โครงงานคณิตศาสตร์ ประดิษฐ์

โครงงานคณิตศาสตร์
เร่ืองตะเกยี บรูปทรงสวยด้วยคณติ

โดย

1.เด็กชายนราธร ชนะการี
2.เดก็ หญงิ กาตมิ า บุญนยิ ม
3. เดก็ หญิงทิพาพร ก้อนคา

ครูที่ปรึกษา 1. นางอุมาพร พิมพ์ภกั ดี
2. นางอุตทุมพร บุญภิละ

โรงเรียนบ้านไผ่ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 25

รายงานฉบบั นี้เป็ นส่วนประกอบของโครงงานคณติ ศาสตร์

ประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 69ประจาปี การศึกษา 2562

โครงงานคณิตศาสตร์ ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต
ผจู้ ดั ทา 1)เด็กชายนราธร ชนะการี2)เด็กหญิงกาติมา บุญนิยม 3)เด็กหญงิ ทพิ าพร กอ้ นคา
ครูท่ปี รึกษา 1)นางอุมาพร พิมพภ์ กั ดี2)นางอุตทมุ พร บญุ ภิละ
สถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นไผ่ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 25

บทคดั ย่อ

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิตเป็นการนาความรู้เกี่ยวกบั ออกแบบ
ประดิษฐช์ ิ้นงานรูปทรงต่างๆเขา้ กบั ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เพือ่ ให้เกิดชิ้นงาน ทางคณะทางานไดน้ าความรู้
ทางคณิตศาสตร์เรื่อง พ้นื ฐานทางเรขาคณิต รูปเรขาคณิต ความคลา้ ย และการแปลงทางเรขาคณิตมาช่วยใน
การออกแบบและประดิษฐ์ชิ้นงาน สามารถออกแบบและประดิษฐช์ ิ้นงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทิ้ง จากโรง
อาหารโรงเรียนบา้ นไผ่ ทบี่ า้ น และในชุมชน ซ่ึงเป็นขยะ มาทาเป็นชิ้นงานทนี่ ่าสนใจ สร้างสรรคผ์ ลงาน
ประดิษฐจ์ ากเศษขยะ จึงเป็นอีกวธิ ีหน่ึงทลี่ ดปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชนไดอ้ กี ทาง
หน่ึง และยงั เป็นการนาเศษส่ิงท่เี ป็นขยะมาประดิษฐเ์ ป็นของใชแ้ ทนการทิง้ ใหส้ ูญเปลา่ นามาประดิษฐ์เป็ น
ของประดบั ตกแตง่ และของใชต้ า่ งๆ อกี ท้งั สามารถเพ่ิมมลู คา่ ให้กบั ขยะเหล่าน้นั ได้ รวมท้งั สร้างจิตสานึก
รักษาสภาพแวดลอ้ มทีม่ อี ยขู่ องตนใหย้ ง่ั ยืน ลดภาวะโลกร้อนในปัจจบุ นั คณะทางานเขา้ ใจและสามารถ
สร้างสรรค์ชิ้นงานทีส่ ื่อสารในเชิงคณิตศาสตร์ไดม้ ากข้นึ อกี ท้งั สามารถอธิบายให้เพือ่ นนกั เรียนในห้องเรียน
ชุมนุม และผสู้ นใจไดเ้ ขา้ ใจถงึ การออกแบบและประดิษฐช์ ้ืนงานทเ่ี ป็นของใช้ ประดบั ตกแต่ง ซ่ึงเป็น
ช้ินงานสร้างสรรค์ ทรงคณุ คา่ ในชีวิตประจาวนั และคณุ คา่ ทางดา้ นจิตใจ เป็นผลงานท่มี ีความสวยงาม ทาได้
งา่ ย และสามารถทาไดจ้ ริง
วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน

1. เพอื่ ศกึ ษาและประดิษฐ์ช้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง

2. เพือ่ นาความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาช้ินงาน

3. เพอ่ื ลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน

4. เพ่ือใหน้ กั เรียนมเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ วิชาคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
ผลการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินงานตามโครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต พบวา่ ประสบ
ผลสาเร็จและบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคด์ งั น้ี

1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การจกั สาน และสามารถออกแบบประดิษฐช์ ิ้นงานจากตะเกียบไมใ้ ช้

แลว้ ทิ้งได้

2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาชิ้นงานจากตะเกียบไม้

ใชแ้ ลว้ ทิ้งได้

3. ร่วมอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน

4. นกั เรียนมีเจตคตทิ ี่ดีต่อวชิ าคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต ประสบความสาเร็จไดด้ ว้ ยความ
ช่วยเหลือจากบุคคลหลายทา่ น คณะทางานขอขอบคณุ นกั เรียนโรงเรียนบา้ นไผ่ ที่ให้ความช่วยเหลือในการ
จดั ทาผลงาน ขอขอบพระ คุณคุณครูอุมาพร พิมพภ์ ักดีคุณครูอุตทุมพร บุญภิละ ครูท่ีปรึกษาโครงงานที่
คอยดูแล ใหค้ าแนะนาช้ีแนะแนวทางเป็นอยา่ งดี และคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ทุกทา่ นทใี่ ห้
กาลงั ใจเป็นอยา่ งดีมาโดยตลอด

คณะผูจ้ ดั ทามีความซาบซ้ึงใจในความกรุณาของทุกท่านเป็นอยา่ งมาก นอกจากน้ีขอขอบพระคุณ
ดร.สวสั ด์ิ แกว้ ชนะ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นไผ่ ที่ให้การสนับสนุนในเร่ืองงบประมาณและเป็นกาลงั ใจใน
การจดั ทาโครงงานจนสาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

