดิน) ในทางการเมืองยุโรปมีรัฐอธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ ซ่งึ มีรสั เซียเป็นประเทศที่
ใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพื้นท่ีทวีปยุโรป 39% และมีประชากรทั้งหมด 15% ของทวีป
ใน พ.ศ. 2560 ยุโรปมีประชากรประมาณ 741 ล้านคน (หรือ 11% ของประชากรโลก) ภูมิอากาศ
ยุโรปส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากกระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกทาให้ภายในทวีปจะมี
อากาศหนาวจัดในฤดูหนาวและร้อนในฤดูร้อนแม้ในละติจูดเดียวกันในเอเชียกับอเมริกาเหนือจะมี
สภาพอากาศทีร่ นุ แรง ยุโรปภาคพ้นื ทวปี จะเหน็ ความแตกตา่ งตามฤดูกาลได้ชดั เจนกวา่ บริเวณชายฝั่ง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 19

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

ทวีปยุโรปโดยเฉพาะกรีซโบราณเป็นแหล่งกาเนิดวัฒนธรรมตะวันตก การล่มสลายของ
จักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ 476 และสมัยการย้ายถิ่นช่วงต่อมา เป็นจุดจบของสมัยโบราณและ
เป็นจุดเร่ิมต้นของสมัยกลาง มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ยุคแห่งการสารวจ ศิลปะและ
วิทยาศาสตร์อันเป็นเป็นรากฐานนาไปสู่สมัยใหม่ ต้ังแต่ยุคแห่งการสารวจเป็นต้นมาน้ันยุโรปมี
บทบาทสาคัญระดับโลกในด้านเศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรปมีอานาจ
ปกครองหลาย ๆ ครั้งในทวีปอเมริกา เกือบทั้งหมดของแอฟริกาและโอเชียเนียร่วมถึงพน้ื ที่ส่วนใหญ่
ของเอเชยี

ยุคเรืองปัญญาหลังจากการปฏิวัติฝร่ังเศสและสงครามนโปเลียนส่งผลให้เกิดการปฏิรูป
วัฒนธรรม การเมืองและเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ถึงคร่ึงแรกของศตวรรษที่ 19 การ
ปฏิวัติอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักรช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป็นอย่างมากในยุโรปตะวันตกและขยายไปท่ัวท้ังโลกในเวลา
ต่อมา สงครามโลกทั้ง 2 คร้ังมีสมรภูมิส่วนใหญ่อยู่ในทวีปยุโรปน้ัน ทาให้ช่วงกลางศตวรรษที่
20 สหภาพโซเวียตและสหรัฐขึ้นมามีอานาจในขณะท่ีประเทศยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่มีอานาจลดลง
[7] ระหว่างสงครามเย็นยุโรปถูกแบ่งด้วยม่านเหล็กระหว่างเนโททางตะวันตกกับกติกาสัญญาวอร์ซอ
ในตะวันออก จนกระท่ังสน้ิ สุดลงหลังการปฏิวตั ิ ค.ศ. 1989และการล่มสลายของกาแพงเบอรล์ ิน

ใน ค.ศ. 1949 สภายุโรปกอ่ ตั้งข้ึนตามคาปราศรยั ของ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิล ซ่ึงมีแนวคิดใน
การรวมยุโรปเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทุกประเทศในยุโรปเป็นสมาชิกยกเว้น
เบลารสุ คาซคั สถานและนครรฐั วาตกิ ัน การบรู ณาการยโุ รปอน่ื ๆ อยา่ งการรวมกลุ่มโดยบางประเทศ
นาไปสู่การก่อต้ังสหภาพยุโรป (อียู) ซ่ึงเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองซ่ึงมีรูปแบบ
สมาพันธรัฐและสหพันธรัฐ[8] สหภาพยุโรปก่อตั้งขึ้นในยุโรปตะวันตกแต่เริ่มเพ่ิมสมาชิกในยุโรป
ตะวันออกต้ังแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ประเทศที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป
ส่วนใหญ่ใช้สกุลเงนิ ยูโรซ่ึงชาวยุโรปนิยมใช้กันท่ัวไป; และในเขตเชงเก้นของอียูจะยกเลกิ การควบคุม
ชายแดนและการอพยพระหว่างประเทศสมาชิก เพลงประจาสหภาพยุโรปคือ "ปีติศังสกานท์"และมี
วันยุโรปเพ่อื การเฉลิมฉลองสนั ตภิ าพและเอกภาพประจาปใี นทวปี ยุโรป

5. แผ่นอเมริกาเหนือ ครอบคลุมทวีปอเมริกาเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของ
ไซบเี รยี เป็นแผ่นทวีป

แผ่นอเมริกาเหนือ (อังกฤษ: North American Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีป
อเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ คิวบา บาฮามาส เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไอร์แลนด์ และบางส่วนของ
ไอซ์แลนด์ แผน่ เปลอื กโลกนร้ี องรบั ทัง้ ทวีปและมหาสมุทร

ทวีปอเมริกาเหนือ เป็นทวีปท่ีมีพื้นที่ท้ังหมดอยู่ในซีกโลกเหนือและเกือบท้ังหมดในซีกโลก
ตะวันตก เป็นอนุทวีปทางเหนือของทวีปอเมรกิ า ทางเหนอื ติดกบั มหาสมุทรอาร์กตกิ ทางตะวนั ออก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชีย่ วชาญ 20

