Narrative Literature Review คือ

Download แนวทางการทบทวนวรรณกรรมส าหรับการเขียนวิทยาน...

แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสาหรั บการเขียนวิทยานิพนธ์ ด้ านสังคมศาสตร์ : สภาพปั ญหาและหลักการทบทวนวรรณกรรม Literature Review Guidelines for Social Sciences Thesis Writing: Problem and Principle of Literature Review กวินธร เสถียร1 Gwyntorn Satean

บทคัดย่ อ งานวิ จัย นี ม้ ี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึก ษาสภาพปั ญ หาและหลัก การทบทวนวรรณกรรมส าหรั บ การเขี ย น วิท ยานิ พ นธ์ ด้ า นสัง คมศาสตร์ โดยรวบรวมข้ อ มูล จากต าราด้ า นการทบทวนวรรณกรรม ระเบี ย บวิธี วิจัย และ วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา โดยใช้ แหล่งข้ อมูลจากสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร แล้ วจึงวิเคราะห์เนื ้อหา ผลการศึก ษาพบว่า ปั ญ หาในการทบทวนวรรณกรรมสรุ ป ได้ 2 ประเด็นคื อ 1) ปั ญ หาในช่ว งก่อ นการ ทบทวนวรรณกรรมเนื่ องจากมี ตาราที่มีเนื อ้ หาโดยตรงเกี่ ยวกับการทบทวนวรรณกรรมค่อนข้ างน้ อ ย โดยมี ตารา ภาษาไทยโดยตรงเพียง 2 เล่ม และภาษาอังกฤษ 4 เล่ม และ 2) ปั ญหาในช่ว งการเขียนบททบทวนวรรณกรรม ได้ แก่ ปั ญหาด้ านการจัดวางรู ปแบบ ปั ญหาด้ านเนื ้อหา ปั ญหาด้ านการใช้ ภาษาและการพิมพ์ และปั ญหาด้ านการอ้ างอิง ส่วนหลักการทบทวนวรรณกรรมประกอบด้ วย 1) การจัดทาเค้ าโครงเบื ้องต้ น 2) การกาหนดเนือ้ หาสาระของการ ทบทวน ซึง่ ได้ แก่ การทบทวนบริ บท, แนวคิด ทฤษฎี, งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง, กรอบแนวคิดการวิจยั และระเบียบวิธีวิจยั 3) การกาหนดขอบเขตการทบทวน 4) ระยะเวลาที่ใช้ ทบทวน และ 5) เกณฑ์การตรวจสอบคุณค่าวรรณกรรม คาสาคัญ: การทบทวนวรรณกรรม, วิทยานิพนธ์ Abstract

The objectives of this documentary research were to study problems and principles of literature review guidelines for social sciences thesis writing. All data were collected and searched from text books, academic writings, and graduate thesis, located in the Naresuan University Library. The data were analyzed by using content analysis. The results showed that there were two main problems of literature review. Firstly, the problem occurred previous literature review because there were a few text books, which have two and four books in Thai and English respectively. Lastly, the problem-occurred during writing literature review were error of format type, context balance, academic writing use, typing, and reference. Principles of writing literature reviews consist of 1) scope of outline 2) content of literature review such as context and historical review, theoretical review,

1

บทความวิจยั นี ้เป็ นส่วนหนึ่งของงานวิจยั เรื่อง แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสาหรับการเขียนวิทยานิพนธ์ด้านสังคมศาสตร์ โดยได้ รับทุนสนับสนุนการวิจยั จากงบประมาณรายได้ ของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาปี งบประมาณ 2552

integrative review, conceptual framework, and methodological review 3) scope of literature review 4) timeline of literature review and 5) criteria for evaluating literature review. Keywords: Literature Review, Thesis

ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา ปั ญหาสาคัญประการหนึง่ ของนิสติ ในระดับบัณฑิตศึกษาที่จาเป็ นต้ องจัดทางานเขียนทางวิชาการ ในรูปของวิทยานิพนธ์ และการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง คือ การเขียนบททบทวนวรรณกรรมหรื อการสารวจ เอกสารและรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งบ่อยครัง้ มักจะมีข้อสงสัยอยู่เสมอว่า การทบทวนวรรณกรรมควร เริ่ มต้ นและสิ ้นสุดลงเมื่อใด ควรครอบคลุมเนื ้อหาสาระใดบ้ าง แหล่งที่อยู่ของวรรณกรรมทังที ้ ่เป็ นแหล่งต้ น กาเนิดและแหล่งรองมีความน่าเชื่อถือหรื อมีมาตรฐานซึง่ เป็ นที่ยอมรับ กันในทางวิชาการมากน้ อยเพียงใด และ ลักษณะการเขียนบททบทวนวรรณกรรมที่ถกู ต้ องควรเป็ นอย่างไร นิสติ ส่วนใหญ่มกั ไม่เข้ าใจการเขียนบททบทวนวรรณกรรมทาให้ โครงร่างงานวิจยั จานวนมากทาการ ทบทวนวรรณกรรมอย่า งไม่ มี เ ป้ าหมาย หรื อ แม้ ก ระทั่ง วิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ ด าเนิ น การแล้ ว เสร็ จ ปรากฏว่ า บททบทวนวรรณกรรมจานวนมากไม่ได้ แสดงถึงความสามารถทางวิชาการของผู้เขียนอย่างแจ่มชัด และ บ่อยครั ง้ ที่พบว่าเป็ นเพียงการเขีย นบอกเล่าว่า นิสิต ได้ อ่า นอะไรมาบ้ าง แต่ละย่อหน้ าจะสรุ ปว่าเอกสาร เหล่านันใครเป็ ้ นผู้ศึกษา ทาเมื่อปี พ.ศ. หรื อ ค.ศ. ใดไล่เรี ยงกันไปเป็ นลาดับ และได้ ผลการศึกษาอย่างไร ซึ่งการเขียนในลักษณะดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่ายังขาดการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของข้ อมูลในอดีต และ ไม่สงั เคราะห์ให้ เห็นเป้าหมายของความรู้ ในอนาคต ทังนี ้ ้ จานวนย่อหน้ าที่ปรากฏในบททบทวนวรรณกรรม อาจสะท้ อนให้ เห็นถึงจานวนเอกสารที่ผ้ เู ขียนได้ ค้นคว้ ามา ซึ่งมักจะถูกเปรี ยบเปรยจากคณะกรรมการสอบ ป้องกันวิทยานิพนธ์ ว่ามีลกั ษณะการเขียนแบบ “ขนมชัน้ ” (คมสันต์ สุริยะ, 2552) “ป้าย-ปะ, โปะ-แปะ” (อรุ ณี อ่อนสวัสดิ์, 2551: 41) “ก๊ อบปี ้ วาง” (Cut/Copy and Paste) (Wikipedia, 2554. Website; ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2552: 68) “หัวข้ อผี” (ดุจเดือน พันธุมนาวิน, 2548: 199-201) หรื อ “คอนโดงานวิจัย” ทาให้ วิทยานิพนธ์นนมี ั ้ มาตรฐานทางวิชาการลดลง การทบทวนวรรณกรรม ถือเป็ นขันตอนหนึ ้ ่งที่สาคัญในกระบวนการวิจัย และมีความเชื่อมโยงกับ ขันตอนอื ้ ่นๆ ตังแต่ ้ การระบุที่มาและความสาคัญของปั ญหา การกาหนดกรอบแนวคิด การกาหนดสมมติฐาน หรื อทดสอบสมมติฐาน การกาหนดตัวแปร การเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล จนถึงส่วนสรุ ปและ อภิปรายผล แม้ ว่าขัน้ ตอนการกาหนดปั ญหาวิจัยจะเป็ นขันตอนแรกของกระบวนการวิ ้ จัยก็ ตาม แต่การ ทบทวนวรรณกรรมก็ต้องดาเนินการควบคู่กันไปด้ วย ความสาคัญดังกล่าวมา ผู้วิจยั จึงมุ่งหมายที่จะศึกษา แนวทางการทบทวนวรรณกรรม เพื่อเป็ นข้ อเสนอแนะแก่ นิสิตเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับการเขียนวิทยานิพนธ์ ทางด้ านสังคมศาสตร์ ได้ อย่างมีมาตรฐาน

วัตถุประสงค์ การวิจัย เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพปั ญ หา และหลัก การทบทวนวรรณกรรมในการเขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ท างด้ า น สังคมศาสตร์ นิยามศัพท์ เฉพาะ 1. วรรณกรรม (Literature): หมายถึง งานนิพนธ์ ที่มีรูปแบบ มีเนื ้อหาสาระที่ผ้ จู ดั ทาต้ องการสื่อ ความคิดไปยังผู้อา่ น ผู้ฟัง ทังที ้ ่อยูใ่ นรูปของสิง่ พิมพ์ และไม่ได้ อยูใ่ นรู ปของสิ่งพิมพ์ หรื อวรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral Tradition) ซึง่ นักวิจยั ได้ รวบรวมเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการจัดทาวิทยานิพนธ์ 2. การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review): หมายถึง ขันตอนหนึ ้ ่งในกระบวนการวิจยั ที่มี เป้าหมายเพื่อสารวจ คัดเลือก และประเมินค่าวรรณกรรมต่างๆ ทังในอดี ้ ตและปั จจุบนั แล้ วนามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนผลการศึกษาออกมาเป็ นบททบทวนวรรณกรรมที่แสดงให้ เห็นถึง องค์ความรู้ หรื อความ เชื่อมโยงกับประเด็นปั ญหาที่นกั วิจยั จะดาเนินการศึกษา โดยปรากฏในบทที่ 2 ของปริ ญญานิพนธ์ หรื อที่มา และความสาคัญของปั ญหาในบทความวารสารทางวิชาการ การวิจยั นี ้ผู้วิจยั เลือกใช้ การทบทวนวรรณกรรม เชิงพรรณนาความ (Narrative Literature Review) วิธีดาเนินการวิจัย การวิจยั นี ้ใช้ วิธีการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาจากแหล่งข้ อมูลปฐมภูมิ และข้ อมูลทุติยภูมิ และนาเสนอรายงานแบบพรรณนาวิเคราะห์ โดยมีวิธีดาเนินการวิจยั ดังนี ้ 1. รวบรวมข้ อมูลที่ใช้ ในการศึกษาค้ นคว้ า ประกอบด้ วยเอกสารต่างๆ ได้ แก่ ตาราทางวิชาการ (Textbooks) งานวิจยั วิทยานิพนธ์ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเอง จากระบบฐานข้ อมูลทรัพยากรสารสนเทศ ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และจากัด ขอบเขตด้ านระยะเวลาในการสืบค้ นข้ อมูลจนถึงปี 2553 ซึง่ พบว่า มีหนังสือและตาราจานวน 35 เล่ม 2. วิเคราะห์เชิงเนื ้อหา (Content Analysis) ในประเด็นด้ านปั ญหา หลักการ และเทคนิควิธีการ ทบทวนวรรณกรรม ผลการวิจัย 1. สภาพปั ญหาของการทบทวนวรรณกรรม ปั ญ หาของการทบทวนวรรณกรรมเกิ ดขึน้ ได้ ใ น 2 ช่วง คือ 1) ช่วงการเรี ยบเรี ยงวรรณกรรม อันเกิ ดจากการขาดแคลนตาราด้ านการทบทวนวรรณกรรม โดยเฉพาะ และ 2) ช่วงการเขียนบททบทวนวรรณกรรม อันเกิด จากความรู้ ความเข้ าใจและทักษะด้ านการ เขียนของนิสติ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้