คณะผจู้ ดั ทา
30 สิงหาคม 2562

สารบญั ค

เรื่อง หน้า
บทคดั ยอ่ ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพ จ
บทท่ี 1 บทนา 1
1
ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน 2
วตั ถุประสงค์ 2
ขอบเขตของการศกึ ษา 2
ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 3
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 3
การจกั สาน 6
แบบรูป 7
พ้ืนฐานทางเรขาคณิต 8
ความคลา้ ย 9
การแปลงทางเรขาคณิต
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 10
ข้นั ตอนการดาเนินการ 11
ปฏิทนิ การดาเนินการ 12
วธิ ีดาเนินการออกแบบและจดั ทาผลิตภณั ฑไ์ มไ้ ผ่ 18
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ 19
บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 20
บรรณานุกรม 21
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง ง

ตารางท่ี 1ปฏิทนิ การดาเนินงาน หน้า
ตารางที่ 2ความสัมพนั ธ์ของรูปหกเหลย่ี ม จานวนไมต้ อก และแบบรูป
ตารางท่ี 3 ความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง 11
สานผลติ ภณั ฑไ์ มไ้ ผ่สวยดว้ ยคณิต 17
22

สารบัญภาพ จ

ภาพที่ 1 มดี หน้า
ภาพท่ี 2มดี ตอก
ภาพท่ี 3 เหลก็ หมาดปลายแหลม 4
ภาพท่ี 4ตวั อยา่ งลายขดั 4
ภาพที่ 5ตวั อยา่ งลายทแยง 4
ภาพที่ 6ตวั อยา่ งลายขดหรือถกั 5
ภาพท่ี 7 ตวั อยา่ งลายอิสระ 5
ภาพที่ 8รูปเรขาคณิตสองมติ ิ 6
ภาพที่ 9 รูปเรขาคณิตสามมิติ 6
ภาพท่ี 10ตวั อยา่ งรูปเรขาคณิตสามมติ ิในชีวติ ประจาวนั 8
ภาพท่ี 11ตวั อยา่ งรูปท่ีมคี วามคลา้ ย 8
ภาพท่ี 12การเลื่อนขนาน 8
ภาพท่ี 13 การสะทอ้ น 8
ภาพที่ 14การหมุน 9
ภาพท่ี 15ลายชะลอม 9
ภาพที่ 16วสั ด-ุ อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการทาผลติ ภณั ฑไ์ มไ้ ผ่ 9
ภาพท่ี 17แสดงวธิ ีการสานลายชะลอม 12
ภาพที่ 18วิธีการทาชะลอม 12
ภาพท่ี 19วิธีการทาถาดกระจาด 13
ภาพท่ี 20วิธีการทาตะกร้า 14
ภาพท่ี 21วิธีการทากระเชา้ 14
ภาพท่ี 22ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑจ์ ากการจกั สานลายชะลอม 15
ภาพที่ 23ผลงานการประดิษฐ์ผลติ ภณั ฑจ์ ากการจกั สานไมไ้ ผ่ 15
16
18

1

บทท่ี 1
บทนา

ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน
ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ กิดข้นึ ในปัจจบุ นั ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากปริมาณขยะท่ีเพมิ่ มากข้ึนจากการ

อปุ โภคบริโภคในชีวติ ประจาวนั เนื่องจากสะดวกในการใชง้ าน หาง่ายและมรี าคาถูก เช่น กระดาษ โฟม
พลาสติก ขวด โลหะ แกว้ ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทง้ิ เป็นตน้ ผลิตภณั ฑเ์ หล่าน้ีจะทาให้เกิดขยะมลู ฝอย ซ่ึงเป็น
สาเหตปุ ระการหน่ึงที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม

ทางคณะผจู้ ดั ทาไดต้ ระหนกั ถงึ ปริมาณของขยะภายในโรงเรียนบา้ นไผ่ ซ่ึงในแตล่ ะวนั จะมปี ริมาณ
มากข้นึ เรื่อยๆ และมองเห็นว่าตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง มีจานวนมากเท่าๆกบั ขยะประเภทอ่ืนๆ ไมต้ ะเกียบทีถ่ กู
ทิ้งในโรงอาหารเป็นวสั ดธุ รรมชาติทเี่ ป็นของเหลือใชห้ รือขยะที่มปี ริมาณมากในโรงอาหาร คณะผูจ้ ดั ทาจึง
คิดประดิษฐช์ ิ้นงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิงนาส่ิงทพ่ี วกเราหลายคนคิดวา่ เป็นขยะมาทาเป็นชิ้นงานที่
น่าสนใจข้ึนมา การสร้างสรรคผ์ ลงานประดิษฐจ์ ากเศษขยะ ประเภทตะเกียบไม้ จึงเป็นวธิ ีหน่ึงท่ีจะช่วยลด
ปริมาณขยะและยงั เป็นการนาเศษส่ิงทเี่ ป็นขยะมาประดิษฐ์เป็นของใชแ้ ทนการทิง้ ให้สูญเปลา่ นามาประดิษฐ์
เป็น ของประดบั ตกแต่ง และของใชต้ า่ งๆ อกี ท้งั สามารถเพมิ่ มูลคา่ ใหก้ บั ขยะเหล่าน้นั ได้ รวมท้งั สร้าง
จิตสานึกรกั ษาสภาพแวดลอ้ มที่มีอยขู่ องตนให้ยง่ั ยืน ลดภาวะโลกร้อนในปัจจบุ นั และใชเ้ วลาวา่ งให้เกิด
ประโยชน์อีกดว้ ย
วัตถปุ ระสงค์

