โครงงานคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่อง ความคล้าย

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

                จาการศึกษาครั้งนี้   ผู้รายงานนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา คือการสร้างกล้องเตือนภัย และนำหลักการ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันคำนวณหาความกว้างและอัตราการเพิ่มขึ้นและลดลงของระดับน้ำ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

                การทดลองกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์เรื่องกล้องเตือนภัย  ในการการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์   ประกอบด้วยขั้นตอน 5  ขั้นตอน รายละเอียดของการดำเนินการดังนี้

ขั้นตอนที่ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ 

เป็นขั้นตอนที่นักเรียนศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้โดยโครงงาน ได้แก่ ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์  ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน  การสำรวจ  เก็บรวบรวมข้อมูล  ประสบการณ์และพื้นฐานความรู้เดิม  วิธีการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลที่นำไปใช้ในการกำหนดเป้าหมายของการวางแผนและออกแบบกิจกรรมเพื่อนำไปจัดทำโครงงานให้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและวิธีการเรียนรู้และสภาพที่แท้จริง

กิจกรรมในการปฏิบัติการ ดังนี้

1.             ผู้สนใจเข้าร่วมนำเสนอข้อมูลแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนำประสบการณ์ไปใช้ใน

การแก้ปัญหาในการเรียนคณิตศาสตร์

2.             เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการสร้างและพัฒนาเครื่องมือสำหรับการทำโครงงาน จาก

สื่อต่างๆ เช่นหนังสือ  อินเตอร์เน็ต 

                การเรียนรู้ที่เกิดจากการทำกิจกรรมการศึกษาค้นคว้าข้อมูลการทำกิจกรรมโครงงาน ผู้รายงานเกิดการเรียนรู้ ดังนี้

                                1.1  การเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดทำโครงงาน

                                1.2  การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ

                                1.3  การเขียนรายงานโครงงาน

                                1.4  การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

                ขั้นตอนที่  การวางแผน 

การวางแผนการจัดทำโครงงาน  การศึกษาความรู้ในเรื่องความคล้าย  การเรียนรู้  แนวทางวิธีการศึกษา  ออกแบบการทดลอง   โดยมีขั้นตอน ดังนี้

                                1.1   ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการนำความรู้เกี่ยวกับความคล้ายไปใช้

                                                1.1.1   ศึกษาความรู้เรื่องความคล้าย

                                                1.1.2   ศึกษาการนำความรู้เรื่องความคล้ายไปใช้ในชีวิตประจำวัน

                                                1.1.3   ออกแบบการทดลอง   โดยการนำรูปสามเหลี่ยมคล้ายไปใช้วัดหา ความกว้างของแม่น้ำ โดยใช้รู้สามเหลี่ยมขนาดต่างๆ มาสร้างกล้องเตือนภัย

                ส่องมองดูสิ่งที่ต้องการหาความกว้างของแม่น้ำ บันทึกผลลงในตาราง   นำข้อมูลที่ได้ไปคำนวณหา ความกว้าง โดยใช้หลักการ และสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

                ขั้นตอนที่  การสำรวจ/รวบรวมข้อมูล 

เป็นขั้นตอนการปฏิบัติจริง  ในการสำรวจและรวบรวมข้อมูล  การทดลอง การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์เรื่องความคล้ายไปใช้ในชีวิตประจำวัน   เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีคุณลักษณะตามเป้าหมายที่ต้องการ รู้จักการทำงานเป็นทีม การเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน ประเมินผลการทำโครงงานและรวบรวมข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับคุณลักษณะของนักเรียนที่เกิดขึ้นระหว่างระหว่างการทำกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยวิธีการและแบบวัดต่างๆ เช่น การจดบันทึกหลังการทดลอง   ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆดังนี้