1.1 ช่วงเรี ยบเรี ยงวรรณกรรม นิสิต จาเป็ นต้ องมี ตาราเพื่อ เป็ นแนวทางในการดาเนิ นการ ผลการสืบค้ นตาราที่มีเนื ้อหาหลักอธิบายถึงแนวทางการทบทวนวรรณกรรม พบว่ามีเอกสาร หนังสือ และ ตาราภาษาไทยที่มีเนื ้อหาโดยตรงกับการทบทวนวรรณกรรมเพียง 2 เล่ม คือ 1) ตาราเรื่ อง “หลักการและวิธีการประมวลเอกสารเพื่อความเป็ นเลิศในการวิจัย ทางพฤติกรรมศาสตร์ ” ของ ดุจเดือน พันธุมนาวิน (2549) ซึง่ ผู้เขียนมุง่ หมายให้ เป็ นตาราขันสู ้ งทางระเบียบ วิธีวิจัย โดยนาเสนอเนื ้อหาไว้ 9 บท ครอบคลุมกรอบคิดพื ้นฐานในการประมวลเอกสาร (บทที่ 3) วิธีอ่าน ผลการวิจัยจากตาราง (บทที่ 6-8) วิธีก ารกาหนดตัว แปรและความสัมพันธ์ ของตัวแปร และปั ญ หาการ ประมวลเอกสารในบทที่ 9 บังอร โสฬส (2552: 67-68) ให้ ความเห็นว่า นี่เป็ นหนังสือเล่มแรกสาหรับนักวิจยั โดยเฉพาะนิ สิ ต นัก พัฒ นา ครู อาจารย์ และนัก วิ จัย มื อ ใหม่ ที่ ส นใจท าวิ จั ย ควรอ่ า น หรื อ ใช้ เ ป็ นคู่มื อ ประกอบการประมวลเอกสาร และการเขียนเค้ าโครงการวิจยั ทังในเชิ ้ งปริ มาณและเชิงคุณภาพ 2) เรื่ อง “การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดการวิจัย ” ของ วันทิพย์ สินสูงสุด (2549) ซึ่งผู้เขียนมุ่งหมายให้ การทบทวนวรรณกรรมเป็ นเครื่ องมือนาทางไปสู่การพัฒนากรอบแนวคิดการ วิจัย หนังสือเรื่ องนีน้ าเสนอเนือ้ หาไว้ 12 บท เนือ้ หาส่วนใหญ่จะให้ ภาพกว้ างๆ เกี่ ยวกับขันตอนการวิ ้ จ ัย พิจารณาได้ จากภาคผนวก ซึง่ ยังคงกล่าวถึงแนวทางการเขียนโครงร่างและองค์ประกอบของกระบวนการวิจยั ส่วนเนื อ้ หาในบทต่า งๆ มี รายละเอี ยดเกี่ ย วกับ สาเหตุ ความหมาย ขัน้ ตอน การใช้ ง านผลการทบทวน โดยนาเสนอทังการทบทวนวรรณกรรมเชิ ้ งปริ มาณโดยวิธีวิเคราะห์เมต้ า (Meta-Analysis) และเชิงคุณภาพ อย่างไรก็ดี การอรรถาธิบายโดยยกตัวอย่างประกอบยังไม่เด่นชัดเท่างานเขียนของ สุชาติ ประสิทธิ์ รัฐสินธุ์ (2550), สิทธิ์ ธีรสรณ์ (2552), พิสณุ ฟองศรี (2552, 2553), บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สทุ ธิ์ (2553), ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (2553) และ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2553) เป็ นต้ น ซึ่งแม้ เนื ้อหาการทบทวนวรรณกรรมจะเป็ น เพียงบทๆ หนึ่งในหนังสือระเบียบวิธีวิจยั หรื อการเขียนวิทยานิพนธ์ แต่ได้ แสดงตัวอย่างวิธีการเขียนผลการ ทบทวนวรรณกรรมอย่า งชัด เจน ขณะที่ ต าราบางเล่ม มี เ นื อ้ หาการทบทวนวรรณกรรมน้ อ ยที่ สุด เพี ย ง 4 หน้ า กระดาษ A4 ทัง้ ไม่ได้ ย กตัว อย่า งวิธี ก ารเขี ย นผลการทบทวนวรรณกรรมประกอบ เนื อ้ หาของ การทบทวนวรรณกรรมที่ผ้ เู ขียนสอดแทรกเข้ ามาเพียงเพื่อเป็ นส่วนหนึง่ ของเนื ้อหาในระเบียบวิธีวิจยั เท่านัน้ ส่วนตาราภาษาอังกฤษ พบว่า มีตาราจานวน 4 เล่ม ได้ แก่ 1) เรื่ อง “การทบทวนวรรณกรรม จากอินเทอร์ เน็ตสูง่ านเขียน” (Conducting research literature reviews: from the Internet to paper) ของ Fink (2005) 2) เรื่ อง “6 ขันตอนสู ้ ค่ วามสาเร็ จในการทบทวนวรรณกรรม (The literature review: 6 steps to success) ของ Machi and McEvoy (2009), 3) เรื่ อง “ขันตอนการทบทวนวรรณกรรมส ้ าหรับ นิสิต ” (The literature review: a step-by-step guide for students) ของ Ridley (2008) และ 4) เรื่ อง “การทบทวนวรรณกรรม: ปล่อยจินตนาการวิจยั ด้ านสังคมศาสตร์ ” (Doing a literature review: releasing the social science research imagination) ของ Hart (2010) ดังปรากฏในตาราง 1

ตาราง 1 ตัวอย่ างตาราที่มีเนือ้ หาเกี่ยวข้ องกับการทบทวนวรรณกรรม ปี 2544 2545 2547 2549

ผู้แต่ง เทียนฉาย กีระนันทน์ ยุทธ ไกยวรรณ์ บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สทุ ธิ์ ดุจเดือน พันธุมนาวิน

2549 วันทิพย์ สินสูงสุด 2549 สุธีระ ประเสริ ฐสรรพ์ 2550 จิตราภา กุณฑลบุตร 2550 สิริลกั ษณ์ ตีรณธนากุล, ไพโรจน์ ตีรณธนากุล 2550 สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ 2551 ทวีศกั ดิ์ นพเกษร 2551 พิชิต พิทกั ษ์เทพสมบัติ 2551 วัลลภ ลาพาย 2551 อรุ ณี อ่อนสวัสดิ์ 2552 เกียรติสดุ า ศรี สขุ 2552 สิทธิ์ ธีรสรณ์ 2552 พิสณุ พ่องศรี 2553 ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ 2553 บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สทุ ธิ์ 2553 พิสณุ ฟองศรี

ชื่อเรื่ อง

เนื ้อหา บท ทังเล่ ้ ม

สังคมศาสตร์ วจิ ยั พื ้นฐานการวิจยั ระเบียบการวิธีวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ หลักและวิธีประมวลเอกสารเพื่อความเป็ นเลิศ ในการวิจยั ทางจิตพฤติกรรมศาสตร์ การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดการ วิจยั รู้ จกั วิจยั ...ทาให้ เป็ น การวิจยั สาหรับนักวิจยั รุ่ นใหม่ การวิจยั และการรายงาน

  

ระเบียบวิธีการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ วิธีการวิจยั เชิงคุณภาพ เล่ม 1 จงทาและจงอย่าทาในการวิจยั สังคม เทคนิควิจยั ทางสังคมศาสตร์ ระเบียบวิธีวิจยั ระเบียบวิธีวิจยั เทคนิคการเขียนรายงานวิจยั 108 ข้ อบกพร่ อง: แนวทางปรับปรุ งการเขียน รายงานวิจยั และวิทยานิพนธ์ หลักการวิจยั ทางสังคม คูม่ ือการวิจยั การเขียนรายงานการวิจยั และ วิทยานิพนธ์ การเขียนรายงานวิจยั และวิทยานิพนธ์

       

   

  

ตาราง 1 (ต่ อ) ปี

ผู้แต่ง

2553 วิรัช วิรัชนิภาวรรณ 2553 สิน พันธุ์พินิจ 2553 อาทิวรรณ โชติพฤกษ์ 2554 สมคิด พรมจุ้ย 2554 สิทธิ์ ธีรสรณ์ 1995 William Wiersma 2005 Allan A. Glatthorn Randy L. Joyner 2005 Arlene Fink 2005 John W. Creswell

2005 Paul D. Leedy, Jeanne Ellis Ormrod 2007 Paul J. Silvia 2008 Diana Ridley 2009 Judith Burnett 2009 Karen Smith, Malcolm Todd, & Julia Waldman

ชื่อเรื่ อง หลักการและเทคนิคการเขียนงานวิจยั วิทยานิพนธ์ และรายงาน เทคนิคการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ก้ าวสู่ความเป็ นนักวิจยั มืออาชีพ การเขียนโครงการวิจยั : หลักการและแนว ปฏิบตั ิ จากงานวิจยั สู่บทความวิชาการ Research Methods in Education: An Introduction Writing the Winning Thesis or Dissertation A Step-by-Step Guide Conducting Research Literature Review: From the Internet to Paper Educational Research: Planning, Conducting, and Evaluating Quantitative and Qualitative Research Practical Research : Planning and Design How to Write a Lot: A Practical Guide to Productive Academic Writing Doing a literature review: releasing the social science research imagination Doing Your Social Science Dissertation Doing Your Undergraduate Social Science Dissertation

เนื ้อหา บท ทังเล่ ้ ม

    

   

    

ตาราง 1 (ต่ อ) ปี

ผู้แต่ง

ชื่อเรื่ อง

2009 Lawrence A. Machi and Brenda T. McEvoy

The Literature Review: Six Steps to Success

2010 Chris Hart

Doing a Literature Review: Releasing the Social Science Research Imagination

เนื ้อหา บท ทังเล่ ้ ม 

จากตาราง 1 พบว่า หนังสือหรื อตาราที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรม มีจานวน 35 เล่ม เป็ นหนังสือภาษาไทยจานวน 24 เล่ม และหนังสือภาษาอังกฤษ 11 เล่ม ซึ่งเนื ้อหาของการทบทวน วรรณกรรมส่วนใหญ่ ปรากฏเป็ นเพียงบทๆ หนึ่ง ในจานวนนี ้ มีหนังสือภาษาไทยที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับการ ทบทวนวรรณกรรมโดยตรงเพียง 2 เล่ม และภาษาอังกฤษจานวน 4 เล่ม แม้ วา่ หนังสือหรื อตาราภาษาไทยจะ มีอยู่น้อยและไม่เพียงพอต่อจานวนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา แต่เนื ้อหาในส่วนนี ้สามารถศึกษาได้ ในหนังสือ หรื อ ต าราการวิ จัย ด้ า นสัง คมศาสตร์ ศึก ษาศาสตร์ ฯลฯ การเขี ย นรายงาน โครงการวิ จัย วิ ท ยานิ พ นธ์ การเขียนทางวิชาการ รวมทังหนั ้ งสือหรื อตาราภาษาต่างประเทศก็สามารถพบได้ ในขอบเขตเนื ้อหาดังกล่าว มาเช่นกัน นอกจากนัน้ ยังศึกษาได้ จากคู่มือสารนิพนธ์ ของสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งกาหนดแนวทางการ เขี ย นไว้ สัน้ ๆ ไม่ ไ ด้ เ น้ น น าเสนอเนื อ้ หาอย่ า งเป็ นหลัก การ ดัง นัน้ แนวทางการทบทวนวรรณกรรมใน วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา จึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย และเป็ นไปตามข้ อเสนอแนะ ของกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ด้วยเช่นกัน 1.2 ช่วงเขียนบททบทวนวรรณกรรม กาญจนา แก้ วเทพ (2548: 48) กล่าวว่า ปั ญหาที่พบ บ่อยครัง้ ในขันตอนนี ้ ้เกิดขึ ้นเนื่องจากผู้อ่านอ่านงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องน้ อยมาก บางกรณีคือไม่มีเลย (Unseen Literature) หรื อเขียนทฤษฎีจานวนมากไว้ ในบททบทวนแต่กลับไม่ได้ นามาใช้ งาน ซึง่ อาจเรี ยกว่า “Amazing Research” การกระทาดังกล่า วถื อเป็ นการ “ทรยศ” ต่อความหมายของการวิจัย และลบหลู่ทฤษฎีและ งานวิจยั ในอดีต บางกรณีนิสิตนาวรรณกรรมกว่า 10 เรื่ องมาเรี ยงต่อกัน เป็ นเพียงข้ อเขียนที่สรุ ปว่าใครเป็ น เจ้ าของผลงาน ได้ ผลการศึกษาเช่นไร เรี ยงไปตามลาดับปี พ.ศ.หรื อ ในกรณีที่นิสิตนาเสนองานวิจยั อย่าง หลากหลายแต่ข้อมูลที่นามาใช้ กลับเป็ นการอ้ างอิงจากหนังสือหรื อตาราเพียงแหล่งเดียว ไม่พยายามอ้ างถึง ต้ นฉบับของวรรณกรรม เป็ นต้ น การเขียนในลักษณะดังกล่าวมักจะถูกเปรี ยบเปรยจากนักวิชาการว่าเป็ นงาน