5. เพื่อศึกษาและประดิษฐ์ช้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้
6. เพือ่ นาความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาช้ินงาน
7. เพ่ือลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียนบา้ น และชุมชน
8. เพอื่ ให้นกั เรียนมเี จตคตทิ ด่ี ีต่อวิชาคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์

2

ขอบเขตของการศึกษา

1. ศึกษาความรู้เกี่ยวกบั การประดิษฐช์ ้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทง้ิ โดยการไปศกึ ษาจาก ตารา

เอกสาร และสืบคน้ ทางอนิ เตอร์เนต็

2. ศกึ ษาเน้ือหาวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง พ้ืนฐานทางเรขาคณิตรูปเรขาคณิต ความคลา้ ย และการ
แปลงทางเรขาคณิต

3. ชิ้นงานสร้างสรรคท์ ี่คณะผูจ้ ดั ทาข้ึนใช้ ไดแ้ ก่ โคมไฟ กลอ่ ง ของประดบั ตกแต่ง เป็นตน้
4. บรู ณาการชิ้นงานกบั วชิ าอืน่ เพ่ือการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั และเป็นการสร้างสรรคผ์ ลงาน

ทที่ รงคุณค่า
5. ระยะเวลาในการดาเนินงาน คือ ระหว่างวนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2562ถงึ 31สิงหาคม2562

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การการประดิษฐ์ช้ินงานจากไมต้ ะเกียบ
2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์เร่ือง พ้นื ฐานทางเรขาคณิตรูปเรขาคณิต ความคลา้ ย และการ
แปลงทางเรขาคณิต มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและประดิษฐช์ ้ินงานได้
3. ไดร้ ่วมอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ สามารถลดปัญหาปริมาณขยะและของเหลือใชภ้ ายใน
บริเวณโรงเรียนบา้ น และชุมชน
4. นกั เรียนมีเจตคตทิ ด่ี ีต่อวชิ าคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์

3

บทท่ี 2
เอกสารท่เี กยี่ วข้อง

ในการทาโครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง คณะทางานไดศ้ ึกษาขอ้ มูลและเน้ือหา ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ตะเกียบ
2. พ้ืนฐานความรู้ทางเรขคณิต
3. รูปเรขาคณิต
4. การสร้างรูปเรขาคณิต
5. ความคลา้ ย
6. การแปลงทางเรขาคณิต

1.ไม้ตะเกยี บ
ตะเกยี บ คอื อปุ กรณ์ในการรับประทานอาหารมลี กั ษณะเป็นแทง่ สองแทง่ มีขนาดใกลเ้ คยี งกนั ใชเ้ ป็น

อปุ กรณห์ ลกั ในการกินอาหาร ในประเทศจีน ญ่ีป่ ุน เกาหลี และเวียดนาม ในประเทศไทยใชส้ าหรับอาหาร
ประเภทก๋วยเต๋ียว ตะเกียบนิยมทามาจาก ไม้ ไมไ้ ผ่ โลหะ และพลาสติก บางชนิดทามาจากงาชา้ ง

“ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทิ้ง ” กาลงั ไดร้ บั ความนิยมภายในร้านอาหารอยา่ งท่เี ห็นทกุ วนั น้ี เพราะดว้ ย
บรรจภุ ณั ฑท์ แ่ี ลดูสะอาด ถูกสุขลกั ษณะ และมคี วามสะดวกสบายเพ่มิ มากข้นึ แต่เช่ือหรือไม่วา่ เจา้ ตะเกียบ
ใชแ้ ลว้ ทง้ิ พวกน้ีกลบั เป็นตวั การในการเผาผลาญทรพั ยากรอยา่ งฟ่ มุ เฟื อยข้นึ เร่ือยๆ ส่งผลกระทบตอ่ ปัญหา
สิ่งแวดลอ้ มอนั นาไปสู่การพงั ทลายของดิน การขาดแคลนอาหาร น้าทว่ ม การปล่อยกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ และการสูญพนั ธุข์ องพชื และสตั ว์

4
ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้ ถอื เป็นขยะทว่ั ไป ขยะทว่ั ไปคือ วตั ถุหรือบรรจุภณั ฑท์ ี่เป้ื อนเศษอาหาร ซ่ึงย่อยสลายได้
ยาก ไมค่ มุ้ สาหรับการนากลบั มาใชใ้ หม่ ขยะเหลา่ น้นั จะนาไปกาจดั โดยวธิ ีฝังกลบอยา่ งถูกหลกั สุขาภบิ าล
เพือ่ ป้องกนั ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม

ภาพที่ ขยะจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง
3. พ้ืนฐานทางเรขาคณติ

3.1จดุ และเส้นตรง
จุดและเสน้ ตรงเป็นคาทีไ่ ม่มนี ิยามและจดุ ใชส้ าหรับบอกตาแหน่ง ส่วนเสน้ ตรง

มคี วามยาวไม่จากดั
ลกั ษณะและสัญลกั ษณ์
จุด AA เขยี นแทนดว้ ย A
เส้นตรง AB เขียนแทนดว้ ย AB

AB

สมบตั ิของจดุ และเสน้ ตรง 5
1. มีเสน้ ตรงเพียงเส้นเดียวเทา่ น้นั ทล่ี ากผา่ นจุดสองจุดท่ีกาหนดให้
2. เสน้ ตรงสองเสน้ จะตดั กนั ทจี่ ุดจดุ เดียวเทา่ น้นั

3.2 ส่วนของเส้นตรง
ส่วนของเสน้ ตรง คอื ส่วนหน่ึงของเส้นตรงทม่ี ีจุดปลายสองจุด
เส้นตรง AB เขยี นแทนดว้ ย AB หรือ AB