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ตดิ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวนั ตกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดกับทวีปอเมริกาใต้และทะเล
แคริบเบียน

รปู ท่ี 5.13 ทวปี อเมริกาเหนือ
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
ทวีปอเมริกาเหนือมีประชากรมนษุ ย์เป็นครัง้ แรกในชว่ งยคุ นา้ แขง็ ครั้งลา่ สดุ โดยเดินทางผ่าน
สะพานแผ่นดินเบริงเจียเม่ือประมาณ 40,000 ถึง 17,000 ปีก่อน ประชากรมนุษย์กลุ่มนี้รู้จักกันใน
ช่ือพาลีโอ-อินเดียนซึ่งอยู่ในช่วง 10,000 ปีก่อน (จุดเร่ิมต้นของยุคอาร์เคอิกหรือเมสโซ-
อินเดียน) คลาสสิกสเตจมีช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษ 6 ถึง 13 ศตวรรษ ยุคก่อนโคลัมเบียน
สิ้นสุดใน ค.ศ. 1492 และเร่ิมมีการอพยพและการเข้ามาต้ังถิ่นฐานของชาวยุโรปในช่วงยุคแห่งการ
สารวจและช่วงต้นของยุคกลางทาให้รูปแบบวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ในปัจจุบันสะท้อนให้เห็นถึง
ปฏิสัมพันธ์ของการต้ังอาณานิคมของยุโรปในอเมริกาเหนือ เช่น ชาวผิวขาว ชาวพ้ืนเมือง ทาสชาว
แอฟรกิ าและกลุ่มชนรุ่นหลงั

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 21

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

รปู ท่ี 5.14 แผนท่ีดาวเทยี มแสดงส่วนประกอบทางภมู ศิ าสตร์ของทวีปอเมรกิ าเหนือ
ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/

6. แผ่นอเมรกิ าใต้ ครอบคลมุ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นแผ่นทวีป
ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน พื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบ

ข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพ่ิงจะ
เคล่ือนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนอื เมื่อไม่นานมาน้ี ทาให้เกิดคอคอดปานามา เทอื กเขาแอนดีสท่ี
มีอายุน้อยและไม่หยุดน่ิงพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขา
แอนดสี คอื แอง่ แมน่ ้าแอมะซอน ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ปน็ เขตป่าดบิ ชื้น

ทวีปอเมริกาใต้มีพ้ืนท่ีกว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือ
ตามลาดับ สว่ นจานวนประชากรเป็นอนั ดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยโุ รป และอเมรกิ าเหนือ

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 22

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปท่ี 5.15 ทวีปอเมริกาใต้
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/
ทวีปอเมริกาใต้ต้ังอยู่บนซีกโลกใต้เป็นส่วนมากโดยอยู่ระหว่างละติจูดที่ 12 องศาเหนือ
ถึง 56 องศาใต้ และลองจิจูด 35 องศาตะวันออก ถึง 117 องศาตะวันตก มีเน้ือที่ประมาณ 17.8
ล้านตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยล่ะ 14 ของแผ่นดินโลก ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก และมเี นื้อท่ี
แผ่นดินติดต่อกันทาให้ชายฝ่ังของทะเลมีน้อยเม่ือเทียบกับขนาดของทวีป โดยทวีปอเมริกาใต้มี
แผน่ ดินใหญร่ ปู ร่างคล้ายสามเหล่ยี ม

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 23

ชุดท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รปู ท่ี 5.16 แผนทีด่ าวเทียมแสดงสว่ นประกอบทางภูมิศาสตรข์ องทวีปอเมริกาใต้
ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki/

7. แผน่ แปซิฟกิ ครอบคลุมมหาสมทุ รแปซฟิ กิ เป็นแผ่นมหาสมุทร
แผ่นแปซิฟิก คือแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่ครอบคลุมพื้นท่ีส่วนของมหาสมุทรแปซิฟิก

มพี นื้ ที่ประมาณ 103 ล้านตารางกโิ ลเมตรจึงถือว่าเป็นแผ่นเปลือกโลกทใี่ หญท่ ี่สดุ
แผ่นแปซิฟิกมีจดุ รอ้ นภายในที่ทาให้เกดิ หมเู่ กาะฮาวาย
แผ่นแปซิฟิกกาลังเคล่ือนตัวเพื่อปรับสมดุลทางธรรมชาติ เพราะน้าแข็งข้ัวโลกละลายและ

ได้ไหลเข้าสู่มหาสมุทรแปซิฟิก จึงทาให้น้าในมหาสมุทรแปซิฟิกมีมากเกินไปจนเสียสมดุล ซึ่งการ
เคลอ่ื นตวั ของแผน่ แปซฟิ กิ อาจทาให้พืน้ ท่ีที่ติดกบั ทะเลหายไปได้

