ไทยได้รับการยกเลิกสนธิสัญญาที่เสียเปรียบอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.ใด

สนธิสัญญาไทย-สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2463 เป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ฟื้นฟูเอกราชทางการศาลและศุลกากรของไทย โดยมีเนื้อหายกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และให้สิทธิไทยในการกำหนดภาษีศุลกากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ได้เอง มีการลงนามเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2463 สนธิสัญญาดังกล่าวมีอายุ 10 ปี

หลังการเจรจาสันติภาพที่พระราชวังแวร์ซายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รัฐบาลสยามได้แต่งตั้งเอลดอน เจมส์ ชาวอเมริกัน เป็นผู้แทนเจรจากับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา หลังจากที่ได้รับการเสนอให้ติดต่อผ่านทางอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน เพื่อขอแก้ไขสนธิสัญญาอันไม่เป็นธรรม (ดู สนธิสัญญาเบาว์ริง) ในด้านอัตราภาษีศุลกากรและสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

สนธิสัญญาดังกล่าวมีสาระสำคัญ คือ

1.            ยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของชาวอเมริกันในประเทศสยาม แต่กงสุลอเมริกันยังมีสิทธิ์นำคดีไปพิจารณาเอง ยกเว้นคดีในศาลฎีกา และเมื่อสยามประกาศใช้ประมวลกฎหมายสมัยใหม่แล้ว 5 ปี

2.            รัฐบาลสยามมีสิทธิ์เต็มที่ในการเก็บภาษีศุลกากรและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ โดยต้องเก็บสหรัฐอเมริกาในอัตราที่เท่ากับที่เก็บจากประเทศอื่น

หลังจากนั้น สยามได้มีการเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญากับประเทศอื่นตามลำดับ ได้แก่ ญี่ปุ่น (พ.ศ. 2466) ฝรั่งเศส (พ.ศ. 2467) และอังกฤษ (พ.ศ. 2468) ตลอดจนอีก 7 ประเทศทวีปยุโรปภายใน พ.ศ. 2470

สำหรับการเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญากับฝรั่งเศส พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งให้ฟรานซิส บี. แซร์ เป็นผู้แทนรัฐบาล มีอำนาจเจรจาต่อรองกับรัฐบาลประเทศต่าง ๆ เป็นผู้เจรจา โดยฝรั่งเศสขอสิทธิในการจัดตั้งศาลในสยามขึ้นพิจารณาคดีจนกว่าจะบังคับใช้ ประมวลกฎหมายสมัยใหม่ และอังกฤษให้สยามเรียกเก็บภาษีศุลกากรฝ้าย เหล็ก และเหล็กกล้าในอัตราไม่เกินร้อละ 5 เป็นเวลา 10 ปี

สนธิสัญญาเบอร์นี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สำเนาสนธิสัญญาเบอร์นี

ประเภท

สนธิสัญญาทางพระราชไมตรี
สนธิสัญญาทางการค้า

สนธิสัญญาเบอร์นี (อังกฤษ: Burney Treaty) คือ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรก ที่ไทยได้ทำกับประเทศตะวันตกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเฮนรี เบอร์นี ได้เป็นทูตอังกฤษเดินทางเข้ามายังประเทศไทย พ.ศ. 2368 เพื่อเจรจาปัญหาทางการเมืองและการค้ากับไทย ในด้านการค้า รัฐบาลอังกฤษมีความประสงค์ที่จะขอเปิดสัมพันธไมตรีทางการค้ากับไทย และขอความสะดวกในการในการค้าได้โดยเสรี การเจรจาได้เป็นผลสำเร็จเมื่อวันที่ 20 มิถุนายนพ.ศ. 2369 และมีการลงนามในสนธิสัญญากัน

สนธิสัญญาเบอร์นี ประกอบไปด้วยสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีรวม 14 ข้อ และมีสนธิสัญญาทางการพาณิชย์แยกออกมาอีกฉบับหนึ่งรวม 6 ข้อ ที่เกี่ยวกับการค้า ได้แก่ ข้อ 5 ให้สิทธิพ่อค้าทั้งสองฝ่ายค้าขายตามเมืองต่าง ๆ ของอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างเสรีตามกฎหมาย ข้อ 6 ให้พ่อค้าทั้งสองฝ่ายเสียค่าธรรมเนียมของอีกฝ่าย และข้อ 7 ให้สิทธิแก่พ่อค้าจะขอตั้งห้าง เรือนและเช่าที่โรงเรือนเก็บสินค้าในประเทศอีกฝ่ายหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของกรมการเมือง

หลังจากบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษตั้งอาณานิคมขึ้นบนเกาะปีนัง ใน พ.ศ. 2329 แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษก็เริ่มมีการเมืองเข้ามาแทรก และเป็นที่คาดว่าอังกฤษต้องการขยายอิทธิพลเข้าครอบครองคาบสมุทรมลายูต่อ ไป ต่อมา ในปี พ.ศ. 2364 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ยกทัพมาตีเมืองไทรบุรี ซึ่งเจ้าเมืองคนเก่าได้ยกปีนังให้อังกฤษ สุลต่านไทรบุรีก็ทิ้งเมืองหนีไปยังเกาะปีนัง ทหารไทยไล่ติดตามไปก็ถอยกลับ เนื่องจากไม่ต้องการรบกับอังกฤษ[3] ยอน ครอเฟิดเข้ามาเจรจากับไทยทั้งในด้านการค้าและขอให้สุลต่านไทรบุรีกลับไปครองเมืองอย่างเดิมก็ไม่ประสบผลแต่อย่างใด