เขียนแบบ “ขนมชัน”, ้ “คอนโดงานวิจยั ” หรื อ “ป้าย-ปะ, โปะ-แปะ”, “ก๊ อบปี ว้ าง” แล้ วนามาเรี ยบเรี ยงภายใต้ หัวข้ อเดียวกัน ที่แย่กว่านันคื ้ อ อ้ างอิงไม่ถูกต้ องตามหลักทางวิชาการหรื อละเลยที่จะอ้ างอิง ส่งผลให้ งาน เขียนนันมี ้ มาตรฐานทางวิชาการลดลง ขนมชัน้ หรื อ คอนโดงานวิจยั หมายถึง คาเปรี ยบเทียบการเขียนบททบทวนวรรณกรรมโดยนา สาระสาคัญหรื อเนื ้อหาของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องมาเรี ยบเรี ยงต่อกันโดยไม่มีการเรี ยงลาดับ หรื อ อาจเรี ยงลาดับตามปี การศึกษา หรื อตามอักษรชื่อแรกของเจ้ าของผลงาน ไม่มีการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์หรื อ หรื อแง่มุมความไม่สอดคล้ องกัน ในประเด็นใดๆ บ้ าง ของข้ อมูลในอดีต ไม่สงั เคราะห์ให้ เห็นเป้าหมายของ ความรู้ ในอนาคต และไม่แสดงให้ เห็นว่าผลจากการทบทวนวรรณกรรมนาไปใช้ ประโยชน์ ใ นขัน้ ตอนใด การเขียนแบบนี ้ไม่ใช่การเขียนเชิงวิชาการ และไม่เป็ นการเขียนเชิงสร้ างสรรค์ (Creative Writing) ผู้เขียนและ ผู้อ่ า นไม่ เ กิ ด การค้ น พบสิ่ ง ใหม่ ๆ ในเชิ ง วิ ช าการ ซึ่ ง จะส่ง ผลเสี ย ต่ อ คุณ ภาพหรื อ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ วิทยานิพนธ์และตัวนิสติ ในด้ านมาตรฐานทางวิชาการ ส่วน ป้าย-ปะ, โปะ-แปะ หรื อ ก๊ อบปี ว้ าง (Cut/Copy and Paste) เป็ นศัพท์ทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง การคัดลอกข้ อมูลที่อยู่ในรู ปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์ โดยใช้ เมนูในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรั บ จัดการเอกสาร เช่น Microsoft Office Word หรื อเอกสารที่บนั ทึกในรู ปแบบไฟล์ .PDF, .XPS โดยไม่ต้อง เข้ ารหัส (Encryption) ผู้อ่านเอกสารสามารถเปิ ดได้ ด้วยโปรแกรมอ่านเอกสาร เช่น Acrobat Reader หรื อ โปรแกรมอื่ น ๆ และยัง ใช้ จัด กระท ากับ ข้ อ มูล ที่ เ ผยแพร่ ใ นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่า นเว็ บ เบราเซอร์ ( Web Browser) ต่างๆ เช่น Window Internet Explorer, Google Chrome เป็ นต้ น ผู้ที่ใช้ วิธีการนี ้จะดาเนินการเปิ ด เอกสาร หรื อค้ นหาข้ อมูลที่เผยแพร่ในอินเทอร์ เน็ตซึ่งมี เนื ้อหาเกี่ยวข้ องกับวิทยานิพนธ์ จากนันจึ ้ งดาเนินการ ในสองขันตอนคื ้ อ ขันตอนที ้ ่หนึ่ง “ป้าย-ปะ” โดยลากเมาส์ (Mouse) เลือกไฮไลท์ข้อความที่ต้องการ (Clickand-drag to highlight) แล้ ว คลิกขวาที่ เมาส์ เพื่ อใช้ คาสัง่ ก๊ อ บปี ้ หรื อใช้ ปุ่ มควบคุมลัดบนคี ย์บ อร์ ด2 (Command Keyboard Shortcuts) ขันตอนต่ ้ อมาคือ “โปะ-แปะ” โดยคลิกขวาที่เมาส์แล้ วกดวาง (Paste) ข้ อความลงในเอกสารที่เตรี ยมไว้ วิธีการก๊ อบปี ้วางเปรี ยบเหมือนกับการต่อจิ๊ กซอร์ ภาพ (Jigsaw Puzzle) ซึ่งผู้เล่นต้ องเลือก ชิน้ จิ๊ กซอร์ ที่ถูกต้ อง เพื่อให้ สามารถวางลงในตาแหน่งที่ลงตัวได้ แต่นิสิต บางรายอาจต่อจิ๊ กซอร์ ชิน้ ต่างๆ โดยวางลงผิดตาแหน่ง หรื อรู้ ว่าผิดตาแหน่งแต่ก็ยงั วางลงไป ไม่พิจารณาว่าชิน้ จิ๊กซอร์ เข้ ากับตาแหน่งนัน้ หรื อไม่ จิ๊ กซอร์ แต่ละชิน้ เสมือนข้ อมูลจานวนมาก ซึ่งถูกเผยแพร่ ลงสู่อินเทอร์ เน็ ต หรื อฐานข้ อมูลออนไลน์ นิสิตสามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่ายขณะที่ยงั มีสถานภาพของนิสิต ดังนัน้ จึงสามารถกักตุนข้ อมูลไว้ ล่วงหน้ า เพื่อสร้ าง “คลังข้ อมูล” (Data Warehouse) ของตนเอง และนาไปใช้ พฒ ั นางานวิจยั ในขันตอนต่ ้ อไปได้ ผู้วิจยั 2

ใช้ในระบบปฏิบัตกิ าร Window XP, Window Vista, Window 7

เห็นด้ วยกับวิธีการก๊ อบปี ้วาง เพราะจะช่วยให้ งานวิจัยดาเนินไปได้ อย่างสะดวกรวดเร็ วในช่วงจัดเตรี ยม วรรณกรรม แต่ผ้ ูวิ จัย ไม่เ ห็ น ด้ ว ยหากการก๊ อบปี ้ว างวรรณกรรมต่ า งๆ ท าไปโดยไม่ ผ่ า นการวิ เ คราะห์ สังเคราะห์ ผลการเขียนบททบทวนวรรณกรรมจึงเกิ ดขอบรอยที่ ทาบต่อกันไม่แนบสนิท (Sliver) และอาจ สุม่ เสีย่ งต่อการโจรกรรมทางวรรณกรรม (Plagiarism) อีกด้ วย ประเด็ นสาคัญที่ นิสิต พึงตระหนัก คือ สิ่งที่เก็ บ รวบรวมไว้ คงมีสภาพเพียง “ข้ อมูล” (Data) เท่านัน้ ยังไม่ผา่ นการสังเคราะห์จนได้ เป็ น “สารสนเทศ” (Information) ดังนัน้ ในขันตอนการเขี ้ ยนบททบทวน วรรณกรรม การเลือกก๊ อ บปี ้และจัดวางจิ๊ กซอร์ ข้อมูลต่างๆ นิสิต จะต้ องวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อ มูลก่อ น นาไปใช้ เพื่อให้ สามารถวางตัวจิ๊กซอร์ ต่อกันได้ แนบสนิท (Matching) ภาพจิ๊กซอร์ หรื อข้ อเขียนบททบทวน วรรณกรรมจึ ง จะมี สารั ต ถะภาพ มี สถานภาพเป็ น “ความรู้ ” (Knowledge) ที่ เ กิ ด จากกระบวนการคิ ด สังเคราะห์ของนิสติ เอง ผู้วิจัยได้ จาแนกปั ญหาของการเขียนบททบทวนวรรณกรรมออกเป็ น 4 ด้ านคือ 1) ด้ านการ จัดวางรูปแบบ 2) ด้ านเนื ้อหา 3) ด้ านการใช้ ภาษาและการพิมพ์ และ 4) ด้ านการอ้ างอิง โดยจะยกตัวอย่าง เฉพาะประเด็นหลัก 4 ประเด็น ประเด็นละ 1 ตัวอย่างเท่านัน้ ผู้ที่สนใจตัวอย่างในประเด็นย่อยอื่นๆ สามารถ อ่านได้ ในงานวิจยั ฉบับเต็ม 1.2.1 ปั ญหาด้ านการจัดวางรู ปแบบ เกิดขึ ้นเนื่องจากนิสิตไม่จดั รู ปแบบ (Format) เค้ าโครง เอกสารให้ เป็ นไปตามที่ค่มู ือวิทยานิพนธ์ กาหนดไว้ ประเด็นปั ญหาที่พบ ได้ แก่ 1) การกาหนดขนาดและ รูปแบบตัวอักษร และ 2) การจัดวางตาแหน่งหัวข้ อและการย่อหน้ า โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1) การก าหนดขนาดตัวอัก ษรไม่เ หมาะสม ใช้ ตัว อัก ษรเล็ก บ้ า งใหญ่ บ้ าง หรื อ กาหนดรู ปแบบตัวอักษรโดยใช้ ตัวหนา ตัวเอน ขีดเส้ นใต้ รวมกันไปในเนื ้อหา ปั ญหาดังกล่าวส่วนหนึ่งเกิด จากการก๊ อบปี ว้ างโดยไม่ทาการล้ าง (Clear Styles) รูปแบบเดิมออกไป ก่อนกาหนดรูปแบบใหม่ 2) การจัดวางตาแหน่งหัวข้ อ ปั ญหาที่พบคือ ตาแหน่งหัวข้ อไม่เป็ นไปตามลาดับ ความสาคัญของหัวข้ อใหญ่ หัวข้ อรอง และหัวข้ อย่อย หรื อไม่ได้ ย่อหน้ า (Indent) เข้ ามาให้ เท่ากับข้ อความ ก่อนหน้ านัน้ และในอีกกรณีคือ นิสิตกาหนดหัวข้ อใหญ่ เช่น ที่มาและความสาคัญของปั ญหา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่จะได้ รับ ฯลฯ ด้ วยการกาหนดตัวเลข ทาให้ ข้อความในบรรทัดถัดมาต้ องถูกระบุตวั เลขตามด้ วย จุดทศนิยมทันที และหากมีเนื ้อหาที่ต้องแบ่งหัวข้ อย่อยต่อไป จะส่งผลให้ จานวนหัวข้ อมากเกินความจาเป็ น

กรอบ 1 ปั ญหาด้ านการกาหนดตัวเลขในหัวข้ อใหญ่ 1.2 วัตถุประสงค์การวิจยั 1.2.1 เพื่อศึกษาการรับรู้ภยั จากดินถล่มของประชาชนในเขตพื ้นที่เสี่ยงภัย จังหวัด ก. 1.2.2 เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้ อมของประชาชนเพื่อรับภัยจากดินถล่มในเขตพื ้นที่เสี่ยงภัย จังหวัด ก. 1.2.3 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ภยั และการเตรียมความพร้ อมรับภัยจากดินถล่มของประชาชน..... ..... 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.6.1 ประชาชน หมายถึง ประชาชนที่อาศัยอยูใ่ นเขตพื ้นที่เสี่ยงภัยจากดินถล่มในเขตจังหวัด ก. ..... 1.6.5 อายุ หมายถึง จานวนปี เต็มของหัวหน้ าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนในพื ้นที่เสี่ยงภัย จังหวัด ก. โดยแบ่ง ออกเป็ น 5 กลุม่ ได้ แก่ 1.6.5.1 20-30 ปี 1.6.5.2 31-40 ปี .....

