โครงงานคุณธรรม ห้องเรียน สะอาด 5 บท

การจะทำงานให้มีประสิทธิผล และให้ดำเนินไปได้โดยราบรื่น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำด้วยความรับผิดชอบอย่างสูง ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ไม่บิดเบือนจุดประสงค์ที่แท้จริงของงานสำคัญที่สุดต้องเข้าใจความหมายของคำว่า ความรับผิดชอบ ให้ถูกต้อง พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 16 กรกฎาคม 2519) 

สำหรับบทความนี้ในเรื่องของ ตัวอย่าง โครงงานคุณธรรมในห้องเรียน doc แก้ไขข้อมูลและนำไปใช้ได้ เป็นโครงงานระดับประถมศึกษา ที่คุณครูแต่ละท่านสามารถนำไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมของประชากรและบริบทของสถานศึกษา และสามารถดาวน์โหลดปกที่โดยแก้ไขได้เป็นรูปแบบไฟล์ PPT ได้ที่นี่

โครงงานคุณธรรม ห้องเรียน สะอาด 5 บท

การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรมตามมูลนิธิยุวสถิรคุณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ “สร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง” “โรงเรียนคุณธรรม” หมายถึง สถานศึกษาที่ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครองชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในกระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมความดีในรูปแบบต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ซึ่งน าไปสู่การพัฒนาและปรับเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้อย่างยั่งยืน และนำไปขยายเครือข่ายได้

กตัญญูนี้ เป็นคุณธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติมิใช่เฉพาะต่อมนุษย์ด้วยกันเท่านั้น ต่อสัตว์และพืชทั้งหลายด้วย

หลักธรรมที่นำมาดำเนินโครงงานคุณธรรมจิตอาสาพาสวยงาม ( Area of Beautiful Mind)

คือ อิทธิบาท 4

อิทธิบาท แปลว่า บาทฐานแห่งความสำเร็จ หมายถึง สิ่งซึ่งมีคณธรรม เครื่องให้ลุถึงความสำเร็จตามที่ตน

ประสงค์ ผู้หวังความสำเร็จในสิ่งใด ต้องทำตนให้สมบูรณ์ ด้วยสิ่งที่เรียกว่า อิทธิบาท ซึ่งจำแนกไว้เป็น ๔ คือ

1. ฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
2. วิริยะ ความพากเพียรในสิ่งนั้น

3. จิตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ในสิ่งนั้น

4. วิมังสา ความหมั่นสอดส่องในเหตผลของสิ่งนั้น

ธรรม ๔ อย่างนี้ ย่อมเนื่องกัน แต่ละอย่างๆ มีหน้าที่เฉพาะของตน

ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นสิ่งที่ ตนถือว่า ดีที่สุด ที่มนุษย์เรา ควรจะได้ ข้อนี้ เป็นกำลังใจ อันแรก ท ี่

ทำให้เกิด คุณธรรม ข้อต่อไป ทุกข้อ

วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทำที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบ ความสำเร็จ

คำนี้ มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วย ส่วนหนึ่ง



จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้ง สิ่งนั้น ไปจากความรู้สึก ของตัว ทำสิ่งซึ่งเป็น วัตถุประสงค์ นั้นให้เดนชด อยู่
ในใจเสมอ คำนี้ รวมความหมาย ของคำว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มท ี่

วิมังสา หมายถึงความสอดส่องใน เหตุและผล แห่งความสำเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ให้ลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไปตลอดเวลา คำ
นี้ รวมความหมาย ของคำว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มท ี่

ความซื่อสัตย์


คือ ความซื่อสัตย์เป็นคณธรรมพื้นฐานของคนดี การมีความซื่อตรง มีความซื่อสัตย์ มีความจริงใจตอผอื่น
ู้
เป็นการยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ไม่คดโกง มีความโปร่งใสในการ
ู้

ทำงาน ตรวจสอบได ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริตจะทำให้ได้รับความเชื่อมั่น ความไว้วางใจจากผู้อื่น ในทางตรงกันข้ามผท ี่
ประพฤติตนไม่สุจริต ทุจริตในหน้าที่การงาน จะทำให้งานนั้นเสียหาย ส่งผลกระทบต่อตนเองและสังคมส่วนรวม ไม่ได ้
รับความไว้วางใจจากผู้อื่น

การปฏิบัติตนเป็นผู้มีความซื่อสัตย์

1.ซื่อตรงต่อหน้าที่
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมายอย่างตรงไปตรงมา โปร่งใส ตรวจสอบได้ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง พวกพ้อง
2.ซื่อตรงต่อเวลา

วางแผนการทำงานให้เหมาะสมกับเวลาและทำงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนดไม่มาทำงานสาย

3.ซื่อสัตย์ต่อตนเอง

ั้
ปฏิบัตตนเป็นผู้มีคณธรรม มีความจริงใจสุจริต ตงมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มีหิริโอตัปปะ เกรง

กลัวและละอายในการ กระทำผิด
4.ยึดมั่นในความถูกต้อง
ปฏิบัติหน้าที่หรืองานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องตรงไปตรงมา

5 ยึดมั่นในคำพูด คำสัญญา


ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวาจาสตย์ ยึดมั่นในคำพูด คำสัญญา ในสิ่งที่ถูกต้อง และปฏิบัติตามคำสัญญา

ความรับผิดชอบ (RESPONSIBILITY )หมายถึง ลกษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส ่