3.1  การทดลอง

                       การทดลองการใช้กล้องเตือนภัยวัดความกว้างของแม่น้ำยม โดยมีขั้นตอนดังนี้

1)            ผู้ทำการทดลองยืนบนฝั่งแม่น้ำ

2)            ผู้ทำการทดลองส่องกล้องขนานกับพื้นดิน

3)            ผู้ทำการส่องกล้องไปยังจุดตรงข้าม

4)            ทำการทดลองซ้ำ 3 ครั้ง ใน 1 สัปดาห์

5)            บันทึกผลการทดลอง ลงตาราง

ตารางที่ 3.1  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 1

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

4 สิงหาคม 2551

1

51 เซนติเมตร

16  เมตร

ตารางที่ 3.2  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 2

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

5 สิงหาคม 2551

2

51 เซนติเมตร

18  เมตร

ตารางที่ 3.3  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 3

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

6 สิงหาคม 2551

3

51 เซนติเมตร

15  เมตร

ตารางที่ 3.4  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 4

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

7 สิงหาคม 2551

4

51 เซนติเมตร

20  เมตร

ตารางที่ 3.5  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 5

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

8 สิงหาคม 2551

5

51 เซนติเมตร

18  เมตร

ตารางที่ 3.6  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 6

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

9 สิงหาคม 2551

6

51 เซนติเมตร

22  เมตร

ตารางที่ 3.7  ตารางบันทึกผลการวัด ความกว้างของแม่น้ำยม โรงเรียนปากจอกวิทยา วันที่ 7

วัน เดือน ปี

ผลการวัด

หมายเหตุ

ครั้งที่

ความสูงของกล้อง

ความสูงของต้นไม้

10 สิงหาคม 2551

7

51 เซนติเมตร

20  เมตร

3.2  คำนวณผลที่ได้จากการทดลอง

       1)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 4 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 4 สิงหาคม กว้าง       12.20 เมตร หรือประมาณ 12 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 1,220

2)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 5 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 5 สิงหาคม 2551 กว้าง 16.64  เมตร หรือประมาณ 17 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 1,664.444

3)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 6 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 6 สิงหาคม 2551 กว้าง 9.97  เมตร หรือประมาณ 10 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 997.78

4)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 7 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 7 สิงหาคม 2551 กว้าง 21.08  เมตร หรือประมาณ 21 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 21.08

5)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 8 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 8 สิงหาคม 2551 กว้าง 16.64  เมตร หรือประมาณ 17 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 1,664.444

6)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 9 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 8 สิงหาคม 2551 กว้าง 25.53  เมตร หรือประมาณ 26 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 2553.33

7)  การคำนวณความกว้างของแม่น้ำยมในวันที่ 10 สิงหาคม 2551

ขั้นที่ 1 สร้างภาพจำลองตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นที่ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน

ขั้นที่ 3 แสดงวิธีการคิด

วิธีทำ     

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน                    

ต้องการทราบความยาวของด้าน  AF

                ดังนั้น    แม่น้ำในวันที่ 10 สิงหาคม 2551 กว้าง 21.08  เมตร หรือประมาณ 21 เมตร

ขั้นที่ ตรวจคำตอบ

                                แทนค่า x = 21.08

3.3  วิเคราะห์ผลการทดลอง 

ตารางที่ 3.8  ผลการทดลองการใช้กล้องเตือนภัยวัดความกว้างของแม่น้ำยม ระหว่างวันที่ 4 – 10 สิงหาคม 2551 พบว่า

วัน เดือน ปี

ความกว้างของแม่น้ำที่วัดได้ (เมตร)

หมายเหตุ

4 สิงหาคม 2551

12

5 สิงหาคม 2551

17

6 สิงหาคม 2551

10

7 สิงหาคม 2551

21

8 สิงหาคม 2551

17

9 สิงหาคม 2551

26

10 สิงหาคม 2551

21

3.4  การประเมินผลการทดลอง

ที่

ตัวชี้วัด

คุณภาพ

4

3

2

1

1

ทำการทดลองจริง

4.00

-

-

-

2

ทำการทดลองซ้ำมากกว่า 2 ครั้ง

4.00

-

-

-

3

อุปกรณ์การวัดมีความเหมาะสม

-

3.25

-

-

4

หลักการ ทฤษฎีมีความถูกต้องชัดเจน

4.00

-

-

-

5

หลักการคิด คำนวณหาคำตอบมีความถูกต้อง

4.00

-

-

-

6

แนวทางการทดลองสามารถนำไปสู่การพัฒนา

4.00

-

-

-

7

ระยะเวลา

-

3.00

เฉลี่ย

4.00

3.25

-

                จากตารางแสดงการประเมินผล นักเรียนได้ปฏิบัติการทดลองจริง ทำการทดลองมากกว่า 2 ครั้ง หลักการ ทฤษฎีมีความถูกต้องชัดเจน ใช้หลักการคิดคำนวณ หาคำตอบ อีกทั้งแนวทางการนำไปพัฒนา  อยู่ในระดับคุณภาพ 4.00 ทางด้านอุปกรณ์ การวัด อยู่ในระดับคุณภาพ 3.25 ระยะเวลาในการทดลอง อยู่ในระดับคุณภาพ 3.00

3.5       การประเมินโครงงาน

ตอนที่ ประเมินตนเอง

รายละเอียดการประเมินตนเอง

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง..................................................................................................