จากกรอบ 1 พบว่า นิสิตกาหนดตัวเลขในหัวข้ อใหญ่ของวัตถุประสงค์การวิจัย ไว้ เป็ น หัวข้ อที่ 1.2 ทาให้ ต้องใส่ตวั เลขกากับ 1.2.1-1.2.3 ในวัตถุประสงค์ที่ทาแต่ละข้ อ และหัวข้ อที่ 1.6 นิยามศัพท์ เฉพาะ มีการแบ่งช่วงกลุม่ อายุออกมาทาให้ ต้องเพิ่มชุดตัวเลขกากับถึง 4 ชุดคือ 1.6.5.1 เป็ นต้ นไป ทังนี ้ ้ นิสติ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่ใส่ชดุ ตัวเลขในหัวข้ อใหญ่ 1.2.2 ปั ญหาด้ านเนือ้ หา เป็ นปั ญหาที่เกิ ดจากความไม่สมดุลของเนื ้อหาที่เป็ นข้ อความ บรรยายหัวข้ อต่างๆ ในงานเขียน ประเด็นปั ญหาที่พบ ได้ แก่ 1) สัดส่วนของเนื ้อหาไม่เหมาะสม 2) หัวข้ อหลัก และหัวข้ อรองไม่สมั พันธ์ กนั 3) เนื ้อหาเก่าล้ าสมัย 4) ขาดส่วนนา 5) ขาดส่วนสรุ ปความ โดยมีรายละเอียด ดังนี ้ 1) สัดส่วนของเนื ้อหาไม่เหมาะสม ปั ญหาที่พบคือ เนื ้อหาในแต่ละหัวข้ อมีปริ มาณ แตกต่างกันเกินไป เช่น วิทยานิพนธ์เรื่ อง “การจัดการแหล่งน ้าขนาดเล็กของชุมชน กรณีศึกษา โครงการฝาย นา้ ล้ นหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ” โดยกาหนดแนวคิดทฤษฎีที่ใ ช้ 2 แนวคิดคือ 1) แนวคิดทฤษฎีโครงสร้ างหน้ า ที่ อธิบายเนื ้อหาถึง 12 หน้ า และ 2) แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรผู้ใช้ น ้า อธิบายเนื ้อหาไว้ เพียง 4 หน้ า นิสิตจึงควร ปรับเนือ้ หา รวมทังการแบ่ ้ งหัวข้ อย่อยในแต่ละแนวคิดทฤษฎีให้ ไม่แตกต่างกันมากนัก เช่น ทัง้ 2 แนวคิด ทฤษฎี จะต้ องมีหัวข้ อ ย่อ ยเกี่ ย วกับ ความหมายหรื อ ที่ม า ความสาคัญ การนาไปใช้ ป ระโยชน์ งานวิ จัย ที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ

2) หัวข้ อหลัก หรื อหัวข้ อรองไม่สมั พันธ์ กันกับเนือ้ หา เป็ นปั ญหาที่เกิ ดจากนิสิต กาหนดหัวข้ อหรื ออธิ บายเนื ้อหาของหัวข้ อไม่สอดคล้ องกัน ซึ่งอาจเป็ นไปได้ ว่า นิสิต เลือกใช้ ชื่อหัวข้ อของ แนวคิ ดทฤษฎี ที่ผ้ ูอ่า นโดยทั่วไปเข้ า ใจหรื อ ใช้ กัน ในวงวิ ชาการอยู่แล้ ว โดยไม่ปรั บเปลี่ยนให้ สัมพันธ์ กัน กับเนื ้อหา 3) เนื ้อหาเก่าล้ าสมัย เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตเลือกทบทวนเอกสารและงานวิจยั ทังในและต่ ้ างประเทศที่ตีพิมพ์เกินกว่า 10 ปี ขึ ้นไป ซึ่งโดยปกติแล้ วกรณี ของงานวิจัยไม่ควรเกิ นกว่านัน้ ยกเว้ นแนวคิดทฤษฎีที่ยงั คงได้ รับการยอมรับจนถึงปั จจุบนั 4) ขาดส่วนน า เป็ นปั ญหาที่ เกิ ดจากนิ สิตขึน้ ต้ นส่วนของเนื อ้ หาโดยไม่เกริ่ น น า โดยเฉพาะส่วนของหัวข้ อบท หรื อไม่สร้ างความเชื่อมโยงระหว่างหัวข้ อย่อยต่างๆ กับหัวหลักก่อนเข้ าสูเ่ นื ้อหา ทาให้ ผ้ อู า่ นไม่เห็นสาระโดยรวมทังหมด ้ 5) ขาดส่วนสรุ ปความ เป็ นปั ญหาที่เกิดจากการที่ นิสิตสิ ้นสุดการอธิ บายเนื ้อหา ส่วนใดส่วนหนึ่งของหัวข้ อหลักโดยไม่กล่าวสรุ ปความความสาคัญ หรื อไม่ได้ ให้ แง่มมุ ใดๆ ที่เกิดจากการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์จากมุมมองของนิสติ กรอบ 2 ปั ญหาด้ านเนือ้ หาอันเกิดจากขาดส่ วนนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง แนวความคิดในการบริหารภาษีอากร สนิท วิไลจิตต์ (2515, หน้ า 1) ได้ กล่าวถึงแนวปฏิบตั ิในการจัดเก็บภาษีบารุงท้ องที่ให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี ้ 1. การอานวยความสะดวกแก่ผ้ ูเสียภาษี บารุ งท้ องที่ ให้ ถือเป็ นหน้ าที่จะต้ องกระทาเพราะ เป็ นปั จจัยสาคัญยิ่ง ประการหนึ่งที่จะเป็ นเหตุให้ ราษฎรผู้เสียภาษียินดีและเต็มใจที่จะมาชาระภาษีตามหน้ าที่ของตนภายในกาหนดเวลา อันจะต้ อง ตัดภาระแก่เจ้ าหน้ าที่ในการติดตามทวงถาม หรือเตือนให้ ผ้ คู ้ างชาระเงินภาษีมาชาระในภายหลัง.....

จากกรอบ 2 พบว่า นิสติ นาแนวคิดทฤษฎีด้านการบริ หารภาษี อากร มาใช้ ซึ่ง ไม่มีการ กล่าวนาถึงองค์ประกอบของเนื ้อหาโดยรวมทังหมดก่ ้ อน การนาเข้ าสูเ่ นื ้อหาโดยทันทีอย่างรวบรัดตัดความ แสดงให้ เห็นว่านิสติ ไม่พิถีพิถนั ในการเรี ยบเรี ยงบททบทวนวรรณกรรม

1.2.3 ปั ญหาด้ านการใช้ ภาษา และการพิมพ์ เป็ นปั ญหาที่พบได้ อยู่เสมอในขัน้ ตอนของ การเรี ยบเรี ยงบททบทวนวรรณกรรมให้ เป็ นภาษาวิชาการ (สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2550: 143) มีรายละเอียดดังนี ้ 1) ใช้ ศัพท์ วิชาการไม่ถูกต้ อง นิสิต บางรายอาจใช้ สามัญสานึกและความเข้ าใจ ส่ ว นตั ว เขี ย นถ้ อยค าของตนเองโดยไม่ ไ ด้ ยึ ด พจนานุ ก รมเป็ นหลั ก หรื ออาจเขี ย นค าศั พ ท์ จ าก ภาษาต่างประเทศผิดไป ทาให้ เสียเวลาในการพิสจู น์อกั ษร และแสดงถึงความไม่แม่นยาด้ านการใช้ ภาษา 2) การใช้ ภาษาไม่เหมาะสม อาจแบ่งแยกย่อยออกได้ 2 ประเด็นได้ แก่ 1) นิสิตใช้ ภาษาที่เป็ นประโยคซับซ้ อน มีคาเชื่อมได้ แก่ “ที่ ซึ่ง และ แต่” ในหลายประโยค จนกลายเป็ นส่วนขยายของ ประเด็นหลักหลายประเด็น ผู้อา่ นไม่เห็นการเชื่อมโยงความคิด และไม่ทราบว่า นิสิตจะเน้ นใจความสาคัญใน ส่วนใด การขาดวรรคตอน การใช้ ภาษาที่ยาวหรื อสันจนเกิ ้ นไป ไม่จบประโยค มีข้อความแสดงสาเหตุที่ขาด ข้ อความแสดงเหตุผล อ่านแล้ วไม่ได้ ใจความ เข้ าใจยาก 2) การใช้ ภาษาไม่คงที่ โดยเฉพาะคาสาคัญที่มี ความหมายเดียวกัน แต่เลือกใช้ คาใกล้ เคียงหลายคาในประโยคอื่นๆ ทาให้ ผ้ อู า่ นสับสน 3) ไม่แปลคาเป็ นภาษาไทย เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตเรี ยบเรี ยงข้ อความเกี่ยวกับ ค าศัพ ท์ ท างวิ ช าการ หรื อ ค าส าคัญ ที่ เ ป็ นภาษาต่ า งประเทศที่ นัก วิ ช าการใช้ กัน โดยทั่ว ไปลงในเนื อ้ หา โดยไม่แปลคาเหล่านันเป็ ้ นภาษาไทยก่อนที่จะกากับด้ วยคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (ยกเว้ นชื่อเฉพาะสาหรับคน หรื อสิง่ ของ เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ไม่ต้องแปลเป็ นภาษาไทย) 4) การกากับคาสาคัญด้ วยภาษาอังกฤษ เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตเรี ยบเรี ยงคา สาคัญโดยกากับด้ วยคาภาษาอังกฤษทุกครัง้ ที่มีการกล่าวถึงคานันๆ ้ ซึง่ ไม่จาเป็ นต้ องกล่าวซ ้าอีก 5) การใช้ คาย่อโดยไม่อธิ บายคาเต็ม เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตเรี ยบเรี ยงเนื ้อหา โดยใช้ คาย่อ หรื อตัวอักษรย่อในข้ อความสาคัญเกี่ ยวกับชื่ อสถานที่ สิ่งของ หรื อบุคคล โดยไม่ได้ อธิ บาย ความหมายหรื อชื่อเต็มของคาสาคัญนันมาก่ ้ อนหน้ า 6) พิมพ์ผิดหรื อพิมพ์ตกหล่น เป็ นปั ญหาที่พบได้ บ่อยครัง้ ที่สดุ เนื่องจากนิสิตพิมพ์ ข้ อความผิดพลาดด้ านอักขระ พิมพ์คาหรื อข้ อความไม่ครบถ้ วนทาให้ รูปประโยคไม่สมบูรณ์ ข้ อผิดพลาดนี ้ มักเกิ ดขึน้ ในกรณี ที่ พิมพ์ เ อกสารเป็ นภาษาไทย เนื่อ งจากความสามารถในการพิ สูจน์ อักษร ( Proofing) ภาษาไทยในโปรแกรม Microsoft Office ยังทาได้ ไม่ดีเท่าการพิมพ์ในภาษาอังกฤษซึ่งสามารถตรวจได้ ทงตั ั้ ว สะกดและไวยากรณ์ 7) การใช้ อักษรพิมพ์เล็กพิมพ์ ใหญ่ เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตพิมพ์คาสาคัญที่ กากับไว้ ด้วยคาภาษาอังกฤษปะปนกันไประหว่างตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และตัวอักษรพิมพ์เล็ก นิสิตควรเลือกใช้ รูปแบบใดรูปแบบหนึง่ ให้ เกิดความสม่าเสมอตลอดทังเล่ ้ ม