จดจ่อตั้งใจ มุ่งมั่นต่อหน้าที่การงาน การศึกษาเลาเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และ ผู้อยู่ในความดูแล ตลอดจน

สังคม อย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่กำหนด ยอมรับผลการกระทำทั้งผลด ี

และผลเสียทเกิดขึ้น รวมทั้งปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นเป็นความผูกพันในการที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้สำเร็จลุล่วงไปได้
ี่
และความสำเร็จนี้เกี่ยวข้องกับปัจจัย 3 ประการ คือ พันธะผูกพัน หน้าที่การงาน และวัตถุประสงค์แบ่งประเภทความ

รับผิดชอบไว้ดังนี้
1. ความรับผดชอบต่อตนเอง หมายถึง การรับรู้ฐานนะและบทบาทของตนที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมจะต้อง


ดำรงตนให้อยู่ในฐานนะที่ช่วยเหลือตัวเองได้ รู้จักว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดผด ยอมรับผลการกระทำของตนเองทั้งที่เป็นผลด ี
และผลเสีย เพราะฉะนั้นบุคคลที่มีความรับผิดชอบในตนเองย่อมจะไตร่ตรองดูให้รอบคอบก่อนว่า สิ่งที่ตนเองทำลงไป

นั้นจะมีผลดีผลเสียหรือไม่และจะเลือกปฏิบัติแตสงที่จะก่อให้เกิดผลดีเทานั้น
ิ่

2. ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง ภาระหน้าทของบุคคลที่จะต้องเกี่ยวข้อง และมีส่วนร่วมต่อสวัสดิภาพ
ี่

ของสังคมที่ตนเองดำรงอยู่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหลายสิ่งหลายอย่าง ตั้งแตสังคมขนาดเล็ก ๆ จนถึงสังคมขนาด

ใหญ่ การกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไม่มากก็น้อย บุคคลทุกคนจึงต้องมีภาระหน้าที่และ

ี่
ความรับผิดชอบทจะต้องปฏิบัติต่อสังคม ดังต่อไปนี้
2.1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่พลเมือง ได้แก่ การปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม การรักษาทรัพย์สินของ

สังคม การช่วยเหลือผู้อื่น และการให้ความร่วมมือกับผู้อื่น

2.2 ความรับผิดชอบต่อครอบครัว ได้แก่ การเคารพเชื่อฟังผู้ปกครอง การช่วยเหลืองานบ้านและการรักษา
ชื่อเสียงของครอบครัว


2.3 ความรับผดชอบต่อโรงเรียน ได้แก่ ความตั้งใจเรียน การเชื่อฟังครู – อาจารย์ การปฏิบัตตามกฎของ

โรงเรียนและการรักษาสมบัติของโรงเรียน
2.4 ความรับผิดชอบต่อเพื่อน ได้แก่ การช่วยตักเตือนแนะนำเมื่อเพื่อนกระทำผิด การช่วยเหลือเพื่อนอย่าง



เหมาะสม การให้อภัยเมื่อเพื่อนทำผดการไม่ทะเลาะและ เอาเปรียบเพื่อน และการเคารพสทธิซึ่งกันและกัน

บทท 3
ี่
วิธการดำเนินการ

วิธีการดำเนินงาน

1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวข้องกับการวางแผนและการเขียนโครงการ

เริ่มจากการเลือกชื่อโครงงาน โดยเลือกจากปัญหาที่ใกล้ตัวของสมาชิกในกลุ่ม หัวข้อถัดมาคือหลักการและเหตุผล จะ

ระบุรายละเอียดของปัญหาและความจำเป็นที่ต้องแก้ไข รวมทั้งกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย สถานที่ดำเนินการ

อุปกรณ์การดำเนินงาน

2 แต่งตั้งหัวหน้าห้อง แต่งตั้งเวรประจำวัน เลือกหัวหน้าเวรประจำวันและจัดทำแนวปฏิบัติและข้อตกลงใน

ี่
การปฏิบัติหน้าที่เวรแต่ละวัน ทุกคนปฏิบัติหน้าทตามที่ได้รับมอบหมาย
3.หัวหน้าเวรแต่ละวันประเมินในวันที่ตนเองรับผิดชอบ

4 นำคะแนนแต่ละสัปดาห์มารวมกันเพื่อมอบรางวัล


5 สรุปและประเมินผล โดยใช้เครื่องมือการประเมิน คอ แบบบันทึกการตรวจเวรประจำวัน
6 เสนอแนะ ปรับปรุง แก้ไข

7 จัดทำรูปเล่ม

8 จัดทำบอร์ดโครงงาน

9. นำเสนอโครงงาน

วิธีการวัดและประเมิน

1. สังเกตพฤติกรรม

2. แบบบันทึกการตรวจเวรประจำวัน

ี่
บทท4
ผลการศึกษาค้นคว้า

จากการทำโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดด้วยสองมือเรา (Happy Classroom)” ของนักเรียนระดับชน
ั้
มัธยมศึกษาปีท 1/2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนจันจว้าวิทยาคมโดยเริ่มจากการประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับการ
ี่
ดำเนินงาน ภายในห้องเรียน เช่น การแต่งตั้งหัวหน้าห้อง การแต่งตั้งเวรประจำวัน ฯลฯ การเลือกหัวหน้าเวรประจำวัน

และ จัดทำแนวปฏิบัติและข้อตกลงในการปฏิบัติหน้าที่เวรแต่ละวัน ทุกคนปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย และ