3.3 รังสี A B

รังสี คือ ส่วนหน่ึงของเสน้ ตรงทม่ี ีจุดปลายเพียงจดุ เดียว

รังสี AB เขียนแทนดว้ ย AB หรือ A เป็นจุดปลาย

AB

รงั สี BA เขียนแทนดว้ ย BA หรือ B เป็นจุดปลาย

BA

( AB และ BA ถอื วา่ เป็นคนละรังสีกนั เพราะมจี ดุ ปลายคนละจุด )

3.4 มมุ
มมุ คอื รังสีที่มีจดุ ปลายเป็นจุดเดียวกนั เรียกรงั สีสองเสน้ น้ีวา่ แขนของมมุ

และเรียกจุดปลายท่ีเป็นจดุ เดียวกนั น้ีว่า เป็นจดุ ยอดมุม
มมุ BAC เขยี นแทนดว้ ย BAˆC หรือ CAˆB
AB และ AC เป็นแขนของมมุ , A เป็นจุดยอดมุม

B
AC

4. รูปเรขาคณิต 6

รูปเรขาคณิต (Geometric Form) มีรูปทแ่ี น่นอน มาตรฐานสามารถวดั หรือคานวณไดง้ ่าย

มีกฎเกณฑ์ ไดแ้ ก่

4.1) รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสองมติ ิ แบง่ ตามลกั ษณะของดา้ น หรือ ขอบของรูปน้นั

เช่น รูปสามเหลย่ี ม รูปส่ีเหล่ียม รูปหลายเหลี่ยม หรือ รูปวงกลม เป็นตน้

ตวั อย่างรูปเรขาคณิตสองมติ ิ

รูปสามเหลย่ี ม รูปส่ีเหลยี่ ม รูปหลายเหลย่ี ม รูปวงกลม

ภาพท่ี 8 รูปเรขาคณิตสองมติ ิ

4.2)รูปเรขาคณิตสามมิติเป็นรูปเรขาคณิตทรงสามมติ ิทม่ี ฐี านหรือหนา้ ตดั เป็นรูปทรงต่างๆเช่นรูปทรงกระบอก
ตัวอย่างรูปเรขาคณิตสามมติ ิ

ภาพท่ี 9รูปเรขาคณิตสามมติ ิ

ภาพท่ี 10 ตวั อยา่ งรูปเรขาคณิตสามมติ ิในชีวติ ประจาวนั

7

5. การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่าย

การสร้างรูปเรขาคณิตอยา่ งง่าย จะกลา่ วถึงการสร้างรูปเรขาคณิตท่มี คี วามยาวเท่ากบั ความยาวทกี่ าหนด
และมขี นาดของมมุ เท่ากบั ขนาดของมมุ ที่ใชก้ ารสร้างมุม 90 องศา ,45 องศา และ 60 องศา เป็นพ้ืนฐาน
5.1 การสร้างมุมทม่ี ขี นาด 90 องศา และ 45 องศา
การสร้างมุมทม่ี ีขนาดเท่ากบั 90องศา อาศยั การสร้างเส้นต้งั ฉาก ท่ีจดุ จุดหน่ึงบนเสน้ ตรงท่ีกาหนดให้
ซ่ึงจะใชม้ มุ ฉาก และการสร้างมุมทม่ี ีขนาด 45 องศา อาศยั การแบ่งคร่ึงมุมฉากดงั น้ี

8

5.2 การสร้างมุม 60 องศา
พิจารณารูปสามเหลีย่ มดา้ นเทา่ LMN
จากสมบตั ิของรูปสามเหลี่ยมดา้ นเท่าจะไดว้ า่ LM = MN = NL
และ มุม LMN = มมุ MNL = มมุ NLM = 60 องศา

วิธีการสร้างการสร้างมมุ ที่มขี นาดเทา่ กบั 60 องศา อาศยั เเนวคดิ ในการสร้างรูปสามเหล่ยี มดา้ นเทา่

9
4.3 การสร้างรูปสี่เหลยี่ มจตั รุ ัสโดยการใชว้ งเวียน

กาหนดให้ AB เป็นความยาวของดา้ นส่ีเหล่ียมจตั รุ ัสสร้างเสน้ ต้งั ฉากท่จี ุด A ได้ FA ใชจ้ ุด A
เป็นจุดศนู ยก์ ลาง กางวงเวียนรัศมี AB เขียนส่วนโคง้ ตดั กบั เส้นต้งั ฉาก FA ที่จุด C ที่จุด B และจดุ C
กางวงเวียนรศั มเี ทา่ เดิม เขียนส่วนโคง้ ตดั กนั ท่จี ุด D ลากเส้น CD และ BD จะได้ สี่เหลย่ี มจตั รุ ัสตามตอ้ งการ

4.4 การแบ่งเส้นตรง
วิธีสร้าง
1. กาหนดสร้างเสน้ ตรง AB ใชจ้ ุด A และจุด B เป็นจดุ ศนู ยก์ ลางรศั มเี กิน
2. ลากเส้นตรง CD ตดั เส้นตรง AB ท่จี ุด O และเสน้ ตรง CD จะแบง่ คร่ึงเสน้ ตรง
3. เสน้ ตรง AO จะเทา่ กบั OB

5. ความคล้าย
รูปเรขาคณิตสองรูปเป็นรูปที่คลา้ ยกนั เมื่อรูปเรขาคณิตท้งั สองน้ันมีรูปร่างเหมอื นกนั โดยอาจ