8) ภาพประกอบไม่ชัดเจน เป็ นปั ญหาที่พบได้ 2 รู ปแบบคือ 1) นาภาพมาจาก แหล่งอื่น หรื อเป็ นภาพที่นิสิตทาขึ ้นเอง เช่น กราฟ แต่ในกระบวนการพิมพ์หรื อการเข้ ารู ปเล่ม ส่วนของภาพ ไม่ได้ พิมพ์ด้วยสี ทาให้ ผ้ อู า่ นมองไม่เห็นองค์ประกอบของภาพที่ชดั เจนได้ หรื อ 2) นิสิตสร้ างภาพขึ ้นเอง เช่น กรอบแนวคิ ด หรื อ แผนภาพ (Diagram) แต่ อ งค์ ป ระกอบของภาพหรื อ ลูก ศรบอกทิ ศ ทาง ไม่ ชั ด เจน ไม่เชื่อมต่อกัน เป็ นต้ น กรอบ 3 ปั ญหาด้ านการไม่ แปลคาเป็ นภาษาไทย Ikujiro Nonaka ได้ นาเสนอวงจร “SECI” ซึ่งได้ รับการยอมรับจากองค์กรต่างๆ และผู้เชี่ยวชาญจานวนมาก วงจร “SECI” กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge Conversion) Tacit Knowledge และ Explicit Knowledge ทาให้ เกิด ความรู้ ใหม่ขึน้ ซึ่งจะหมุนเป็ นเกลียวไปเรื่ อยๆ อย่างมีสิน้ สุด เพราะการเรี ยนรู้ เกิด ตลอดเวลา การสร้ างความรู้ เกิดขึน้ ใน 4 ลักษณะ คือ Socialization Externalization Combination Internalization (Ikujiro Nonaka, 1991. P. 70-73)…..

จากกรอบ 3 พบว่า นิสิต เลือ กแปลความหมายของคาว่า การเปลี่ย นแปลงความรู้ (Knowledge Conversion) แต่ไม่ได้ แปลคาว่า Tacit Knowledge, Explicit Knowledge และการสร้ าง ความรู้ที่เกิดขึ ้นใน 4 ลักษณะ คือ Socialization, Externalization, Combination และ Internalization 1.2.4 ปั ญหาด้ านการอ้ างอิง เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตไม่ใส่การอ้ างอิง หรื อใส่ระบบอ้ างอิง ไม่ถกู ต้ อง หรื ออ้ างอิงโดยไม่จาเป็ น เนื ้อความบางส่วนหากเป็ นข้ อเท็จจริ งทัว่ ไปที่เขียนเองได้ ก็ไม่จาเป็ นต้ อง อ้ า งอิ ง ประเด็ นปั ญ หาที่ พบ ได้ แก่ 1) การอ้ า งอิ ง ผิด 2) วรรณกรรมที่ ท บทวนไม่ปรากฏในรายการ บรรณานุกรม และ 3) ไม่ระบุแหล่งที่มาของภาพประกอบหรื อตาราง โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1) การลงรายการอ้ างอิงผิด เป็ นปั ญหาที่เกิดจากนิสิตลงรายการอ้ างอิงไม่ถกู ต้ อง ตามข้ อกาหนดที่สถาบันการศึกษาหรื อวารสารกาหนดไว้ การอ้ างอิงที่ผิดซึ่งพบบ่อยๆ คือ การลงรายการ อ้ างอิงที่มีที่มาจากเว็บไซต์ การใส่ชื่อแต่ไม่ใส่นามสกุลของผู้ที่ถกู อ้ างอิง เป็ นต้ น 2) วรรณกรรมที่ทบทวนไม่ปรากฏในรายการบรรณานุกรม เป็ นปั ญหาที่เกิดจาก นิสิตลงรายการอ้ างอิงในบททบทวนวรรณกรรม แต่เมื่อผู้อ่านจะสืบค้ นรายละเอียดเพิ่มเติมจากรายการ บรรณานุกรม เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่งอื่นๆ แหล่งเว็บไซต์ ฯลฯ กลับไม่ปรากฏว่ามีรายการบรรณานุกรมท้ ายเล่ม 3) ไม่ระบุแหล่งที่มาของภาพประกอบ ตาราง หรื อแผนภูมิต่างๆ เป็ นปั ญหาที่เกิด จากนิสติ เขียนบททบทวนวรรณกรรม โดยนาเนื ้อหาเกี่ยวกับภาพประกอบ ตาราง หรื อนาข้ อมูลจากงานวิจยั ต่างๆ มาสร้ างเป็ นแผนภูมิ โดยไม่ระบุแหล่งที่มาใต้ ภาพ

กรอบ 4 ปั ญหาด้ านการลงรายการอ้ างอิงผิด A .....การเปลี่ยนแปลงคลองที่ชมุ ชนอาศัยน ้าจาเป็ นต้ องเพิ่มต้ นทุนในการนาน ้าไปใช้ กรณี คลองหนองหวาย กิ่งอาเภอ บึงนาราง จังหวัดพิจิตร รวมถึงโครงการเขื่อนที่สร้ างแล้ ว ได้ สะท้ อนถึงความล้ มเหลวของเขื่อนในเชิงเทคโนโลยี เชิงการบริหาร จัดการส่งน ้าของระบบชลประทาน และผลกระทบต่อกลุม่ ผู้ใช้ น ้าเดิม เช่น ชาวนาพิจิตรในพื ้นที่โครงการชลประทานดงเศรษฐี ............................. (http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9668.html. สืบค้ นเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2548.)

จากกรอบ 4 พบว่า นิสิตอ้ างอิงโดยระบุแหล่งที่อยู่เว็บไซต์ ซึ่งโดยทัว่ ไปนิยมอ้ างเพียงชื่อ หน่วยงานและตามด้ วยคาว่าเว็บไซต์เท่านัน้ เป็ น “มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, 2548. เว็บไซต์ ” ส่วนที่อยู่ของ เว็บไซต์ (url) จะนาไปไว้ ทหี่ น้ าบรรณานุกรม 2. หลักการทบทวนวรรณกรรม เป็ นแนวทางปฎิบตั ิสาหรั บ นิสิตเพื่อให้ ขัน้ ตอนอื่นๆ ของการทา วิทยานิ พนธ์ ด าเนิน ไปได้ อ ย่า งรวดเร็ ว และผลการทบทวนวรรณกรรม นาไปสู่ง านเขีย นที่ มีคุณค่า และ แสดงออกถึงความสามารถของนิสิต ในการสร้ างสรรค์งานเขียนเชิ งวิชาการ หลักการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้ วย 1) การจัด ทาเค้ า โครงหรื อโครงเรื่ องเบื อ้ งต้ น 2) การกาหนดเนื อ้ หาสาระของการทบทวน 3) การกาหนดขอบเขตการทบทวน 4) ระยะเวลาที่ใช้ ทบทวน และ 5) การกาหนดเกณฑ์การตรวจสอบคุณค่า วรรณกรรม 2.1 การวางโครงเรื่ องหรื อเค้ าโครง (Scope of Outline) คือการกาหนดหัวข้ อ (Headings) ตัวแปรหรื อส่วนที่เกี่ยวข้ องกับวิทยานิพนธ์ เช่น กระบวนการหรื อวิธีการต่างๆ เพื่อจัดลาดับความคิดสาคัญๆ ไว้ เป็ นแนวทางการเขียน โดยเฉพาะการเขียนรายงานวิจยั วิทยานิพนธ์ นิสติ ต้ องจัดลาดับหัวข้ อในบททบทวน วรรณกรรมด้ วยตนเองเนื่ อ งจากความแตกต่ า งในประเด็ น วิ จั ย หรื อตั วแปร ในขณะที่ บ ทอื่ น ๆ สถาบันการศึกษาจะกาหนดรู ปแบบการวางโครงเรื่ องไว้ แล้ ว เช่น บทที่ 1 ของวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัย นเรศวร (2554) ประกอบด้ วย 1) ที่มาและความสาคัญของปั ญหา 2) วัตถุประสงค์ 3) ประโยชน์ที่ได้ รับ เป็ นต้ น อาทิวรรณ โชติพฤกษ์ (2553: 77-79) เสนอแนะว่า การเขียนเค้ าโครงสาหรับงานวิจยั ทาได้ ใน 2 ลักษณะคือ การเขียนเค้ าโครงตามหัวข้ อ (Topic-based Outline) และการเขียนเค้ าโครงตามประเด็นหลัก (Point-based Outline) นิสิตสามารถเลือกแบบใดก็ได้ สาหรับประโยชน์ในการกาหนดโครงร่ างจะช่วยให้ นิสิตจาแนกข้ อมูลออกเป็ นหมวดหมู่ตามหัวข้ อต่างๆ ที่วางไว้ ในโครงเรื่ อง ช่วยปรับโครงเรื่ องได้ เมื่อมีหวั ข้ อ ใหม่ๆ ที่ยังไม่สามารถรวมเข้ ากับหัวข้ ออื่นได้ ทาให้ การเขียนบททบทวนวรรณกรรมเป็ นไปอย่างมีระบบ มีลาดับไม่สบั สน อย่างไรก็ตาม นิสติ อาจไม่จาเป็ นต้ องเขียนบททบทวนวรรณกรรมไปตามลาดับในโครงร่างที่