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 24

ชดุ ท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

รูปท่ี 5.17 แผ่นแปซฟิ ิก
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/wiki/
นอกจากน้ี ยังมีแผ่นเปลือกโลกที่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ แผ่นอินเดีย แผ่นอาระเบีย
แผ่นแครบิ เบียน แผน่ ฮวนเดฟูกา แผ่นนาสกา แผน่ ทะเลฟลิ ิปปินส์ และแผ่นสโกเชยี
การเคล่อื นท่ีของแผ่นเปลือกโลกนน้ั มสี าเหตมุ าจากการรวมตัวและแตกออกของทวีปเมื่อผ่าน
ช่วงเวลาหน่ึง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งได้รวมทุกทวีปเข้าด้วยกัน มหาทวีป
โรดิเนีย (Rodinia) น้ันคาดว่าก่อตัวขึ้นเมื่อหน่ึงพันล้านปีที่ผ่านมา และได้ครอบคลุมผืนดินส่วนใหญ่
บนโลก จากนั้นจึงเกิดการแตกตัวไปเป็นแปดทวีปเมื่อ 600 ล้านปีที่แล้ว ทวีปท้ังแปดน้ีต่อมาเข้า
มาร่วมตัวกันเป็นมหาทวีปอีกครั้ง โดยมีช่ือว่า แพงเจีย (Pangaea) และในที่สุด แพงเจียก็แตก
ออกไปเป็นทวีปลอเรเชีย (Laurasia) ซึ่งกลายมาเป็นทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเชีย และทวีป

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 25

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
กอนด์วานา (Gondwana) ซึง่ กลายมาเปน็ ทวีปอน่ื ๆ นอกเหนอื จากท่ไี ด้กล่าวขา้ งต้น ดังทเ่ี หน็ กันอยู่
ทกุ วันน้ี

รูปที่ 5.18 แผนที่แสดงแผน่ เปลอื กโลก
ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki/
การเคลอื่ นท่ีของแผ่นเปลอื กโลกนัน้ มสี าเหตมุ าจากการรวมตัวและแตกออกของทวีปเมื่อผ่าน
ช่วงเวลาหนึ่ง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางคร้ัง ซึ่งได้รวมทุกทวีปเข้าด้วยกัน มหาทวีป
โรดิเนีย (Rodinia) น้ันคาดว่าก่อตัวข้ึนเมื่อหน่ึงพันล้านปีที่ผ่านมา และได้ครอบคลุมผืนดินส่วนใหญ่
บนโลก จากน้ันจึงเกิดการแตกตัวไปเป็นแปดทวีปเม่ือ 600 ล้านปีที่แล้ว ทวีปทั้งแปดนี้ต่อมาเข้า
มาร่วมตัวกันเป็นมหาทวีปอีกครั้ง โดยมีชื่อว่าแพงเจีย (Pangaea) และในที่สุด แพงเจียก็แตก
ออกไปเป็นทวีปลอเรเชีย (Laurasia) ซ่ึงกลายมาเป็นทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเชีย และทวีป
กอนด์วานา (Gondwana) ซึ่งกลายมาเป็นทวีปอื่น ๆ นอกเหนือจากท่ีได้กล่าวข้างต้น ดังที่เห็นกัน
อยู่ทกุ วันนี้
การเคล่อื นที่ของแผน่ เปลือกโลก (plate motion) คอื ลกั ษณะการเคล่ือนท่ขี องแผน่ เปลือก
โลก 2 แผน่ ทีอ่ ย่ตู ดิ กัน สามารถจาแนกได้ออกเปน็ 3 รปู แบบ ตามลักษณะการเคล่ือนท่ีสัมพัทธ์กัน
ระหว่างแผน่ เปลือกโลกทั้งสอง ได้ดงั ต่อไปนี้

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 26

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี
 การเคลอ่ื นท่ขี องแผ่นเปลือกโลกแบบเคลื่อนผา่ นกนั
 การเคลือ่ นทข่ี องแผน่ เปลือกโลกแบบเคลื่อนแยกจากกนั
 การเคล่ือนที่ของแผน่ เปลือกโลกแบบชนเข้าหากัน

รูปที่ 5.19 แผนที่แสดงแผ่นเปลอื กโลก
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

ธรณีแปรสัณฐาน เป็นการศึกษาด้านธรณีแปรสัณฐาน ท่ีนักธรณีวิทยาต้ังข้อสงสัยไว้หลาย
ร้อยปีมาแล้วถึงลักษณะของพื้นผิวโลกท่ีมีลักษณะธรณีสัณฐานท่ีแตกต่างกันไปในแต่ละพ้ืนที่ บ้างก็
เป็นลักษณะเทือกเขาสูงชัน บ้างก็เป็นที่ราบกินอาณาบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล หรอื ทรี่ าบในบางแห่ง
ก็เป็นท่ีราบไหล่ทวีปใกล้ชายฝ่ังทะเล บ้างก็พบเกาะกลางมหาสมุทร รวมถึงร่องลึกกลางมหาสมุทร
โดยในช่วงประมาณ ค.ศ. 1960 เมื่อ B.C. Heezen, H.H. Hess และ R.S. Dietz ได้เสนอทฤษฎี
เก่ียวกับการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร (Seafloor Spreading) กล่าวถึงการแยกตัวที่พ้ืนมหาสมุทร
ออกจากกนั เปน็ แนวยาวโดยมีแมกมาจากใต้ช้ันเปลือกโลกแทรกข้นึ มาเย็นตวั และแข็งตัว เกิดเป็นพ้ืน
มหาสมุทรใหม่แล้วก็แยกจากกันออกไปอีกเร่ือยๆ นอกจากนั้นยังมีการพูดถึงการหดตัวของโลกอัน
เนื่องมาจากการสูญเสียพลังงานความร้อนทาให้การหดตัวเกิดขึ้นไม่เท่ากันในแต่ละบริเวณ บริเวณที่
มีการหดตัวมากอาจเป็นเป็นร่องลึก อยู่ต่าลงไป แต่บริเวณท่ีมีการหดตัวน้อยก็อาจเห็นเป็นเทือกเขา