สมาชิกกลุ่ม  ............................................................................ เลขที่...........ชั้น..................

                       ..............................................................................เลขที่...........ชั้น..................

                       ..............................................................................เลขที่...........ชั้น..................

คำชี้แจง   ใส่เครื่องหมาย P ลงใน 5 ในข้อความที่เลือก

1.  เหตุผลที่เลือกโครงงานนี้(เลือกได้หลายช่อง)

0  เคยทำโครงงานนี้มาก่อน          0มีผู้ให้ความช่วยเหลือได้      0น่าจะได้ความรู้

0  ตรงกับความสนใจ   0  เป็นโครงงานที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย      0  ผู้ปกครองแนะนำ                          0 มีวัสดุอุปกรณ์  พร้อมอยู่แล้ว  0  อื่นๆ(ระบุ)...........................................................

2.  เมื่อเริ่มทำโครงงาน พบว่าโครงงานนี้

0ง่ายกว่าที่คิด                  0ยากกว่าที่คิด                  0ยากง่ายใกล้เคียงกับที่คิด

3.  ความรู้สึกเมื่อทำโครงงานไปสักระยะหนึ่ง

0 พอใจ                            0อยากเปลี่ยนงาน            0ต้องทนทำไป

4.  ความร่วมมือจากเพื่อนๆระหว่างทำงาน

0ได้รับความร่วมมือมาก     0 ไดรับความร่วมมือบ้าง      0ไม่มีผู้ให้ความร่วมมือ

5.  การแก้ไขอุปสรรคระหว่างทำงาน

0แก้ด้วยตัวเอง                 0 ขอคำแนะนำจากครู/ผู้ปกครอง         0ไม่มีอุปสรรคเลย

6  ปัญหาที่พบระหว่างทำงาน(ถ้าไม่มีไม่ต้องตอบ)

0โปรดระบุ.........................................................................................

7  ความรู้สึกระหว่างการทำโครงงาน

0มีความสุข/สนุกสนาน     0 เป็นปกติ/เฉยๆ       0   เบื่อ/อยากให้งานเสร็จเร็วๆ

8.  ความรู้สึกเมื่อทำโครงงานเสร็จ

0ภาคภูมิใจมาก        0 โล่งอก      0   ไม่พอใจเพราะไม่เป็นไปตามคาด

สิ่งที่ภาคภูมิใจในการทำงานนี้(ถ้ามี)  คือ.............................................................................

สิ่งที่ยังไม่พอใจ(ควรปรับปรุง)ในการทำงานนี้ (ถ้ามี)คือ...........................................................

ความเห็นอื่นๆ(ถ้ามี).....................................................................................................

สรุปผลการทำงาน   0 ดีมาก(4)    0 ดี (3)   0 ปานกลาง (2)   0 ยังไม่น่าพอใจ (1)

ตอนที่ 2 ประเมินโครงงาน

แบบประเมินผลการทำโครงงาน

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง..................................................................................................

สมาชิกกลุ่ม  ............................................................................เลขที่...........ชั้น..................

                       ..............................................................................เลขที่...........ชั้น..................

                       ..............................................................................เลขที่...........ชั้น..................

รายการ

คะแนน

วิธีให้คะแนนดูจาก

เต็ม

ได้

1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญหลักการและหลักการทำโครงงานทั่วไป

5

4

ความสำคัญ   จุดประสงค์และรูปแบบของโครงงานที่ส่งตรวจครั้งแรก

2.รู้จักคิดวิเคราะห์ตนเอง

สภาพแวดล้อมหาทางเลือกในการทำโครงงาน

5

4

เค้าโครงโครงงานที่ส่งตรวจครั้งแรกประกอบตารางวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตัดสินใจเลือกโครงงาน

3.มีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของโครงงานที่เลือก

10

9

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากเค้าโครงโครงงาน

4.มีความรู้ความเข้าใจ วิธีการและแหล่งวิทยาการที่จะสนับสนุนการทำงาน

5

5

แผนปฎิบัติการจากเค้าโครงโครงงาน

5.วิเคราะห์และวางแผนปฏิบัติงานได้ถูกต้องเหมาะสมตามขั้นตอนกระบวนการทำงาน ประหยัดและปลอดภัย