วางไว้ แต่ควรเขียนส่วนที่ตนมีความรู้ ความเข้ าใจ มีข้อมูลมากที่สดุ หรื อส่วนที่สาคัญที่สดุ ของงานก่อน เพื่อ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับใช้ ประโยชน์หรื อเชื่อมโยงกับส่วนอื่นต่อไป 2.2 เนื อ้ หาสาระที่ ค วรส ารวจทบทวนวรรณกรรมจะขึ น้ อยู่ กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารวิ จั ย ซึง่ โดยทัว่ ไปมีดงั นี ้ (ทวีศกั ดิ์ นพเกษร, 2548: 66; Wendy Laura Belcher, 2009: 142-144) 1) สถานการณ์ปัญหาที่เกี่ยวข้ องกับประเด็นวิจยั หรื อการทบทวนบริ บท (Context and Historical Review) เป็ นการศึกษาความเป็ นมา พัฒนาการหรื อการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์และ เวลาของเรื่ องที่จะศึกษา เพื่อนาไปประกอบการเขียนพรรณนาปั ญหาวิจยั ช่วยให้ นิสิตเข้ าใจปั ญหาวิจยั และ มองเห็นความสาคัญกับความเกี่ยวข้ องของโครงการวิจยั 2) แนวคิ ด และทฤษฎีที่ สนับ สนุน ต่อ งานวิ จั ย หรื อการทบทวนทฤษฎี (Theoretical Review) ทฤษฎี (Theories) ได้ จ ากการจัด ให้ ม โนทัศ น์ (Concepts) ต่า งๆ ที่ เ กี่ ย วกับ พฤติ ก รรมหรื อ ปรากฏการณ์ ห นึ่ง มารวมกัน เป็ นข้ อ ตกลงเบื อ้ งต้ น (Assumptions) และกล่า วสรุ ป อ้ า งอิ ง เป็ นวงกว้ า ง (Generalizations) การทบทวนทฤษฎี มี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ นโครงสร้ างให้ แ ก่ ก ารทบทวนวรรณกรรม เชิงประจักษ์ นาทฤษฎีมาใช้ อ้างอิงปั ญหาการวิจยั ที่ต้องการหาคาตอบ นิสิตอาจต้ องการทราบว่าทฤษฎีใด สามารถอธิบายสิ่งที่สงั เกตได้ หน้ าที่ของทฤษฎีอาจเปรี ยบได้ กับไฟฉายที่สอ่ งให้ เห็นขนาด รู ปร่ างของภาพ ถ้ าไฟฉายมีขนาดแตกต่างกัน แม้ จะส่องฉายดูความจริ งหรื อข้ อมูลชุดเดียวกัน ภาพที่ปรากฏออกมาก็ย่อมที่ จะแตกต่างกัน ดังนัน้ การเขียนบททบทวนวรรณกรรมที่วา่ ด้ วยแนวคิด ทฤษฎี จึงเปรี ยบเสมือนการนาทางแก่ นิสิต และผู้อ่านไปพร้ อมกันว่า ข้ อมูล หรื อความจริ ง ที่ นิสิตได้ มานันจะถู ้ กส่องด้ วยไฟฉายขนาดใด ยี่ห้อใด (กาญจนา แก้ วเทพ, 2548: 50-51) การนาเสนอทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องนิสิตอาจวาดเป็ นแผนภาพกรอบทฤษฎี (Theoretical Framework) ซึ่งเป็ นแบบจาลองความสัมพันธ์ ของตัวแปรที่เกี่ยวข้ องจากทฤษฎีต่างๆ เพื่อให้ ผู้อา่ นมองเห็นทฤษฎีและตัวแปรต่างๆ ที่ทบทวนได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น ซึง่ นิสติ จะใช้ เป็ นพื ้นฐานในการพัฒนากรอบ ความคิดสาหรับงานวิจยั ของตนเอง 3) งานวิจัยที่เกี่ ยวข้ อง หรื อการทบทวนบูรณาการ (Integrative Review) เป็ นการ ทบทวนงานวิ จัย ในอดี ต และปั จ จุ บัน ทัง้ ที่ เ ป็ นภาษาไทยและภาษาต่ า งประเทศ งานวิ จัย ในอดี ต หรื อ วรรณกรรมเชิ งประจักษ์ (Empirical Literature) เป็ นงานที่มีผ้ ศู ึกษาวิจัยไว้ แล้ ว การทบทวนวรรณกรรม ในอดีตถือเป็ นธรรมเนียมปฏิบตั ิที่นิสติ ต้ องดาเนินการเพื่อเชื่อมโยงงานของตนเข้ ากับงานที่ผา่ นมา 4) กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) เป็ นแบบจาลองที่สร้ างขึน้ เพื่อแสดงให้ เห็นมโนทัศน์หรื อแนวคิดในเรื่ องที่จะศึกษา ได้ มาจากการสังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง และตัวแปรทัง้ ในเชิงแนวคิดและตัวแปรเชิงปฏิ บตั ิการที่ปรากฏในงานวิจัยต่างๆ มาเชื่ อมโยงเข้ าด้ วยกัน โดยเชื่อมโยงแนวคิดที่เป็ นนามธรรมให้ เข้ ากับเหตุการณ์หรื อสิ่งที่สามารถสังเกตได้ กรอบความคิดการวิจัย จะลดรู ปจากกรอบความคิดเชิงทฤษฎี โดยกรอบความคิดเชิงทฤษฎีจะรวมตัวแปรทุกตัวที่ต้องการศึกษา

แต่อาจควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรบางตัว ทาให้ อิทธิ พลจากตัวแปรนันคงที ้ ่ หรื อจากัดขอบเขตการ วิจัยไม่ศึกษาตัวแปรทังหมดในกรอบความคิ ้ ดเชิ งทฤษฎี ตัวแปรที่เหลืออยู่ในกรอบความคิดการวิจัยจึงมี จานวนน้ อยกว่ากรอบความคิดเชิงทฤษฎี (นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2538: 22-23 อ้ างอิงใน จิตราภา กุณฑลบุตร, 2550: 96) 5) ทบทวนระเบียบวิธีวิจัย (Methodological Review) เป็ นการเปรี ยบเทียบความ เหมือน ความต่าง จุดอ่อน จุดแข็ง ของงานวิจัยที่ทามาแล้ ว ทัง้ ด้ านการออกแบบการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง การเก็บข้ อมูลสนาม และวิธีการวิเคราะห์วา่ มีผลกับข้ อค้ นพบที่ได้ ตา่ งกันหรื อไม่อย่างไร การทบทวนระเบียบ วิธีวิจยั จะช่วยในการกาหนดกลุม่ เป้าหมายและแผนการทางาน 2.3 การกาหนดขอบเขตการทบทวน ขอบเขตการทบทวนวรรณกรรม (Scope of Literature Review) เป็ นการกาหนดเงื่ อนไขต่างๆ เพื่อใช้ เป็ นกรอบการพิ จารณาเลือกเฟ้ นวรรณกรรมมาใช้ ในการ ทบทวน หากนิสติ ดาเนินการทบทวนวรรณกรรมโดยปราศจากการกาหนดขอบเขต อาจส่งผลให้ มีวรรณกรรม จานวนมากที่จะต้ องทบทวน ซึ่งเป็ นปั ญหาที่พบได้ บ่อยครั ง้ ในการพัฒนาโครงร่ างงานวิจัย โดยมักจะนา วรรณกรรมที่ไม่เกี่ยวข้ องเข้ ามาใส่ไว้ จานวนมาก ไม่ตรงประเด็น และไม่ได้ นาไปใช้ ประโยชน์กาหนดกรอบ แนวคิดหรื อสร้ างตัวแปร ดังนัน้ นิสิตจึงควรนาวรรณกรรมที่ตรงกับเรื่ องที่ศึกษามาใช้ ทบทวนตังแต่ ้ ขนต้ ั้ น ระบุลกั ษณะประเด็นปั ญหา ทฤษฎี สมมติฐาน ที่จะเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้ องอย่างชัดเจน ตังแต่ ้ โจทย์วิจยั ไป จนถึงขันสุ ้ ดท้ าย คือการอภิปรายผล ข้ อมูลใด ที่ไม่นาไปใช้ ก็ควรตัดออกไป ซึ่งจะทาให้ วิทยานิพนธ์ มีความ กระชับในเนื ้อหา เพราะได้ นาเสนออย่างเป็ นระบบ รวมทังมี ้ ความสัมพันธ์ กนั ระหว่างบททบทวนวรรณกรรม และบทสรุป อภิปรายผล ส่วนการจากัดขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรมโดยทัว่ ไปอาจใช้ เกณฑ์ดงั นี ้ 1. เกณฑ์เกี่ยวกับตัวแปร อาจเป็ นตัวแปรอิสระหรื อตัวแปรตามก็ได้ 2. เกณฑ์เกี่ยวกับประเภทหรื อลักษณะของการออกแบบการวิจยั เช่น งานวิจยั เชิงคุณภาพ งานวิจยั เชิงปริ มาณ หรื องานวิจยั ที่มีการควบคุมตัวแปรในเชิงพฤติกรรม 3. เกณฑ์เกี่ยวกับบุคคลหรื อตัวบุคคล เช่น อายุ เชือ้ ชาติ เพศ อาชีพของกลุม่ ตัวอย่างหรื อ ลักษณะอื่นที่สมั พันธ์กบั งานวิจยั ที่ดาเนินการ เช่น กลุม่ อาชีพ ช่วงอายุ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ กลุม่ นักท่องเที่ยว เป็ นต้ น 4. เกณฑ์ เกี่ยวกับสถานที่หรื อลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่น เกณฑ์ เกี่ ยวกับขอบเขตการ ปกครองในระดับหมูบ่ ้ าน ตาบล อาเภอ จังหวัด ภูมิภาค หรื อเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์ เช่น พื ้นที่ราบ พื ้นที่ชายฝั่ ง ทะเล พื ้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทาน พื ้นที่สงู หรื อพื ้นที่ภเู ขา เป็ นต้ น 5. เกณฑ์เกี่ยวกับเวลา เช่น การศึกษาในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ในประวัติศาสตร์ หรื อ ระบุคาบเวลาที่แน่ชดั เช่น เอกสารที่ตีพิมพ์ย้อนหลังไม่เกิน 10 ปี 15 ปี เป็ นต้ น

6. เกณฑ์ เกี่ ยวกับแหล่งที่มาของเอกสาร เช่น คัดเลือกเฉพาะเอกสารที่มีที่ มาจากแหล่ง เอกสารทีเ่ ชื่อถือได้ เช่น สิง่ พิมพ์รัฐบาล วารสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ เป็ นต้ น

Wide view

Zooming view

Medium view

ภาพ 1 การกาหนดขอบเขตการทบทวน จากภาพ 1 เป็ นตัวอย่างของการทบทวนวรรณกรรมโดยโครงสร้ างแบบซูม (Zooming View) พบว่า มีงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องจานวน 35 เรื่ อง มีงานวิจยั ที่ผา่ นเกณฑ์ทงั ้ 4 ประเภท จานวน 12 เรื่ อง หากนิสิต กาหนดขอบเขตไว้ อย่างชัดเจน ย่อมส่งผลให้ ค้นหาและคัดเลือกวรรณกรรมทาได้ อย่างเฉพาะเจาะจง ช่ วยลด จานวนวรรณกรรมที่ต้องทบทวนไม่ให้ มีมากเกินความจาเป็ น 2.4 ระยะเวลาที่ใช้ ทบทวน (Time for Literature Review) เกณฑ์เกี่ยวกับสัดส่วนเวลาที่จะใช้ กบั การทบทวนวรรณกรรมที่แน่นอนนันไม่ ้ มี ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์การวิจยั ว่าเน้ นไปในด้ านใด และขันตอน ้ ใดของการวิจยั โครงการวิจยั ที่มีระยะเวลา 2 ปี นิสิตอาจใช้ เวลาทบทวนเพียง 2 เดือน บางรายอาจใช้ เวลา น้ อยหรื อมากกว่านัน้ ซึ่งเวลาที่ใช้ ขึ ้นอยู่กับปั จจัยหลายด้ าน ถ้ ามีการใช้ ดชั นีบรรณานุกรม และบทคัดย่อ กระบวนการดังกล่าวจะลุล่วงไปได้ อย่างรวดเร็ วหากมีผ้ ชู ่วย หรื อ นิสิตใช้ บริ การของห้ องสมุดในการค้ นหา วรรณกรรมและการสรุปคัดย่อ ทังนี ้ ้ นิสติ จะต้ องกาหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และระยะเวลาการทบทวนให้ ได้ โดยไม่ปล่อยให้ เกินเลยออกไปนอกเหนือขอบเขต ทังนี ้ ้ ต้ องไม่ลมื ว่า วัตถุประสงค์ที่สาคัญของการทบทวน วรรณกรรมคือ ข้ อค้ นพบของงานวิจยั ในอดีต และเพื่อค้ นหาวิธีการศึกษาที่ใช้ ประโยชน์ได้ จริ ง การทบทวน นอกเหนือไปจากนี ้ อาจทาได้ ถ้าไม่เป็ นอุปสรรคต่อความก้ าวหน้ าและความสาเร็ จของงานวิจยั ในขันตอน ้ ต่อๆ ไป และด้ วยข้ อจากัดของเวลา นิสิตควรทบทวนงานวิจยั ที่เป็ นปั จจุบนั ก่อน แล้ วค่อยย้ อนหลังไปศึกษา