มขี นาดเท่ากนั หรือแตกต่างกนั ก็ได้

ภาพที่ 11 ตวั อยา่ งรูปท่ีมคี วามคลา้ ย

6. การแปลงทางเรขาคณิต 10

การแปลงทางเรขาคณิต เป็นการเปลยี่ นตาแหน่งของรูปเรขาคณิต โดยลกั ษณะและขนาดของรูป

ยงั คงเดิม

6.1 การเลอ่ื นขนาน (Translation or Slide)

การเลอ่ื นขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตทม่ี ีการเล่ือนจดุ ทกุ จุดไปบนระนาบตามแนว

เส้นตรงในทิศทางเดียวกนั และเป็นระยะทางทีเ่ ท่ากนั ตามทกี่ าหนดในการบอกทิศทางและระยะทางของการ

เล่ือนขนานจะใชเ้ วกเตอร์เป็นตวั กาหนดเช่นเวกเตอร์ OP เขียนแทนดว้ ย OP ซ่ึงOP จะมที ิศทางจาก

จุดเริ่มตน้ O ไปยงั จดุ สิ้นสุด P และมขี นาดเท่ากบั ความยาวของ OP ดงั รูป

B B'

CP c'
P'

A A'

OP

ภาพท่ี 12 การเลอื่ นขนาน
จากรูปจะไดว้ า่ AA , BB , CC และ PP จะขนานกบั OP และ AA = BB =CC = PP = OP
6.2 การสะท้อน (Reflection or Flip)

การสะทอ้ นเป็นการเคลอื่ นจดุ ใดๆบนรูปตน้ แบบ (Pre-image) ไปบนภาพที่ไดจ้ ากการแปลง
(image)ผา่ นเส้นสะทอ้ นโดยท่รี ะยะห่างระหว่างจุดใดๆบนรูปตน้ แบบไปยงั เส้นสะทอ้ นจะเทา่ กบั ระยะห่าง
จากจุดน้นั ๆบนภาพที่เกิดจากการสะทอ้ นไปยงั เส้นสะทอ้ น

ภาพที่ 13 การสะทอ้ น
6.3 การหมุน (Rotation or Turn)

การหมุนจะตอ้ งมรี ูปตน้ แบบจุดหมนุ และขนาดของมมุ ทต่ี อ้ งการในรูปน้นั การหมุนเป็นการแปลงที่
จบั คู่จดุ แต่ละจดุ ของรูปตน้ แบบกบั จดุ แต่ละจดุ ของรูปทีไ่ ดจ้ ากการหมนุ โดยท่จี ดุ แตล่ ะจดุ บนรูปตน้ แบบ

เคล่ือนทร่ี อบจุดหมุนดว้ ยขนาดของมมุ ทีก่ าหนดจดุ หมุนจะเป็นจดุ ทีอ่ ยนู่ อกรูปหรือบนรูปกไ็ ดก้ ารหมุนจะ
หมุนทวนเขม็ นาฬกิ าหรือตามเข็มนาฬกิ ากไ็ ดโ้ ดยทวั่ ไปเมื่อไม่ระบไุ วก้ ารหมนุ รูปจะเป็นการหมุนทวนเขม็
นาฬิกา

ภาพที่ 14การหมนุ

11

บทที่ 3
วธิ ีการดาเนินการ

ในการศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์เร่ือง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิตมขี ้นั ตอนการดาเนินงานดงั น้ี
1. ข้นั ตอนการดาเนินการ
2. ปฏทิ นิ การดาเนินงาน
3. วธิ ีดาเนินการออกแบบและจดั ทาช้ินงาน

1. ข้นั ตอนการดาเนนิ การ
1.1จดั ต้งั กลมุ่ โครงงานคณิตศาสตร์ซ่ึงประกอบดว้ ยสมาชิก 3คนมีการประชุมวางแผนเพื่อกาหนด

หัวขอ้ เรื่อง และแบง่ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
1.2สรุปเร่ืองที่จะศกึ ษา ซ่ึงทางกลุ่มไดล้ งความเห็นวา่ ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้ ทม่ี ีปริมาณมากในโรง

อาหารของโรงเรียนบา้ นไผ่ เป็นขยะทส่ี ามารถนามาประดิษฐเ์ ป็นชิ้นงานได้ เพราะมรี ูปแบบท่เี กี่ยวขอ้ งกบั
วชิ าคณิตศาสตร์สามารถสร้างสรรคท์ าใหเ้ กิดชิ้นงานและเพ่มิ มูลค่า อกี ท้งั เป็นการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติลดภาวะโลกร้อนไดอ้ กี ทางหน่ึง

1.3 ปรึกษาครูท่ีปรึกษา ร่วมกนั วเิ คราะห์ วางแผน หาแนวทางในการดาเนินงาน
1.4 ศึกษาการการประดิษฐ์ชิ้นงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้
1.5 กาหนดรูปแบบของการจดั ทาชิ้นงานโดยให้สมาชิกศึกษาคน้ ควา้ จากตารา และสืบคน้ ทาง
อนิ เตอร์เน็ต
1.6 ดาเนินงานออกแบบและประดิษฐช์ ิ้นงาน
1.7 สรุปผลการดาเนินงาน
1.8 ประชุมอภปิ รายปัญหาต่าง ๆ ร่วมกบั ครูทีป่ รึกษาเพ่อื รับฟังความคดิ เห็นและนาไปปรับปรุง
แกไ้ ข
1.9 จดั ทารายงานโครงงานคณิตศาสตร์ฉบบั สมบูรณ์
1.10 นาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ให้นกั เรียนและผสู้ นใจ