20

17

แผนปฏิบัติการจากเค้าโครงโครงงาน

6.ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้และรู้จักแก้ปัญหา

20

17

แบบบันทึกจากการสังเกตระหว่างที่ปฏิบัติงาน

7.ทำงานด้วยความตั้งใจ

10

10

แบบบันทึกการปฏิบัติงาน

8.ค้นพบความสามารถของตน

5

5

สังเกตก่อน-หลังปฏิบัติงาน

9.ลักษณะของผลงานด้านความคิด

10

7

ผลงาน  ชิ้นงาน

10.ประโยชน์ของผลงาน

10

8

ผลงานชิ้นงาน

รวมคะแนน

100

86

จากการทำโครงงานนี้ นักเรียนได้รับคำปรึกษาจากครูที่ปรึกษาโครงงาน เป็นโครงงานที่มีค่าใช้จ่ายน้อย มีความยากง่ายใกล้เคียงกว่าที่คิด ความร่วมมือจากเพื่อนๆระหว่างทำงาน มีความภาคภูมิใจ มีความสุขกับการทำงาน  การประเมินโครงงานนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญหลักการและหลักการทำโครงงานทั่วไป รู้จักคิดวิเคราะห์ตนเอง สภาพแวดล้อมหาทางเลือกในการทำโครงงานมีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของโครงงานที่เลือกมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการและแหล่งวิทยาการที่จะสนับสนุนการทำงานปฏิบัติตามแผนที่วางไว้และรู้จักแก้ปัญหาทำงานด้วยความตั้งใจค้นพบความสามารถของลักษณะของผลงานด้านความคิดประโยชน์ของผลงาน ร้อยละ 86

                ขั้นตอนที่  การวิเคราะห์ข้อมูล 

จากข้อมูลที่รวบรวมได้จากการทดลองใช้กล้องวัดความกว้างของแม่น้ำยม ระหว่างวันที่ 4 – 10 สิงหาคม 2551

แผนภูมิแสดงความกว้างของแม่น้ำที่วัดได้ระหว่างวันที่ 4 – 10 สิงหาคม 2551

ตารางที่ 3.9  แสดงอัตราการเพิ่มขึ้น-ลดลงของระดับน้ำในแม่น้ำยม ระหว่างวันที่ 4 – 10 สิงหาคม 2551 พบว่า

วัน เดือน ปี

ระดับน้ำ

หมายเหตุ

ความกว้างของแม่น้ำ

เพิ่ม

ลด

4 สิงหาคม 2551

12

-

-

5 สิงหาคม 2551

17

5

-

6 สิงหาคม 2551

10

-

7

7 สิงหาคม 2551

21

11

-

8 สิงหาคม 2551

17

-

3

9 สิงหาคม 2551

26

9

-

10 สิงหาคม 2551

21

-

5

จากตาราง  แสดงว่าระดับน้ำในแม่น้ำยมในช่วงวันที่ 4 – 10 สิงหาคม 2551 มีระดับที่เพิ่มขึ้นและลดลงเป็นระยะไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนที่ตก ในช่วงวันที่ที่ควรระวังภัยจากน้ำท้วม คือวันที่ 5 , 7 และวันที่ 9 วันที่ 7 มีความเสี่ยงสูงที่สุด

                ขั้นตอนที่  การนำเสนอข้อมูล 

นำผลการศึกษา  การทดลอง แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ ตามเป็นขั้นตอน  นำผลการประเมินผล และข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ด้วยวิธีการต่างๆมาวิเคราะห์ สรุปผลและรายงานต่อครู  นักเรียน ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

การเก็บรวบรวมข้อมูล

                ผู้ศึกษาดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน กรกฎาคม 2551 – เดือนสิงหาคม 2551 โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.             การเตรียมการเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยการเข้าร่วมประชุม  25 กรกฎาคม 2551

2.             ขั้นตอนวางแผนโดยการจัดทำ

                        ศึกษาการเรียนรู้สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องความคล้าย

                        จัดทำชุดการทดลอง

                        กิจกรรมการทดลอง

                        คำนวณหาค่าที่ได้จาการทดลอง

3.             ดำเนินการตามแผนการ  สำรวจ รวบรวมข้อมูล และเครื่องมือการเรียนรู้อื่นๆตามที่

กำหนดไว้ ในขั้นตอนการวางแผน

4.             การสะท้อน ด้วยการประเมินผลการจัดทำโครงงาน

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1.             การวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินการทดลองกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์เรื่องกล้อง

เตือนภัยการหาอัตราส่วน

2.             การวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์เรื่องกล้องเตือนภัยด้วย

การหาค่าร้อยละ