งานวิจยั ในอดีตตามลาดับเวลาที่เอื ้ออานวย เพราะนอกจากจะได้ ทบทวนงานวิจยั ที่ทนั สมัยแล้ ว ยังได้ แหล่ง อ้ างอิงของงานวิจัยนันๆ ้ ซึ่งสามารถติดตามศึกษาเพิ่มเติมย้ อนหลังกลับไปได้ อีก (สุชาติ ประสิทธิ์ รัฐสินธุ์, 2550: 57) ตาราง 2 การทบทวนวรรณกรรมเฉพาะช่ วงเริ่มต้ น ต.ค. พ.ย. ธ.ค. พัฒนาโครงร่ าง และ ทบทวนวรรณกรรม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

เก็บข้ อมูล

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

สรุ ปผลการศึกษา

ส.ค.

ก.ย.

นาเสนอผลงาน

 ตารา หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และข้ อมูลทางวิชาการอื่นๆ ที่มีการเผยแพร่ อย่างต่อเนื่องในรอบ 1 ปี

ตาราง 3 การทบทวนวรรณกรรมตลอดการวิจัย ต.ค. พ.ย. ธ.ค. พัฒนาโครงร่ าง และ ทบทวนวรรณกรรม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

เก็บข้ อมูล

สรุ ปผลการศึกษา

นาเสนอผลงาน

ตารา หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ และข้ อมูลทางวิชาการอื่นๆ ที่มีการเผยแพร่ อย่างต่อเนื่องในรอบ 1 ปี

จากตาราง 2 แสดงตัวอย่างโครงการวิจยั หนึง่ ๆ ที่มีระยะเวลาวิจยั 1 ปี โดยเริ่ มดาเนินการในรอบ ช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งนิสิตอาจกาหนดระยะเวลาการทบทวนวรรณกรรมไปพร้ อมๆ กับการพัฒนาโครงร่ างฯ ในช่วง 3 เดือนเท่านัน้ งานวิจยั ในรูปแบบวิทยานิพนธ์ บางส่วนก็ดาเนินการทบทวนวรรณกรรมในช่วงเริ่ มต้ น การวิจัยเช่นเดียวกัน เมื่อนิสิตค้ นพบแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง หรื อได้ ตวั แปรแน่ชดั ที่จะนาไปพัฒนากรอบ แนวคิดการวิจยั แล้ ว กรรมการที่ปรึ กษาบางท่านอาจแนะนาให้ ยตุ ิการทบทวนวรรณกรรม เพื่อให้ นิสิตจดจ่อ กับการดาเนินการในขันต่ ้ อไป และควบคุมเนื ้อหาให้ อยูใ่ นขอบเขตที่กาหนดไว้ อย่างไรก็ดี ยังมีอีกแนวทางหนึ่งดังปรากฏในตาราง 3 ซึ่งจะเห็น ได้ ว่าการทบทวนวรรณกรรม เกิ ดขึ ้นตลอดระยะเวลาการวิจัยตัง้ แต่ขนตอนการพั ั้ ฒนาโครงร่ างไปจนถึงการนาเสนอผลงาน แต่ความ เข้ มข้ นของการทบทวนวรรณกรรมอาจเน้ นเฉพาะในช่วงเริ่ มต้ น ส่วนขันตอนอื ้ ่นๆ อาจลดระดับลง สาเหตุ ที่ผ้ วู ิจัยแนะนาเช่นนีเ้ นื่องจากในระหว่างการวิจัย นิสิต จาเป็ นต้ องติดตามความก้ าวหน้ าขององค์ ความรู้ ที่เกี่ยวข้ องโดยตลอด เพราะอาจมีผลงานทางวิชาการใหม่ๆ ที่เผยแพร่ ออกมาในช่วงหลัง ซึ่งหากว่ามี นิสิต

ต้ องนามาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพิ่มเติมร่ วมกันโดยเฉพาะบทนาและบทอภิปรายผลเพื่อให้ ได้ ความรู้ ที่ทนั สมัยที่สดุ 2.5 เกณฑ์ ก ารตรวจสอบคุ ณ ค่ า วรรณกรรม เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาคั ด เลื อ กเอกสาร ที่ น ามาใช้ ทบทวนวรรณกรรมเป็ นสิ่ ง ส าคัญ ประการหนึ่ง เพราะในปั จ จุ บัน มี เ อกสารที่ ส ามารถหาได้ หลากหลายแหล่ง การประเมินว่าวรรณกรรมที่ได้ รวบรวมมานันเป็ ้ นตัวแทนที่ดีของงานวิจยั ปฐมภูมิในเรื่ อง ที่จะศึกษาหรื อไม่ มีเกณฑ์ดงั นี ้ (จิตราภา กุณฑลบุตร, 2550: 84-85; พิชิต พิทกั ษ์ เทพสัมบัติ, 2549: 254) 1) สาระของเอกสารที่อา่ นควรมีเนื ้อหาเกี่ยวกับเรื่ องทีก่ าลังจะทาวิจยั โดยตรง 2) ผู้เรี ยบเรี ยงหรื อผู้จดั ทาควรเป็ นผู้ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่ องที่เรี ยบเรี ยง หรื อมี คุณวุฒิ และความเชี่ยวชาญ (Authority) ในสาระนันๆ ้ 3) เนื อ้ หาในเอกสารมี ค วามทัน สมัย โดยเฉพาะงานวิ จัย ควรเป็ นงานวิ จัย ใหม่ ๆ ที่ ด าเนิ น การแล้ ว เสร็ จ ไม่ เ กิ น ระยะเวลา 5-10 ปี หรื อ เอกสารต าราที่ มี เ นื อ้ หา ทฤษฎี และหลัก เกณฑ์ ที่เหมาะสมในปั จจุบนั อาจพิจารณาจากปี ที่ตีพิมพ์ การปรับปรุ งเนื ้อหาในหนังสือ เป็ นต้ น นอกจาก จะไม่มี งานวิจัยลักษณะเดียวกันในช่วงปั จจุบัน ก็ อาจต้ องพยายามอ้ างอิงผลงานวิจัยล่าสุด และหากงานวิจัย ที่นามาเรื่ องหนึง่ ได้ ผลการศึกษาขัดแย้ งกันกับอีกเรื่ องหนึง่ นิสติ จาเป็ นต้ องอ้ างทุกแหล่ง เพื่อนามาวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ และผลงานวิจยั ที่ได้ มาเมื่อนามาวิเคราะห์แล้ วได้ ข้อค้ นพบที่สามารถนาไปใช้ ได้ ทวั่ ไปหรื อไม่ 4) ความน่าเชื่อถือของประเภทเอกสาร เช่น เอกสารการแสดงออก และเอกสารทาง สื่อมวลชน เช่น นิตยสาร วารสาร เอกสารทั่วไปที่ไม่มีรอบการเผยแพร่ อย่างต่อเนื่องเช่น จุลสาร เอกสาร อัดสาเนา เอกสารที่ไม่ระบุชื่อผู้เรี ยบเรี ยง หรื อวันเดือนปี ที่ตีพิมพ์ การคัดเลือกนามาใช้ ต้องพิจารณาอย่าง ถ้ วนถี่ 5) ความน่าเชื่ อถื อของแหล่งข้ อมูลจากเว็บไซต์ ได้ แก่ ความทันสมัยของวันเดือนปี ที่เผยแพร่หรื อปรับปรุงเว็บไซต์ วัตถุประสงค์การเผยแพร่ หน่วยงานที่เป็ นเจ้ าของเว็บไซต์ 6) ความน่าเชื่อถือของสถานที่ตีพิมพ์ โรงพิมพ์ 7) การระบุแหล่งอ้ างอิงข้ อมูลและวิธีเขียนอ้ างอิงที่เป็ นมาตรฐาน ระบบการอ้ างอิง (Citations) หมายถึง แหล่งผลงานที่นิสติ สามารถสืบค้ นได้ วา่ มีผ้ ใู ดได้ ทามาแล้ วบ้ างในแต่ละประเด็น 8) แหล่งตังต้ ้ นของข้ อมูลเป็ นแหล่งข้ อมูลปฐมภูมิหรื อแหล่งข้ อมูลทุติยภูมิ 9) การอธิบายโดยใช้ ภาพประกอบ ตาราง กราฟ แผนที่งานวิจยั ปฐมภูมิที่นิสติ ส่วนใหญ่ เลือกนามาใช้ คือ วิทยานิพนธ์ เนื่องจากเป็ นแหล่งข้ อมูลต้ นแบบและมองเห็นทุกขันตอนของการวิ ้ จยั ได้ อย่าง ชัดเจน นิสิต ต้ องพิจารณา 1) จุดอ่อน จุดแข็งของระเบียบวิธีที่ใช้ ในงานวิจัยปฐมภูมิแต่ละชิ น้ 2) ความ แตกต่างในด้ านคุณสมบัติของหน่วยวิเคราะห์ในด้ านเนื ้อหา และการปฏิบตั ิตอ่ ตัวแปรสาเหตุ 3) ความถูกต้ อง หรื อข้ อผิดพลาดของข้ อค้ นพบที่ขึ ้นอยู่กับปั จจัยต่างๆ เช่น 1) ข้ อผิดพลาดจากการสุ่มตัวอย่าง หรื อระดับ