2. ปฏทิ ินการดาเนนิ งาน 12
ตารางที่ 1 ปฏิทินการดาเนินงาน
ผ้รู ับผิดชอบ
ที่ รายการ ระยะเวลา คณะผจู้ ดั ทา
คณะผจู้ ดั ทา
1 ศกึ ษาวธิ ีทาโครงงานคณิตศาสตร์ 1-3 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา
คณะผจู้ ดั ทา
2 ประชุม วางแผนการจดั ทาโครงงาน 4 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา
คณะผจู้ ดั ทา
3 คดิ หวั ขอ้ โครงงานคณิตศาสตร์ 5 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา

4 เขยี นเคา้ โครง 8กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา

5 แบ่งหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ 9 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา/
ครูท่ีปรึกษา
6 วางแผนการดาเนินงาน 10 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา

7 ศึกษาความรู้เก่ียวกบั การประดิษฐ์ 11-13 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา
คณะผจู้ ดั ทา
ชิ้นงานจากเศษวสั ดุจากขยะ คณะผจู้ ดั ทา/
ครูท่ปี รึกษา
8 ศึกษาความเชื่อมโยงของการทา 16-17 กรกฎาคม 2562 คณะผจู้ ดั ทา
คณะผจู้ ดั ทา
ช้ินงาน และเน้ือหาคณิตศาสตร์

9 นาเสนอครูทีป่ รึกษา 18กรกฎาคม 2562

10 จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์สาหรับทา 19-20กรกฎาคม 2562
โครงงาน
23-31กรกฎาคม 2562
11 ดาเนินการจดั ทาโครงงาน 1-3 สิงหาคม 2562
12 เขยี นรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ 6-7 สิงหาคม 2562
13 นาเสนอครูท่ีปรึกษา

14 แกไ้ ข ปรับปรุง 8-9 สิงหาคม 2562
15 ส่งรายงานฉบบั สมบูรณ์ 10 สิงหาคม 2562

13

3. วธิ ดี าเนินการออกแบบและประดิษฐ์
3.1) วสั ด-ุ อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการทาช้ืนงานมีดงั น้ี

1. ตะเกียบไม้
2. มดี
3. กรรไกร
4. ปื นกาว
5. กาว
6.กระดาษาสาบาง
7.สเปยส์ ีตา่ งๆ

ภาพท่ี 16วสั ด-ุ อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทาชิ้นงาน
3.2) วิธีการทา

1. นาตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้ มาลา้ งทาความสะอาด และผ่ึงให้แห้ง
2. ออกแบบชิ้นงานในกระดาษ
3. นาตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทง้ิ มาตดั และประดิษฐ์ชิ้นงานตามแบบที่ออกแบบไว้
เช่ือมตอ่ ตะเกียบไมด้ ว้ ยปื นกาว ทาจนเสร็จตามแบบท่ตี อ้ งการ
4. ปลอ่ ยให้กาวแห้งสนิท พน่ สีตามทตี่ อ้ งการ

วธิ ีการประดิษฐ์ช้ืนงาน 14

ภาพท่ี 17 แสดงวธิ ีการประดิษฐฺชิ้นงาน

บทที่ 4 15
ผลการดาเนนิ การ

ผลการดาเนินงาน โครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต คณะผจู้ ดั ทาขอเสนอผล
การศึกษาคน้ ควา้ ตามวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี

1. การศึกษาและประดิษฐช์ ้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง
2. การนาความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาชิ้นงาน
3. การลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน
4. นกั เรียนมีเจตคติท่ดี ีตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์
ในการจดั ทาโครงงานคร้งั น้ี คณะผูจ้ ดั ทาไดน้ าความรู้เร่ือง ความรู้พ้ืนฐานทาง
เรขาคณิตการสร้างทางเรขาคณิต รูปเรขาคณิต ความคลา้ ย และการแปลงทางเรขาคณิต มาประยกุ ตป์ ระดิษฐ์
ช้ินงานประกอบในการเรียนรู้วชิ าคณิตศาสตร์ ทาใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชาคณิตศาสตร์ไดช้ ดั เจน
มากข้นึ และเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิจริง มผี ลการดาเนินการดงั น้ี
1. การศึกษาและประดิษฐ์ช้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้งิ
จากการศกึ ษาการประดิษฐช์ ้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิงพบวา่ การสร้างสรรคผ์ ลงานประดิษฐ์
จากเศษขยะ ประเภทตะเกียบไม้ เป็นวธิ ีหน่ึงที่จะช่วยลดปริมาณขยะและยงั เป็นการนาเศษส่ิงท่ีเป็นขยะมา
ประดิษฐ์เป็นของใชแ้ ทนการทง้ิ ใหส้ ูญเปล่า นามาประดิษฐเ์ ป็น ของประดบั ตกแตง่ และของใชต้ ่างๆ ซี่งคณะ
ผจู้ ดั ทา ไดป้ ระดิษฐ์ช้ินงานไดแ้ ก่ โคมไฟ ของประดบั ตกแตง่ ช้นั วาง กลอ่ งใส่ของ เป็นตน้

ภาพท่ี 22ตวั อยา่ งช้ินงานจากการประดิษฐ์ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง

16

2) การนาความรู้ทางคณติ ศาสตร์มาประยกุ ต์ใช้ในการออกแบบและจัดทาชิ้นงาน
1. จากการศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ เราสามารถใชค้ วามรู้เร่ืองพ้นื ฐานความรู้

ทางเรขคณิตรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิตความคลา้ ยการแปลงทางเรขาคณิตเพ่ือนามาประยกุ ต์
สร้างสรรค์ผลงาน โดยพบว่า ในการทาช้ินงานจะมฐี านรองรบั และในการข้นึ รูปร่างของช้ินงานดงั นี

3) การลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน
จากการดาเนินโดรงงาน ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต คณะผจู้ ดั ทาไดน้ าตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทง้ิ จาก

โรงอาหาร ทบ่ี า้ น และในชุมชน ซ่ึงเป็นขยะ มาทาเป็นช้ินงานทีน่ ่าสนใจ สร้างสรรคผ์ ลงานประดิษฐ์จาก
เศษขยะ จึงเป็นอกี วธิ ีหน่ึงท่ีลดปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชนไดอ้ ีกทางหน่ึง และยงั เป็น
การนาเศษส่ิงท่ีเป็นขยะมาประดิษฐ์เป็นของใช้แทนการทง้ิ ให้สูญเปลา่ นามาประดิษฐเ์ ป็น ของประดบั
ตกแต่ง และของใชต้ ่างๆ อีกท้งั สามารถเพิ่มมูลคา่ ให้กบั ขยะเหล่าน้นั ได้ รวมท้งั สร้างจิตสานึกรักษา
สภาพแวดลอ้ มท่มี อี ยขู่ องตนใหย้ ง่ั ยนื ลดภาวะโลกร้อนในปัจจบุ นั

4)นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อวิชาคณิตศาสตร์และรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
คณะทางานเขา้ ใจและสามารถสร้างสรรคช์ ิ้นงานที่ส่ือสารในเชิงคณิตศาสตร์ไดม้ ากข้ึน

มเี จตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างสรรค์ การแกป้ ัญหาและการ
ใชเ้ หตุผล อกี ท้งั สามารถอธิบายใหเ้ พื่อนนกั เรียนในห้องเรียน ชุมนุม และผสู้ นใจไดเ้ ขา้ ใจถึงการออกแบบ
และประดิษฐ์ชิ้นงานจากตะเกียบไม้ไผ่ใช้แล้วทิ้ง ที่เป็ นขยะมาสร้างชิ้นงานสร้างสรรค์ ทรงคุณค่าใน
ชีวติ ประจาวนั และคณุ ค่าทางดา้ นจิตใจ อกี ท้งั เป็นการรู้จกั การใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์สามารถสร้างเป็น
รายไดไ้ ดด้ ว้ ย

17

บทที่ 5
สรุปผล และข้อเสนอแนะ

สรุปผล

โครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิตเป็นการนาความรู้เก่ียวกบั ออกแบบ
ประดิษฐช์ ิ้นงานรูปทรงต่างๆเขา้ กบั ความรู้ทางคณิตศาสตร์ เพอ่ื ให้เกิดชิ้นงานทางคณะทางานไดน้ าความรู้
ทางคณิตศาสตร์เรื่องพ้ืนฐานทางเรขาคณิต รูปเรขาคณิตความคลา้ ย และการแปลงทางเรขาคณิตมาช่วยใน
การออกแบบและประดิษฐ์ช้ินงาน สามารถออกแบบและประดิษฐ์ช้ินงานจากตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ทงิ้ จากโรง
อาหารโรงเรียนบา้ นไผ่ ทบี่ า้ น และในชุมชน ซ่ึงเป็นขยะ มาทาเป็นชิ้นงานทน่ี ่าสนใจ สร้างสรรค์ผลงาน
ประดิษฐจ์ ากเศษขยะ จึงเป็นอีกวิธีหน่ึงที่ลดปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชนไดอ้ ีกทาง
หน่ึง และยงั เป็นการนาเศษส่ิงทเี่ ป็นขยะมาประดิษฐเ์ ป็นของใชแ้ ทนการทิ้งให้สูญเปล่า นามาประดิษฐเ์ ป็น
ของประดบั ตกแตง่ และของใชต้ า่ งๆ อกี ท้งั สามารถเพ่ิมมลู คา่ ให้กบั ขยะเหลา่ น้นั ได้ รวมท้งั สร้างจิตสานึก
รกั ษาสภาพแวดลอ้ มที่มีอยขู่ องตนให้ยง่ั ยนื ลดภาวะโลกร้อนในปัจจบุ นั คณะทางานเขา้ ใจและสามารถ
สร้างสรรคช์ ้ินงานทสี่ ่ือสารในเชิงคณิตศาสตร์ไดม้ ากข้ึน อกี ท้งั สามารถอธิบายให้เพอ่ื นนกั เรียนในหอ้ งเรียน
ชุมนุม และผสู้ นใจไดเ้ ขา้ ใจถึงการออกแบบและประดิษฐ์ช้ืนงานที่เป็นของใช้ ประดบั ตกแต่ง ซ่ึงเป็น
ช้ินงานสร้างสรรค์ ทรงคุณค่าในชีวิตประจาวนั และคณุ คา่ ทางดา้ นจิตใจ เป็นผลงานที่มคี วามสวยงาม ทาได้
งา่ ย และสามารถทาไดจ้ ริง ส่งผลใหก้ ารดาเนินงานบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี

1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การจกั สาน และสามารถออกแบบประดิษฐช์ ิ้นงานจากตะเกียบไมใ้ ช้
แลว้ ทง้ิ ได้

2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบและจดั ทาชิ้นงานจากตะเกียบไม้
ใชแ้ ลว้ ทง้ิ ได้

3. ร่วมอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ลดปัญหาปริมาณขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน
4. นกั เรียนมเี จตคติท่ีดีต่อวชิ าคณิตศาสตร์และรู้จกั การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์

ข้อเสนอแนะ
1. ควรออกแบบและประดิษฐ์ช้ินงานจากเศษขยะประเภทอ่ืนๆ เช่น ขวดพลาสตกิ เพื่อเป็นอีกทาง