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 27

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สูงได้เน่ืองจากบริเวณโดยรอบมีการหดตัวท่ีมากกว่า แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถอธิบายถึงแนว
ร่องหบุ เขาท่ีเกิดข้ึนได้ นักธรณีวิทยายังคงศึกษาถึงเหตุการณ์ต่างๆอย่างต่อเน่ือง เช่น สนามแมเ่ หล็ก
โลกโบราณ ซากดึกดาบรรพ์ต่างๆท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของโลก ทาให้ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึง
ทฤษฎอี ยู่ 2 ทฤษฎี ทจี่ ะมาอธบิ ายเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ได้แก่

1. ทฤษฎีทวปี เลื่อน (Continental Drift)
2. ทฤษฎแี ผ่นเปลือกโลกเคล่ือนที่ (Plate Tectonics)

ในค.ศ. 1620 ฟรานซิส เบคอน ได้ตั้งข้อสังเกต ถึงการที่สองฟากมหาสมุทรแอตแลนติกมี
ลักษณะสัณฐานวิทยาท่ีสอดคล้องกันต่อมา P.Placet 1668 พยายามอธิบายว่าสองฟากมหาสมุทร
แอตแลนตกิ น่าจะเชื่อมกันมาก่อน แต่ยังไม่มหี ลักฐานหรือข้อมลู ใดสนับสนุน นอกจากอาศัยลกั ษณะ
คล้ายคลึงสอดคล้องกันของชายฝ่ังมหาสมุทรเท่านั้น จากน้ันในปี 1858 Antonio Sniderได้อาศัย
ขอ้ มูลชั้นหินในยุค Carboniferous ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือมาเช่ือมโยงกันซ่ึงสามารถสรุปได้
วา่ ก่อนหน้าน้ที วีปทง้ั หมดเคยเปน็ ทวีปผืนเดียวกนั มากอ่ น แล้วจงึ ค่อยๆ แยกออกจากกนั ในภายหลัง
ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้อธิบายถึงของการท่ีมหาทวีป 2 ทวีปซ่ึงเคยวางตัวอยู่ใกล้ข้ัวโลก
เหนือและใต้แยกออกเป็นทวีปเล็กๆ และเคลื่อนที่มาในทิศเข้าหาเส้นศูนย์สูตร นั่นคือมหาทวีปลอเร
เซีย (Laurasia) ซึ่งอยู่ทางเหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซึ่งอยู่ทางใต้ โดยเป็น
การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกไซอัลเท่าน้ัน ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegene ได้สร้างแผนที่มหาทวีป
ใหม่ โดยอาศัยรปู รา่ งแผนท่ีของ Snider และต้ังชื่อว่ามหาทวปี พนั เจีย ซงึ่ ถูกล้อมรอบด้วยมหาสมุทร
พันธาลาสซา (Panthalassa) แล้วเกิดการแยกออกและเคล่ือนท่ีไปอยู่ ณ ตาแหน่งท่ีเห็นอยู่ใน
ปัจจุบัน โดยขณะเคลื่อนท่ีก็เกิดเทือกเขาขึ้น ต่อมา Taylor ได้อธิบายว่ารอยช้ินทวีปที่ขาดหล่น
ปรากฏเปน็ เกาะแก่ง หรอื รอยฉีกทพ่ี บเป็นร่องลึกยังปรากฏอย่บู นพ้ืนมหาสมุทร

รปู ที่ 5.20 แผนท่ีแสดงแผน่ เปลือกโลก
ทม่ี า : https://sites.google.com/site/maneeprapayotakaree10219/6

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 28

ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

เมื่อกว่าหลายทศวรรษที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่าแผ่นทวีปต่างๆ บนโลกน้ัน
น่าจะสามารถนามาต่อกันได้เพราะแผ่นทวีปเหล่าน้ีเคยเป็นแผ่นเดียวกันมาก่อน จากการสังเกตครั้ง
นั้นรว่ มกับการคน้ พบซากดกึ ดาบรรพช์ นิดเดียวกันบนชายฝ่งั อเมรกิ าเหนือและแอฟริกาในเวลาต่อมา
ในช่วง 1950s ถึง 1960s นักธรณีวิทยาได้มีการศึกษาทางสุมทรศาสตร์อย่างจริงจังเพื่อหา
ข้อสนับสนุนแนวความคิดต่างๆ ในอดีต และได้ก่อให้เกิดทฤษฎีของเพลตเทคโทนิก (Plate
Tectonics) ข้ึนในเวลาต่อมา ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าการเคลื่อนท่ีของแผ่นเปลือกโลก (Plates)
นั้นสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงพ้ืนผิวโลกตลอดช่วงธรณีกาล แผ่นเปลือกโลก Lithosphere
(ซ่ึงประกอบด้วยเปลือกโลกและแมนเทิลส่วนบน) ลอยตัวและไหลอยู่บนช้ันหินหนืด (ช้ันแมนเทิล
ที่สามารถไหลได้คล้ายของเหลวเรียกว่า Asthenosphere) สามารถเคลื่อนไปได้ประมาณ
หน่ึงน้ิวต่อปี และก็ได้เป็นคาตอบของสาเหตุที่ทาใหแ้ ผ่นเปลอื กโลกเคลื่อนที่นั่นเอง โดยนักธรณีได้ให้
ข้อสรุปไว้ว่าแผน่ เปลอื กโลกสามารถเคลอื่ นทไี่ ดส้ ามแบบได้แก่

