คําสั่งที่ใช้ในภาษาสําหรับการควบคุมข้อมูล

คําสั่งที่ใช้ในภาษาสําหรับการควบคุมข้อมูล
 
คําสั่งที่ใช้ในภาษาสําหรับการควบคุมข้อมูล
 &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="782" align="center" valign="top" bgcolor="#FFFFFF"&gt;&lt;p class="po" style="font-size:12px;color:#FFF"&gt;ห&lt;/p&gt; &lt;p class="po"&gt;ภาษามาตรฐานบนระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์&lt;/p&gt; &lt;table width="500" border="0" align="left" cellpadding="0" cellspacing="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="54"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/graphicloads-100-flat-2-arrow-next-3.ico" alt="" width="40" height="40"&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="446" class="iu" style="font-size:28px"&gt;&lt;span class="iu1" style="font-size:28px"&gt;คำสั่ง SQL&lt;/span&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;table width="700" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;p class="iu"&gt;1.ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;ภาษา SQL เป็นภาษาที่ใช้งานได้ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลพีซีไปจนถึงระดับเมนเฟรม ประเภทของคำสั่งในภาษา SQL (The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;1) ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกำหนดดัชนี การกำหนดวิวหรือตารางเสมือนของผู้ใช้ เป็นต้น&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2) ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;3) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL) : ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการกำหนดสิทธิของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2. ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;ในภาษา SQL การบรรจุข้อมูลลงในคอลัมน์ต่าง ๆ ของตารางจะต้องกำหนดชนิดของข้อมูล (data type) ให้แต่ละคอลัมน์ ชนิดของข้อมูลนี้จะแสดงชนิดของค่าที่อยู่ในคอลัมน์ ค่าทุกค่าในคอลัมน์ที่กำหนดจะต้องเป็นชนิดเดียวกัน เช่น ในตารางลูกค้าคอลัมน์ที่เป็นรายชื่อลูกค้า จะต้องเป็นตัวหนังสือ ในขณะที่คอลัมน์จำนวนเงินที่ลูกค้าซื้อสินค้าเป็นตัวเลข&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;ชนิดของข้อมูลของแต่ละคอลัมน์จะขึ้นกับลักษณะของข้อมูลแต่ละคอลัมน์ ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษา SQL ดังนี้&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2.1 ตัวหนังสือ(character) ในภาษา SQL จะใช้&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– ตัวหนังสือแบบความยาวคงที่(fixed-length character) จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;char (n)&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;หรือ&amp;nbsp;&lt;strong&gt;character(n)&amp;nbsp;&lt;/strong&gt;แทนประเภทของข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลคงที่โดยมีความยาว n ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวที่คงที่ตามที่กำหนดไว้ ชนิดของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 255 ตัวอักษร&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– ตัวหนังสือแบบความยาวไม่คงที่(variable-length character) จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;varchar (n)&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;แทนประเภทของข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลไม่คงที่ โดยมีความยาว n ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวของข้อมูล ชนิดของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 4000 ตัวอักษร&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2.2 จำนวนเลข( numeric)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– จำนวนเลขที่มีจุดทศนิยม(decimal) ในภาษา SQL จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;dec(m,n)&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;หรือ&amp;nbsp;&lt;strong&gt;decimal(m,n)&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;เป็นประเภทข้อมูลที่เป็นจำนวนเลขที่มีจุดทศนิยมโดย m คือจำนวนตัวเลขทั้งหมด (รวมจุดทศนิยม) และ n คือจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– จำนวนเลขที่ไม่มีจุดทศนิยมในภาษา SQL จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;int&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;หรือ&amp;nbsp;&lt;strong&gt;integer&amp;nbsp;&lt;/strong&gt;เป็นเลขจำนวนเต็มบวกหรือลบขนาดใหญ่ เป็นตัวเลข 10 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ –2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 และในภาษา SQL จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;smallint&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;เป็นประเภทข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็มบวกหรือลบขนาดเล็ก เป็นตัวเลข 5 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ – 32,768 ถึง + 32,767 ตัวเลขจำนวนเต็มประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่น้อยกว่าแบบ integer&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– เลขจำนวนจริง ในภาษา SQL อาจใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;number(n)&lt;/strong&gt;แทนจำนวนเลขที่ไม่มีจุดทศนิยมและจำนวนเลขที่มีจุดทศนิยม&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2.3 ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– วันที่และเวลา(Date/Time) เป็นชนิดวันที่หรือเวลาในภาษา SQL จะใช้&amp;nbsp;&lt;strong&gt;date&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;เป็นข้อมูลวันที่ ซึ่งจะมีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ เช่น yyyy-mm-dd (1999-10-31)&amp;nbsp;dd.mm.yyyy(31. 10.1999) หรือ dd/mm/yyyy (31/10/1999)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;3. ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;ภาษา SQL เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ DBMS มักพบใน DBMS เชิงสัมพันธ์หลายตัวและเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ภาษา SQL ง่ายต่อการเรียนรู้ การใช้งานในภาษา SQLแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้ (interactive SQL)&amp;nbsp; และภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม (embedded SQL)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;&lt;strong&gt;3.1 ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูลโดยตรง เป็นการใช้คำสั่งภาษา SQLสั่งงานบนจอภาพ โดยเรียกดูข้อมูลได้โดยตรงในขณะที่ทำงาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ได้ ตัวอย่างเช่น ต้องการเรียกดูข้อมูลในคอลัมน์ SALENAME และ SALECOM จากตาราง SALESTAB จะใช้คำสั่งของภาษา SQL&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;&lt;strong&gt;3.2 ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;เป็นภาษา SQL ที่ประกอบด้วยคำสั่งต่าง ๆ ของ ภาษา SQL ที่ใส่ไว้ในโปรแกรมที่ส่วนมากแล้วเขียนด้วยภาษาอื่น เช่น โคบอล ปาสคาล ภาษาซี ลักษณะของคำสั่ง SQL จะแตกต่างจากภาษาอื่นๆ ในแง่ที่ว่า SQL ไม่มีคำสั่งที่เกี่ยวกับการควบคุม(control statement)เหมือนภาษาอื่น เช่น if..then…else for…do หรือ loop หรือ while ทำให้มีข้อจำกัดในการเขียนชุดคำสั่งงาน การใช้ภาษา SQL ฝังในโปรแกรมอื่นจะทำให้ภาษา SQL มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ของคำสั่งที่เกิดจากภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรมจะถูกส่งผ่านไปให้กับตัวแปรหรือพารามิเตอร์ที่ใช้ โดยโปรแกรมที่ภาษา SQL ไปฝังตัวอยู่&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;คำสั่งในภาษา SQL (The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– คำสั่งภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– คำสั่งภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;– คำสั่งภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;1. ตารางข้อมูล&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;สำหรับภาษา SQL เป็นภาษาที่ใช้สำหรับฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ คือประกอบด้วยตารางและในตารางหนึ่งๆมี 2 มิติได้แก่ แถว (rows) ในแนวนอน และคอลัมน์(columns) ในแนวตั้ง ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;2. การสร้างตาราง&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;การสร้างตารางในภาษา SQL จะใช้คำสร้าง&amp;nbsp;&lt;strong&gt;CREATE TABLE&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;ซึ่งเป็นคำสั่งที่ใช้ในการสร้างตารางขึ้นมาใหม่ คำสั่ง&amp;nbsp;&lt;strong&gt;CREATE TABLE&lt;/strong&gt;&amp;nbsp;จะกำหนดชื่อตารางและกำหนดลักษณะข้อมูลเป็นคอลัมน์ต่างๆที่ตั้งขึ้นในตารางรวมไปถึงชนิดของข้อมูลของแต่ละคอลัมน์นั้น ในโครงสร้างของคำสั่งการสร้างตารางมีรูปแบบไวยากรณ์ดังต่อไปนี้&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;&lt;strong&gt;CREATE TABLE&lt;/strong&gt;&amp;lt;table name&amp;gt;&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;(&amp;lt;column name&amp;gt;&amp;lt; &amp;gt;[&amp;lt;size&amp;gt;][[ constraint &amp;lt;constraint_name&amp;gt;]constraint_type]&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;[,&amp;lt;column name&amp;gt;data type&amp;gt;[&amp;lt;size&amp;gt;],………]);&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;CREATE TABLE เป็นคำสั่งที่ต้องมีทุกครั้งที่ต้องการสร้างตาราง&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;table name&lt;strong&gt;&amp;nbsp;&lt;/strong&gt;ชื่อตารางที่ต้องการสร้าง&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;column name ชื่อของคอลัมน์แต่ละคอลัมน์&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;data type ชนิดข้อมูลของคอลัมน์นั้นๆ&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;constraint ข้อกำหนดของคอลัมน์&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;constraint_name ชื่อของข้อกำหนดที่ต้องการสร้างให้กับคอลัมน์&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;constraint_type ประเภทของข้อกำหนด&lt;/p&gt; &lt;p class="iu"&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;table width="700" border="0" align="center" cellpadding="0" cellspacing="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="left" valign="top"&gt;&lt;table border="0" cellpadding="5" cellspacing="0" width="100%"&gt; &lt;tbody&gt; &lt;tr valign="top"&gt; &lt;td align="right"&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/tbody&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;table width="500" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="134"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/6-1.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/back-icon1.png" width="86" height="102"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="138" align="right"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/6.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/Line3.gif" width="352" height="90"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="228" align="right"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://202.29.239.50/temp/2560/class/7.php"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/next.png" width="80" height="101" border="0"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="200" valign="top" bgcolor="#BDE7E7"&gt;&lt;table width="201" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="201"&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/m5.png" width="200" height="250"&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;img src="http://202.29.239.50/temp/2560/class/pi/m6.png" width="200" height="250"&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;iframe marginwidth="0" marginheight="0" src="http://www.pttplc.com/th/GetOilPrice.aspx" frameborder="0" width="173" scrolling="no" height="305"&gt;&lt;/iframe&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;map name="Map" id="Map"&gt; &lt;area shape="rect" coords="4,3,225,40" href="1.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="6,41,212,72" href="2.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,75,208,145" href="3.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,148,172,180" href="4.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="8,181,198,221" href="5.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,223,193,283" href="6.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="8,284,196,322" href="7.php"&gt; &lt;area shape="rect" coords="7,323,198,387" href="8.php"&gt; &lt;/map&gt; &lt;/body&gt; &lt;/html&gt;</td></tr></table></td></tr></table></body></html>