นัยสาคัญของข้ อค้ นพบ 2) ความแตกต่างในระเบียบวิธีวิจัย 3) ความแตกต่างของตัวแปรตามที่ต้องการ ศึก ษา และตัว แปรอื่น ๆ ซึ่ง ไม่ถูก น ามาศึก ษา และสิ่ง ที่ พึงระวังคื อ คุณภาพของวิ ทยานิ พ นธ์ เนื่อ งจาก กรรมการที่ปรึ กษาในแต่ละคณะ แต่ละสถาบันการศึกษามีนโยบายเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ ของ นิสิต แตกต่างกัน คุณภาพของวิทยานิพนธ์ จึงแตกต่างกันไปด้ วย หากนิสิตนาวิทยานิพนธ์ ที่มีคุณภาพต่ามาใช้ ย่อ มส่ง ผลให้ ง านเขี ย นมี คุณ ค่า ทางวิ ชาการลดลง และไม่เ ฉพาะวิ ท ยานิ พนธ์ เ ท่า นัน้ รายงานวิ จัย หรื อ บทความทางวิช าการที่ ได้ ตีพิม พ์ ลงในวารสารทางวิ ชาการก็ เช่นเดี ยวกัน เพราะวารสารแต่ละฉบับต่า ง มีนโยบายด้ านวิชาการและกลุม่ ผู้อ่านไม่เหมือนกัน บางฉบับได้ รับการยอมรับทางวิชาการสูงโดยพิจารณา จากค่าดัชนีการอ้ างอิงวารสาร (Citation Index) บางฉบับอาจเพียงเสนอแนวความคิดเห็นของนักวิชาการ เท่านัน้ แต่ไม่มีข้อมูลหรื อข้ อเท็จจริ งสนับสนุนก็เป็ นได้ (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 2550: 56) บทสรุ ป ปั ญหาจากการทบทวนวรรณกรรมสามารถสรุ ปได้ เป็ น 2 ประเด็นใหญ่ๆ คือ 1) ปั ญหาในช่วงการ ทบทวนวรรณกรรม ซึง่ พบว่า ตาราที่มีเนื ้อหาโดยตรงเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมยังมีอยู่ค่อนข้ างน้ อย มี ตาราภาษาไทยเพียง 2 เล่ม และภาษาอังกฤษ 4 เล่ม เนื ้อหาเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมจะปรากฎเป็ น เพียงบทๆ หนึ่งในหนัง สือหรื อต าราที่เกี่ ยวข้ องกับระเบีย บวิธี วิ จัย หรื อการเขี ยนรายงานวิ จัย การเขีย น วิทยานิพนธ์ หรื อการเขียนทางวิชาการ ตาราหรื อหนังสือด้ านการทบทวนวรรณกรรมที่ดีจะต้ องแสดงตัวอย่าง ของการเขียนบททบทวนวรรณกรรมประกอบในเนื ้อหา เพื่อเป็ นแนวทางประกอบการเขียน ซึ่งงานเขียนถือ เป็ นจุดมุ่งหมายสุดท้ ายของการทบทวนวรรณกรรม และ 2) ปั ญหาในช่วงการเขียนบททบทวนวรรณกรรม พบปั ญหาหลักๆ ใน 4 ประเด็น ได้ แก่ ปั ญหาด้ านการจัดวางรู ปแบบ, ปั ญหาด้ านเนื ้อหา, ปั ญหาด้ านการใช้ ภาษาและการพิมพ์ และปั ญหาด้ านการอ้ างอิง การเขียนบททบทวนวรรณกรรมที่ ขาดการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความสัมพันธ์ ของข้ อมูลจะถูก เปรี ยบเปรยจากนักวิชาการว่า เป็ นงานเขียนแบบ “ขนมชัน”, ้ “คอนโดงานวิจยั ” หรื อ “ป้าย-ปะ, โปะ-แปะ”, “ก๊ อบปี ้วาง” ซึ่งเป็ นปั ญหาที่พบอย่างกว้ างขวาง แต่กลับ เป็ นวิธีการที่นิยมกันมากในยุคที่ข้อมูลข่าวสาร สามารถเข้ าถึงได้ โดยง่าย นิสติ สามารถใช้ วิธีการนี ้เพื่อรวบรวมข้ อมูลมาใช้ ในช่วงของการทบทวนวรรณกรรม ได้ แต่เมื่อเข้ าสูข่ นตอนการเขี ั้ ยนนิสิตพึงตระหนักว่า วรรณกรรมต่างๆ มีสภาพเพียงข้ อมูล ที่ยงั ไม่ผ่านการ สังเคราะห์จนกลายเป็ นสารสนเทศ นิสติ ต้ องวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลก่อนนาไปใช้ เพื่อให้ งานเขียนบท ทบทวนวรรณกรรมนันๆ ้ มี มีสารัตถภาพ (Emphasis) และมีสถานภาพเป็ นความรู้ อันเกิดจากความสามารถ ของนิสติ เอง ส่วนหลักการทบทวนวรรณกรรมประกอบด้ วย 1) การจัดทาเค้ าโครงเบื ้องต้ น 2) การกาหนดเนื ้อหา สาระของการทบทวน ซึง่ ได้ แก่ การทบทวนบริ บท, แนวคิด ทฤษฎี, งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง, กรอบแนวคิดการวิจยั

และระเบียบวิธีวิจยั 3) การกาหนดขอบเขตการทบทวน 4) ระยะเวลาที่ใช้ ทบทวน และ 5) การประเมินค่า วรรณกรรม โดยหลักการต่างๆ ได้ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการทบทวนวรรณกรรมเพื่อการ วิจัย ทางสัง คมศาสตร์ และต าราด้ า นระเบี ย บวิ ธี วิ จัย หลัก การเหล่า นี ค้ งเป็ นเพี ยงข้ อ เสนอแนะเท่า นัน้ สถาบันการศึกษาต่างๆ ที่เป็ นผู้ประสาทปริ ญญา หรื อกรรมการที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ อาจมี ความคิดเห็นที่ แตกต่างออกไปได้ บรรณานุกรม กรรณิการ์ สุขเกษม และสุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2544). นานานวตกรรมวิธีวิทยาการวิจัย. กรุ งเทพฯ: สามลดา. กาญจนา แก้ วเทพ. (2549). การวิจัย : จากจุ ดเริ่ มต้ นจนถึงจุ ดสุ ดท้ าย (พิมพ์ ครั ง้ ที่ 3). กรุ งเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . เกี ย รติ สุ ด า ศรี สุ ข . (2552). ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย (พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ 2). เชี ย งใหม่ : คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คมสันต์ สุริ ย ะ. (ม.ป.ป.). เกร็ ด การท าวิ จั ย ตอนที่ 2: การเขี ย น Literature Review. สืบ ค้ น เมื่ อ 1 มิถนุ ายน 2554, จาก http://www.tourismlogistics.com จิตราภา กุณฑลบุตร. (2550). การวิจัยสาหรั บนักวิจัยรุ่ นใหม่ . กรุงเทพฯ: สหธรรมิก. ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพฯ: เจริ ญดีมนั่ คงการพิมพ์. ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2549). หลักการและวิธีการประมวลเอกสารเพื่อความเป็ นเลิศในการวิจัย ทางพฤติกรรมศาสตร์ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริ ษัท เอ.ที. พริ นติ ้ง จากัด. ทวีศกั ดิ์ นพเกษร. (2551). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เล่ ม 1 คู่มือปฏิบัติการวิจัยประยุกต์ เพื่อพัฒนาคน องค์ กร ชุมชน สังคม (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). นครราชสีมา: ชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย. เทียนฉาย กีระนันทน์. (2544). สังคมศาสตร์ วิจัย (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บังอร โสฬส. (2552). บทวิจารณ์ หนังสือ หลักและวิธีการประมวลเอกสารเพื่อความเป็ นเลิศในการวิจัย ทางพฤติกรรมศาสตร์ . วารสารพัฒนาสังคม, 11(1), 61-68. บุญธรรม กิจปรี ดาบริ สทุ ธิ์. (2553). คู่มือการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 10). กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. พิสณุ ฟองศรี . (2553). การเขียนรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ . กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.

พิชิต พิทักษ์ เ ทพสัมบัติ (บรรณาธิ ก าร). (2551). จงท าและจงอย่ า ทาในการวิจั ยสั ง คม. กรุ งเทพฯ: เสมาธรรม. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2552). ตาราและบทความทางวิชาการ แนวและแนวทางการเขียนเพื่อคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ยุทธ ไกยวรรณ์. (2545). พื้นฐานการวิจัย (พิมพ์ครัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. วันทิพย์ สินสูงสุด. (2549). การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดการวิจัย. กรุงเทพฯ: ช้ างศึกษาวิจยั . วัลลภ ลาพาย. (2551). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิรัช นิภาวรรณ. (2553). หลักการและเทคนิคการเขียนงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และรายงาน. กรุ งเทพฯ: โฟร์ เพซ. สมเกียรติ โพธิสตั ย์, รัตนา พันธ์พานิช และ โยธี ทองเป็ นใหญ่. (2547). คู่มือการทบทวนอย่ างเป็ นระบบ (พิมพ์ครัง้ ที่ 3). นนทบุรี: กลุม่ ประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์สานักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการ แพทย์. สมคิด พรมจุ้ย. (2554). การเขียนโครงการวิจัย: หลักการและแนวปฏิบัติ (พิมพ์ครัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สิทธิ์ ธี รสรณ์ . (2552). เทคนิ ค การเขี ยนรายงานวิจั ย (พิ มพ์ ครั ง้ ที่ 3). กรุ งเทพฯ: สานักพิ มพ์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สิท ธิ์ ธี ร สรณ์ . (2554). จากงานวิ จั ย สู่ บ ทความวิ ช าการ. กรุ ง เทพฯ: สานัก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สิน พันธุ์พินิจ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ . กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์. สิริลกั ษณ์ ตีรณธนากุล และไพโรจน์ ตีรณธนากุล. (2550). การวิจัยและการรายงาน. กรุ งเทพฯ: ศูนย์สื่อ เสริ มกรุงเทพ. สุชาติ ประสิทธิ์ รัฐสินธุ์. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสั งคมศาสตร์ (พิมพ์ครัง้ ที่ 14). กรุ งเทพฯ: สามลดา. สุธีระ ประเสริ ฐสรรพ์. (2549). รู้จักวิจัย...ทาให้ เป็ น. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . สุธีระ ประเสริ ฐสรรพ์. (2552). ถอดรหัสการเขียนโครงการวิจัยประเภททุนแข่ งขัน : เพื่อเพิ่มคุณค่ า ของการวิจัยไทย. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย . (2550). แนวทางการให้ คาปรึ กษาวิทยานิพนธ์ . กรุ งเทพฯ: ศูนย์ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรุณี อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. อาทิวรรณ โชติพฤกษ์ . (2553). ก้ าวสู่ความเป็ นนักวิจัยมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Glatthorn, Allan A. and Joyne Randy L. (2005). Writing the winning thesis or dissertation: a stepby-step guide. Thousand Oaks, Calif: Corwin Press. Fink , Arlene. (2005). Conducting research literature reviews : from the Internet to paper. Thousand Oaks, Calif.: Sage Publications. Hart , Chris. (2010). Doing a literature review: releasing the social science research imagination. London: SAGE. Ridley, Diana. (2008). The literature review : a step-by-step guide for students. Los Angeles: SAGE. Creswell, John W. (2005). Educational research: planning, conducting, and evaluating quantitative and qualitative research. (2thed.). Upper Saddle. Burnett , Judith. (2009). Doing Your Social Science Dissertation. Los Angeles: Sage. Smith, Karen, Todd Malcolm and Waldman Julia. (2009). Doing your undergraduate social science dissertation. Londo: Routledge. Lawrence A. Machi and Brenda T. McEvoy. (2009). The literature review: six steps to success. Thousand Oaks, Calif: Corwin Press. Paul D. Leedy and Jeanne Ellis Ormrod. (2005). Practical research: planning and design (8thed.). Upper Saddle River, N.J.: Pearson/Merrill Prentice Hall. Paul J. Silvia. (2007). How to write a lot: A Practical Guide to Productive Academic Writing. Washington, DC: American Psychological Association. William Wiersma. (1995). Research Methods in Education: An Introduction (6th ed.). Boston: Allyn and Bacon. Wikipedia. (2011). Cut, Copy and Paste. Retrieved June 2, 2010, from http://en.wikipedia.org/wiki/ Wendy Laura Belcher. (2009). Writing your journal article in 12 weeks : a guide to academic publishing success. Thousand Oaks, Calif.: SAGE Publications.