1. เคลื่อนทแ่ี ยกออกจากกัน (Divergent)
2. เคลือ่ นทเ่ี ข้าชนกนั (Convergent)
3. เคลื่อนผ่าน (Transform)

เคลอ่ื นทีแ่ ยกออกจากกนั
เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกออกจากกัน ท่ีบริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว

(Divergent Boundaries) หินหนืดร้อน (Hot Magma) จากชั้นแมนเทิลจะแทรกตัวขึ้นมาตาม
ช่องว่างตามแนวรอยแตก เมื่อหินหนืดเย็นตัวก็จะกลายเป็นแผ่นเปลือกโลกใหม่ การแทรกตัวขึ้นมา
ของหินหนืดจะทาให้แนวแยกตัวน้ันสูงขึ้นกลายเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid-Ocean
Ridges) แสดงถึงขอบของแผ่นเปลือกโลกในมหาสมุทร เปลือกโลกใหม่ท่ีถูกสร้างข้ึนอย่างต่อเน่ืองมี
อตั ราเร็วในการเกิดประมาณ 20 ลกู บาศกก์ โิ ลเมตรตอ่ ปี

แนวเทือกเขากลางสมทุ ร
มีลักษณะเป็นแนวเทือกเขาเตี้ยวางตัวทอดยาวไปบนพื้นมหาสมุทรคล้ายกับเทือกเขาบน

ทวีป เทือกเขากลางสมทุ รท่ีสาคัญได้แก่ Mid-Atlantic Ridge และ East Pacific Rise เป็นต้น กลาง
เทือกเขามลี ักษณะพิเศษคือมีร่องลกึ อันเกดิ จากรอยเลอื่ นทอดตัวตลอดความยาวของเทอื กเขา โดยมี
ลักษณะคล้ายคลึงกับร่องหุบเขาท่ีปรากฏอยู่บนแผ่นดินหลายแห่ง เช่น ร่องหุบเขาทางด้าน
ตะวันออกของทวีปแอฟริกา หรือร่องหุบเขาบริเวณแม่น้าไรน์ในยุโรป เป็นต้น บนเทือกเขากลาง
สมุทรมีการยกตัวขึ้นมาของหินหลอมละลายท่ีลึกลงไปในชั้นเน้ือโลกทาให้เกิดเป็นหินอัคนีพุจาพวก
Basalt และ Ultramafic หินอคั นีพุเหลา่ นี้แสดงหลักฐานเปน็ แถบบนั ทกึ สนามแมเ่ หลก็ โลกซึง่ เกดิ ข้ึน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 29

ชดุ ท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

ขณะที่หินหลอมละลายกาลังเย็นตัว แถบบันทึกนแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ สนามแม่เหล็กโลกได้เกดิ การกลับข้ัว
ไปมาตลอดเวลา นอกจากน้ียงั พบว่าแถบบันทึกสนามแม่เหลก็ โลกนีป้ รากฏอยู่บนหินที่ประกอบเป็น
พื้นมหาสมุทรทั้งสองฟากของเทือกเขากลางสมุทรด้วย และพบว่าย่ิงห่างออกไปจากแนวกลางของ
เทือกเขาชุดหินจะมีอายุแก่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังน้ันจึงอธิบายได้ว่าหินเหล่านี้เกิดขึ้นก่อนท่ีกลางเทือกเขา
แล้วค่อยเคลื่อนท่ีออกจากกันเรื่อย ๆ ตามกาลเวลา จากการคานวณการเคลื่อนท่ีทาให้กาหนด
ความเร็วของการแยกตัวได้ว่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 15 เซนติเมตรต่อปี ดังน้ันเราสามารถระบุขอบของ
แผน่ เปลอื กโลกในสว่ นท่กี าลงั แยกตวั ออกจากกนั จากบรเิ วณเทอื กเขากลางสมุทรได้

เคลอ่ื นที่เขา้ ชนกนั
เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่มีการเย็นตัวเป็นเวลากว่าสิบล้านปี ความหนาแน่นก็จะ

คอ่ ยๆ เพ่ิมมากขึ้นจนมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นหินหนืดที่อยู่ด้านล่าง จากนั้นจงึ มุดตวั ลงไปใต้โลก
เรียกว่า Subduction การมดุ ตวั นีจ้ ะเกิดข้นึ ในบริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (Convergent
Plate Boundaries) ซึ่งแผ่นเปลือกโลกทั้งสองแผ่นมีการเคล่ือนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกมหา
สมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะเขา้ ชนและมุดตัวใต้แผน่ เปลือกโลกภาคพื้นทวีปท่ีความหนาแน่น
น้อยกว่า เม่ือแผ่นเปลือกโลกมุดตัวลงไปในโลก จะเกิดการบีบอัดและหลอมเป็นบางส่วน (Partially
Melting) เนื่องจากอุณหภูมิและความดนั ที่สงู ขึ้น ทาให้เกิดแผ่นดินไหวและภเู ขาไฟ ข้ึนเหนอื บรเิ วณ
ท่มี ีการมุดตวั โดยการเคลือ่ นทแ่ี บบ Convergence จะทาใหเ้ กิดลักษณะธรณีสณั ฐาน 3 แบบ ไดแ้ ก่