หน่ึงในการช่วยลดปัญหาขยะภายในบริเวณโรงเรียน บา้ น และชุมชน
2. ชิ้นงานที่สร้างสรรคข์ ้นึ สามารถนาไปสร้างเป็นหน่ึงโรงเรียนหน่ึงผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ สร้างรายได้

ตอ่ ไป

18

บรรณานุกรม

ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร. คณติ ศาสตร์กับศิลป์ . เอกสารประกอบ
การเรียนวิชาคณิตศาสตร์

ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบนั . (2544). หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้
พน้ื ฐาน คณติ ศาสตร์ เล่ม 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี2
ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พค์ ร้ังที่ 1.
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบนั . (2544). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้
พ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่3
ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พค์ รุ ุสภา ลาดพร้าว.
สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) โครงงานคณติ ศาสตร์ สานกั พมิ พ์ บริษทั เดอะมาสเตอร์
กรุ๊ป แมนเนจเมน้ ท์ จากดั . ม.ป.ท.
สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) โครงงานชนะการประกวดกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ช่วงช้ันท่ี 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-3. สานกั พมิ พ์ บริษทั พฒั นาคุณภาพวิชาการ(พว.) จากดั .

กรุงเทพมหานคร.2554.
สุวรกาญจนมยรู . โครงงานคณติ ศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษา. พมิ พค์ ร้ังท่ี 4. สานกั พมิ พไ์ ทยวฒั นา

พานิช จากดั . กรุงเทพมหานคร.2555.

https://www.google.co.th/

19

ภาคผนวก

20

สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจทมี่ ตี ่อโครงงานคณิตศาสตร์
เรื่อง ตะเกยี บรูปทรงสวยด้วยคณิต
*******************************

จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม
นกั เรียนจานวน 200 คน

ตารางที่ 3ความพึงพอใจท่มี ีต่อโครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต

ที่ รายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ
5 4 321
1 เขา้ ใจวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 87.5 8.5 2.5 1.0 0.5
2 เป็นโครงงานทม่ี ีความน่าสนใจ 82.5 13.0 4.0 0.5 0
3 เป็นโครงงานทส่ี ่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 91 8 0.5 0.5 0
4 เป็นโครงงานทีม่ คี วามเหมาะสมกบั ระดบั ของผจู้ ดั ทา 90.5 7 1.5 1.0 0
5 เป็นโครงงานทีส่ ื่อความหมายชดั เจน 85.5 8.5 4.0 2.0 0
6 สมาชิกในกลุ่มมีความกระตอื รือร้นรับผิดชอบ 87.0 8.8 3.5 0.5 0.5
7 มีการนาเสนอและเผยแพร่ผลงานแก่ผูส้ นใจ 84 11.5 2.5 1.0 1.0
8 เป็นโครงงานที่มกี ารบูรณาการและประยกุ ตเ์ ขา้ กบั ชีวิตประจาวนั 95 4.0 1.0 0 0
9 เป็นโครงงานทร่ี ่วมอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ลดภาวะโลกร้อน 94.0 4.0 4.0 0 0
10 มคี วามพงึ พอใจตอ่ โครงงานคณิตศาสตร์เร่ือง สานผลิตภณั ฑไ์ มไ้ ผส่ วย 95 3.0 2.0 0 0

ดว้ ยคณิต 89.2 7.8 2.2 0.6 0.2
รวม

จากตารางพบวา่ โดยภาพรวมความพงึ พอใจทมี่ ีต่อโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ตะเกียบรูปทรงสวย
ดว้ ยคณิตอยใู่ นระดบั มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 89.2
เมอื่ พิจารณาเป็นรายขอ้ จดั อนั ดบั ความพงึ พอใจโดยเรียงจากมากไปนอ้ ย 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่
อนั ดบั 1 เป็นโครงงานทมี่ ีการบูรณาการและประยกุ ตเ์ ขา้ กบั ชีวิตประจาวนั และ มีความพึง

พอใจตอ่ โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง ตะเกียบรูปทรงสวยดว้ ยคณิต
อนั ดับ 2 เป็นโครงงานท่ีร่วมอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ลดภาวะโลกร้อน
อันดับ 3 เป็นโครงงานทีส่ ่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

21
ประชุมศึกษา คันคว้า ปรึกษาครูท่ปี รึกษาโครงงานคณติ ศาสตร์

22
เศษขยะ ตะเกียบไมใ้ ชแ้ ลว้ ท้ิง ในบริเวณโงอาหารโรงเรียนบา้ นไผ่

เกบ็ และนามาลา้ งใหส้ ะอาด ผ่ึงตากแดดใหแ้ หง้ ก่อนนามาประดิษฐช์ ิ้นงาน 23

ลงมือออกแบบและประดษิ ฐ์ชิน้ งาน 24

ข้นั ตอนการออกแบบและประดษิ ฐ์โคมไฟแบบต้ังพื้น 25

ข้นั ตอนการออกแบบและประดษิ ฐ์ช้ันวางของ

26

ผลงานที่เกดิ จากการออกแบบและประดิษฐ์โคมไฟแบบต่างๆ 27

ผลงานที่เกดิ จากการออกแบบและประดิษฐ์ตะเกียบไม้ใช้แล้วทงิ้ เป็ นของใช้ ของประดับตกแต่ง 28

สมาชิกโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ตะเกยี บรูปทรงสวยด้วยคณิต
เดก็ หญงิ กาติมา บญุ นิยมเดก็ ชายนราธร ชนะการีเด็กหญงิ ทพิ าพร ก้อนคา