สาเหตุที่ไทยกับอังกฤษกลับมาเจรจากันอีกครั้งมีหลายสาเหตุด้วยกัน อธิบายได้ว่า การที่ไทยได้ไทรบุรีอยู่ในปกครองนั้น ทำให้เประและ สลังงอของอังกฤษเสี่ยงต่อการถูกยึดครอง อังกฤษต้องการให้ไทยถอนตัวจากไทรบุรี และให้สุลต่านกลับไปปกครองดังเดิม ครั้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2367 รอเบิร์ต ฟุลเลอตันได้เป็นเจ้าเมืองปีนังคนใหม่ ต้องการขับไล่ไทยจากไทรบุรี ก็ขอให้รัฐบาลอินเดียส่งทูตมาบังคับไทยไม่ให้แผ่อิทธิพลในคาบสมุทรมลายู ด้านการสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งแรก การรบไม่คืบหน้าเท่าที่ควร อังกฤษต้องการให้ไทยช่วยรบ นอกจากนี้ รัฐบาลอินเดียได้รับคำฟ้องจากพ่อค้าอังกฤษว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการค้า ขายกับไทย จึงเป็นสาเหตุให้รัฐบาลอินเดียส่งเฮนรี เบอร์นีมาเป็นทูตเจรจากับไทย[4]

ไทยได้การยกเลิกสนธิสัญญาที่เสียเปรียบอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.ใด

ในปี พ.. 2477 ไทยได้จัดทำประมวลกฎหมายสำเร็จ และประกาศใช้อย่างสมบูรณ์ในปี 2478 นับต่อไปอีก 5 ปี คือราวปี 2480 รัฐบาลไทยได้เจรจาขอความร่วมมือในการยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ทำให้ไทยได้รับเอกราชทางการศาลกลับคืนมา นับรวมอายุของสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่มีอิทธิพลต่อไทยนับเป็นเวลากว่า 80 ปี ตั้งแต่ .. 2398 - 2480.

สนธิสัญญาฉบับใดที่มีผลทําให้ประเทศไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

สนธิสัญญาไทย-สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2463 เป็นข้อตกลงทวิภาคีฉบับแรกที่มีผลฟื้นฟูเอกราชทางการศาลและการศุลกากรของที่ไทยเคยสูญเสียไปก่อนหน้านั้น โดยสนธิสัญญาดังกล่าวมีเนื้อหายกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และให้สิทธิไทยในการกำหนดภาษีศุลกากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ได้เอง มีการลงนามเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2463 สนธิสัญญาดังกล่าว ...

ไทยเริ่มเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสมัยใด

สิทธิสภาพนอกอาณาเขต เป็นการเสียอธิปไตยทางศาล ซึ่งไทยตกอยู่ในภาวะจำยอมมาตั้งแต่การทำสนธิสัญญาเบาว์ริง ในสมัยรัชกาลที่ 3 และสนธิสัญญาเบอร์นี ในสมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 6 จึงได้ ดร.ฟรานซิส บี. แซย์ ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศ ชาวอเมริกัน ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยาณไมตรี ช่วยดำเนินการแก้ไข จน ...

สนธิสัญญาเบาว์ริงเป็นสนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบในด้านใดบ้าง

ตามสนธิสัญญาเบาว์ริง ไทยได้รับเงื่อนไขให้เก็บภาษีขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3 เท่านั้น ซึ่งยังเสียเปรียบกว่าจีนและญี่ปุ่นที่ถูกบังคับให้เก็บภาษีขาเข้าร้อยละ 5 โดยตามหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีระหว่างอังกฤษกับญี่ปุ่น พ.ศ. 2400 อังกฤษยังยอมให้สินค้าบางชนิดเก็บอัตราภาษีขาเข้าสูงกว่าร้อยละ 5 โดยบางชนิดสูงถึงร้อยละ 35 ก็มี ส่วน ...

ไทยได้การยกเลิกสนธิสัญญาที่เสียเปรียบอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.ใด สนธิสัญญาฉบับใดที่มีผลทําให้ประเทศไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ไทยเริ่มเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสมัยใด สนธิสัญญาเบาว์ริงเป็นสนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบในด้านใดบ้าง สนธิสัญญาที่ไทย เสียเปรียบ การแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 6 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ไทยเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญากับประเทศใดเป็นประเทศแรก ทูตอังกฤษคนใดที่เจรจาลงนามใน สนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบ ยกเลิกสนธิสัญญาเบาว์ริง สมัยใด การยกเลิกสนธิสัญญาเบาว์ริง การแก้ไขสนธิสัญญาเสียเปรียบ สนธิสัญญาเบาว์ริงส่งผลดีต่อประเทศไทยในด้านใด มากที่สุด