1. การสร้างเทอื กเขา
แรงดันจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรทาให้แผ่นเปลือกภาคพื้นทวีปที่มี

ความหนาแน่นน้อยกว่าที่เคล่ือนท่ีต้านแรงดังกล่าวเกิดการโก่งตัวเกิดเป็นแนวเทือกเขาขนาดใหญ่
(Mountain Ranges) เชน่ เทอื กเขาหิมาลยั เทอื กเขารอ๊ กก้ี

2. ร่องลกึ มหาสมทุ รและหมู่เกาะ
เม่ือแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรสองแผ่นเคล่ือนท่ีชนกันและการมุดตัว บริเวณที่มีการมุด

ตัวจะเกิดร่องลึกมหาสมุทร (Oceanic Trenches) และแนวหมู่เกาะภูเขาไฟ (Volcanic Island
Chains)

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 30

ชุดที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

3. รอ่ งลึกกน้ สมทุ ร
ร่องลึกนี้ถูกพบที่ใต้มหาสมุทรใกล้ขอบของทวีป และมักพบว่ามีแนวเกาะภูเขาไฟรูปโค้ง

อยู่ด้านอยู่ใกล้ขอบทวีป หินภูเขาไฟท่ีเกิดขึ้นตามแนวเกาะภูเขาไฟน้ีเป็นจาพวกหิน Andesite
ซึ่งแตกต่างไปจากหินอัคนีท่ีเกิดบริเวณเทือกเขากลางสมุทรที่ส่วนใหญ่เป็นหิน Basalt นอกจากนั้น
บริเวณน้ียังพบว่าเป็นบริเวณท่ีมีความร้อนสูงและมีการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง พบว่าตาแหน่ง
จุดกาเนิดแผ่นดินไหว มีลักษณะเอียงเทลงไปจากแนวร่องลึกลงไปถึงชั้นฐานธรณีภาค ท่ีประมาณ
ความลึกถึง 700 กิโลเมตร เรียกแนวแผ่นดินไหวเอียงเทน้ีว่าเขตเบนนิออฟ (Benioff Zones)
จากการศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวท่ีพบในที่ลึกพบว่ามีแผ่นดินไหวจานวนหนึ่งน่าจะเกิดจาก
รอยเล่อื นทม่ี ลี ักษณะสอดคล้องกับการเอียงของ Benioff Zone โดยแสดงเป็นลักษณะของรอยเลื่อน
ย้อน ดังน้ันจึงเกิดเป็นสมมติฐานว่าบริเวณน้ีแผ่นเปลือกโลกกาลังมุดตัวเอียงลง และถูกกลืนหายไป
ในชั้นฐานธรณีภาค ขณะเดียวกันแนวเกาะภูเขาไฟและเขตความร้อนพิภพสูงก็อธิบายว่าได้เกิดการ
หลอมตัวของแผ่นเปลือกโลกในท่ีลึกจนกลายเป็นมวลหินหลอมเหลว ซึ่งมวลหินหลอมเหลวค่อยๆ
หาทางเคลอื่ นทีข่ ึ้นข้างบนมาเย็นตัวเป็นมวลหินอัคนีทั้งหินอคั นพี ุและหินอคั นีแทรกดัน นอกจากนใี้ น
บรเิ วณใกลเ้ คียงท่ขี อบของแผ่นเปลอื กโลกด้านใดด้านหน่ึงหรอื ท้ังสองดา้ นนา่ จะเกิดการเขา้ ชนกันทา
ให้เกิดการคดโค้งโก่งงอพร้อมกับรอยเลื่อนย้อนมากมายจนทาให้วัสดุถูกยกตัวขึ้นเป็นแนวแคบยาว
ขนานไปตามแนวชนกันของขอบแผน่ เปลือกโลกนัน่ คือการเกิดเปน็ แนวเทือกเขาน่นั เอง

เคลือ่ นผา่ น
แผ่นเปลือกโลกมีการเคล่ือนที่ผ่านซ่ึงกันและกันในบริเวณแนวรอยเล่ือนแปรสภาพ

(Transform Boundaries) มักพบในแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร ซ่ึงเป็นสาเหตุทาให้แนวเทือกเขา
กลางมหาสมุทรเลื่อนเหล่ือมออกจากกนั บางบริเวณก็พบว่าตัดผา่ นแผ่นเปลอื กโลกภาคพ้ืนทวีปด้วย
ในมหาสมุทรแนวดังกล่าวน้ีมักจะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวกาลังไม่มากอยู่เป็นประจา ส่วนในภาคพื้น
ทวีปแนวดังกล่าวมักถูกจากัดทาให้เกิดการสะสมพลังงานและก่อให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในเวลา
ตอ่ มาเมอ่ื เกดิ การเล่ือนอยา่ งฉบั พลัน ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดความเสียหายได้ ดงั เชน่ รอยเลอ่ื นซานแอนเดยี ส

รอยเลอื่ นระนาบด้านข้าง
เป็นลักษณะของรอยเล่ือนแนวระดับ (Strike-Slip Fault) ซึ่งพบตัดแนวเทือกเขากลาง

สมุทรและทาให้แนวเทือกเขาเหลื่อมกันและจากข้อมูลแผ่นดินไหวพบว่า แนวรอยเลื่อนนี้อยู่ลึก
ประมาณ 300 กิโลเมตร รอยเลื่อนชนิดน้ียังไม่ทราบถึงสาเหตุของการเกิด แต่สามารถใช้ระบุ
ขอบเขตของแผ่นโลกที่เกิดได้รวมท้ังบอกถึงการเคลื่อนตัวเฉียดผ่านกันของแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ชิด
กันด้วย

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 31

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.1
ถอดบทเรียน เร่ือง การเคลื่อนท่ขี องแผ่นธรณี

จุดประสงค์กิจกรรม
อธบิ ายสาเหตุท่ีทาให้แผน่ ธรณีเคลื่อนท่โี ดยใช้แบบจาลอง

วัสดุ-อุปกรณ์
1. นา้ มันพืช 1 ลิตร
2. แผ่นวัสดเุ บา ลอยบนนา้ มนั ได้ และทนความร้อน เช่น แผน่ โฟมบาง ไม้บลั ซา

ขนาด กว้าง 4 เซนติเมตร ยาว 8 เซนตเิ มตร จานวน 2 แผ่น
3. บีกเกอร์ขนาด 2,000 มลิ ลิลติ ร จานวน 1 ใบ
4. ผงวสั ดทุ แี่ ขวนลอยอยู่ได้ในน้ามนั เช่น ผงพริกป่น ขเี้ ล่ือย
5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชดุ
6. แท่งแกว้ คนสาร 1 แท่ง

วธิ กี ารทากจิ กรรม
1. เทน้ามนั พชื ลงในบกี เกอร์ และน้าบีกเกอรต์ ง้ั บนชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์
2. ใส่ผงวัสดลุ งตรงกลางบกี เกอร์ใช้แทง่ แก้วกดให้ผงวัสดุแขวนลอยอยูใ่ นช้ันนา้ มนั พืช
3. วางแผน่ โฟมที่ตดั เป็นรูปร่างของแผน่ ธรณี 2 แผน่ โดยวางให้ชิดกันและ อยู่ตรงกลางของ

บีกเกอร์
4. สงั เกตการเคล่ือนที่ของผงวัสดแุ ละแผน่ โฟมกอ่ นจดุ ไฟ
5. จุดไฟท่ีตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. สังเกตการเคล่ือนท่ีของผงวัสดุและแผ่นโฟม และบันทึก

ผลการสังเกต โดยวาดภาพ และเขียนบรรยาย

ผลการทากจิ กรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 32

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

คาถามท้ายกิจกรรม
1. เม่ือให้ความร้อนกับน้ามัน น้ามันและแผ่นโฟมมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร สังเกตได้จาก

ส่งิ ใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. นาน้ามันมันพืช แผ่นโฟม และความร้อนที่ให้ในกิจกรรมเปรียบเทียบได้กับอะไรใน
ธรรมชาติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. กิจกรรมนเ้ี ปรยี บกบั การเคลอื่ นท่ีของแผ่นธรณไี ด้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 33

ชุดท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.2
แผนผงั มโนทศั น์ เร่อื ง การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรปุ ความรู้ท่ีเกย่ี วกับ “การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี” เปน็ แผนผงั มโนทัศน์
(Concept Mapping) ในกระดาษทแี่ จกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 34

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมท่ี 5.3
ถอดบทเรียน เรื่อง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนท่ีเกี่ยวกับ “การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี” ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตท่ีกาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศ
หนา้ ช้นั เรยี น

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 35

ชดุ ที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

แบบฝึกหัด
เรอ่ื ง การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี

1. แผน่ ทวีปใดท่ีดูเหมือนวา่ เคยเปน็ แผน่ ดินเดยี วกนั มากอ่ น เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. การคน้ พบซากดึกดาบรรพ์ของพืชตระกูลเฟนิ ท่ชี ่ือ กลอสซอพเทอริส ในแผ่นดนิ ของทวีปแอฟรกิ า
เอเชยี และออสเตรเลีย สามารถบอกอะไรเก่ยี วกับความเปน็ มาของแผน่ ทวปี ได้บ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จากภาพในหนงั สือเรยี นหนา้ 60 จงอธบิ ายเกี่ยวกับเปลือกใต้มหาสมุทรตามความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เพราะเหตใุ ด ปรากฏการณ์ภเู ขาไฟระเบิดและแผน่ ดินไหว มักเกดิ ตามแนวการมดุ ตวั ของแผ่น
ธรณภี าค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 36

ชดุ ท่ี 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

6. นักเรียนมีความเข้าใจเกย่ี วกบั ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคอย่างไรบ้าง จงอธบิ าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. รอยคดโคง้ รอยแตก รอยเล่ือนในหิน มีลกั ษณะเหมือนกันหรือไม่ เกดิ ขึน้ ได้อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. จากการศึกษาแผนทีโ่ ลก ภมู ิประเทศของโลกมีลกั ษณะอยา่ งไรบ้าง และลักษณะเหลา่ น้ันเกดิ ขนึ้
ไดอ้ ย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 37

ชดุ ท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบหลังเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6
เรอื่ ง การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว30104

คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ดุ แล้วเขียนเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. แผน่ ดนิ ของทวีปอเมรกิ ากบั ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา แยกห่างกนั มากขึ้นตลอดเวลา
เพราะสาเหตใุ ด

ก. เกดิ การแทรกตัวของภเู ขาไฟและแผน่ ดนิ ในบรเิ วณชนั้ นีบ้ ่อยคร้งั
ข. แผน่ เปลอื กโลกเคล่ือนทีเ่ นื่องจากการไหลของแมกมาในช้นั เนือ้ โลก
ค. หินหนืดในช้ันเนือ้ โลกดนั แทรกขน้ึ มาตามรอยแตกระหวา่ งเปลอื กโลก
ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

2. ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และส่ิงมีชีวิตทีต่ ายทับถม อยู่ในหินบน
เปลอื กโลก คือขอ้ ใด

ก. ทฤษฎีการเลอื่ นไหลของทวีป
ข. ทฤษฎีการขยายตัวของพืน้ ทวีป
ค. ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการขยายตวั ของพ้ืนมหาสมทุ ร

3. จากการพบหนิ บะซอลต์ท่ีรอยแยกบรเิ วณเทือกเขากลางมหาสมทุ ร แอตแลนตกิ อายุของ
หนิ อยู่บรเิ วณดงั กล่าวเป็นอย่างไร

ก. หนิ บะซอลต์ท่ีอยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุนอ้ ยกวา่ หินบะซอลต์ ที่อย่ใู กล้รอยแยก
ข. หนิ บะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายมุ ากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยใู่ กล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ท่ีอยู่ไกลจากรอยแยกมีอายนุ ้อยกว่าหนิ บะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 38

ชดุ ท่ี 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

4. เทอื กเขาแอลปใ์ นทวีปยโุ รป เกดิ จากแผ่นธรณภี าคใด
ก. แผน่ ธรณีภาคพน้ื ทวปี กับแผ่นธรณภี าคพื้นทวีป
ข. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผน่ ธรณใี ต้มหาสมุทร
ค. แผน่ ธรณีภาคใต้มหาสมุทรกบั แผน่ ธรณีภาคพ้ืนทวปี
ง. แผน่ ธรณภี าคใตม้ หาสมุทรกบั แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร

5. สนามแม่เหล็กโลกโบราณใชเ้ ปน็ หลักฐานเพอ่ื พสิ จู น์ทฤษฎีอะไร
ก. การแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค
ข. การเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณีภาค
ค. แมเ่ หลก็ โลกในปจั จุบัน
ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

6. ปจั จบุ นั แผ่นเปลือกโลกท่ีรองรับทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา มีการเคลอ่ื นท่ี
อยา่ งไร

ก. เคลอื่ นที่เข้าหากัน
ข. เคล่อื นทีแ่ ยกออกจากกัน
ค. เคล่อื นท่ใี นทิศที่แตกต่างกนั
ง. ยังไมม่ ีการเคล่ือนทแี่ ตอ่ ย่างไร

7. สาเหตทุ ่ที าใหเ้ ปลอื กโลกเคลื่อนท่ี คือข้อใด
ก. การไหลของหินหนดื ในช้ันเนื้อโลก
ข. การประทุของหินแข็งในชั้นเปลอื กโลก
ค. การเคลอื่ นทีข่ องแรธ่ าตุในแก่นโลกชนั้ ใน
ง. การแทรกตัวข้ึนมาของแรธ่ าตุจากแกน่ โลกช้นั นอก

8. ผนื แผน่ ดินแผ่นเดียวกนั บนโลกต่อมาแยกเปน็ ทวปี ใหญ่ 2 ทวปี คือข้อใด
ก. เอเชียและยุโรป
ข. ยโุ รปและอเมริกา
ค. ออสเตรเลียและอัฟรกิ า
ง. ลอเรเซยี และกอนดว์ านา

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 39

ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี
9. การท่ีแผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคล่ือนท่ีไม่เท่ากัน นักเรียนคิดว่าเกิดจาก
สาเหตใุ ด

ก. ความรอ้ นจากชั้นเน้อื โลกถ่ายเทอณุ หภูมิไม่เท่ากนั
ข. ความหนาแนน่ ของช้นั ธรณภี าคและเน้ือโลกเทา่ กนั
ค. อัตราการเคลอ่ื นตัวของแมกมาในช้ันเนอื้ โลกไม่เท่ากนั
ง. ความหนาแนน่ ของช้นั ธรณภี าคและเนื้อโลกไม่เท่ากนั
10. สาเหตุสาคัญที่ทาให้ธารน้าแขง็ เคลอื่ นทล่ี งสู่ท่ตี ่าจนทาให้เปลือกโลกเปลย่ี นแปลงคืออะไร
ก. แรงดงึ ดูดของโลก
ข. ความลาดเอยี งของภมู ปิ ระเทศ
ค. ความกดดนั ของธารนา้ แข็งดา้ นบน
ง. การเปลีย่ นแปลงของอุณหภมู ริ อบๆ ธารน้าแข็ง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 40

ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน
ชดุ ที่ 5 การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรียน ง
ขอ้ ก ข ค ข้อ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 41