ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

          

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
 
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

   การวาดภาพทัศนียภาพ เป็นการวาดภาพแบบเหมือนจริง แสดงระยะใกล้ไกล แบบสามมิติ ดังภาพตัวอย่างข้างบน ถนนและต้นไม้ที่อยู่ใกล้จะมีขนาดเท่าจริง แต่ไกลออกไปจะมีขนาดเล็กลง ตามลำดับจนไปรวมกันที่เส้นขอบฟ้า วิธีนี้ช่วยให้วาดภาพทิวทัศน์ ให้ดูเหมือนจริงมาก และนำไปใช้วาดภาพแสดงภาพงานออกแบบตกแต่งทั้งภายในและภายนอก

Perspective คือ ทัศนียภาพ (ทัศน์+ภาพ = ภาพที่ใช้ตามอง) หรือภาพที่มีการนำด้วยจุดสายตานั่นเอง แบบได้ดังนี้

เริ่มกันที่ perspective 1 point
วิธีการเขียน

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

1. เตรียมเส้นระดับสายตา (Holizon Line) กันก่อน เส้นระดับสายตา หรือเส้น HL. เป็นเส้นกำหนดความสูงของจุดสายตา (vanishing Point) หรือ VP.ฃ

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

2. ให้วาดกล่องสี่เหลี่ยมมุมฉากไว้ทางด้านขวา ขอย้ำว่า ให้สังเกตให้ได้เป็นสี่เหลี่ยมมุมฉากนะคะ อย่าเบี้ยวไปเบี้ยวมา จะทำให้ภาพออกมาไม่สมประกอบ

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

3. ค่อยๆ เขียนเส้นร่างด้วยความนุ่มนวล เบาๆ เอาพอให้เห็น จากมุมกล่องไปยังจุด VP. ที่กำหนดไว้ จนครบทั้ง 4 มุมของกล่อง

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

4.ให้กำหนดความลึก(สังเกตเส้นด้านหลังเส้นสีน้ำเงิน)
** กล่องทางด้านซ้าย ถูกต้อง สวยงาม
** กล่องทางด้านขวา บิดเบี้ยว ผิดสเป็ก

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

5. ภาพที่ลบภาพร่างออกไปแล้ว

การวาดเส้นในงานออกแบบทัศนียภาพ 

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

หลักการของภาพทัศนียภาพ
 เป็นภาพที่ให้ความรู้สึกเป็น 3 มิติ คือ มีลักษณะของความเหมือนใกล้เคียงกับภาพที่คนเราเห็นภาพต่าง ๆ โดยทั่วไป เช่น ถ้าไปยืนอยู่กลางถนน แล้วมองไปไกลข้างหน้า เราจะเห็นถนนจะค่อยเล็กลง เสาไฟฟ้าก็สั้นเล็กลง ถ้ามีต้นไม้เป็นทิวข้างทางก็จะ เตี้ยลง แล้วก็จะวิ่งไปรวมกันที่จุดสุดสายตา หรือถ้าใครอยู่ใกล้เส้นทางรถไฟก็จะเห็นได้ชัดเจน รางรถไฟจะไปรวมกันที่จุดจุดเดียว ไม้หมอนที่นอนขวางรับรางเหล็กก็จะสั้นเข้า และรวมกันที่ จุดรวมสายตา ซึ่งพอจะสรุปลักษณะของภาพ PERSPECTIVE ได้ดังนี้
1. วัตถุ หรือสิ่งของที่มีขนาดเท่ากันเมื่อยู่ไกลตัวออกไปจะมีขนาดเล็กลง
2. ระยะที่เท่ากันเมื่ออยู่ไกลตัวออกไปจะมีระยะที่ถี่ขึ้นเรื่อย ๆ จนรวมเป็นจุดเดียวกัน
3. เส้น หรือสิ่งของที่คู่ขนานกันเมื่อไกลออกไปจะพุ่งเข้าหากัน
4. วัตถุ หรือสิ่งของต่าง ๆ เมื่ออยู่ไกลตัวออกไป จะมีรายละเอียดและความชัดเจนลดลงไปตามลำดับ

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงโครงสร้างของภาพที่ประกอบด้วยเส้นระดับสายตา (Horizon Line) และจุดรวมสายตา (Vanishing

point) แสดงให้เห็นถึงการไปรวมของจุดรวมสายตา ถ้าไปยืนอยู่กลางรางรถไฟมองไกลออกไป

เส้นของรางรถไฟที่ขนานกันจะเล็กลงและไปรวมอยู่เป็นจุดเดียว)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงโครงสร้างของการมองของภาพในตำแหน่งที่ไม่ใช่อยู่ตำแหน่งกลางของภาพที่มอง
แสดงให้เห็นตำแหน่งการมองด้านข้างของรางรถไฟ จะเห็นว่าในความเป็นจริงของทุกอย่างที่มีขนาดเท่ากันก็จะไปรวมอยู่จุดเดียวกัน)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

หลักการของการวาดภาพ PERSPECTIVE
หลักการพื้นฐานของภาพ PERSPECTIVE จะประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก 2 ส่วนที่สำคัญ ที่กำหนดในการลากเส้น คือ

     1. เส้นระดับสายตา หรือที่เรียกว่า Horizon Line ใช้ตัวย่อ HL เป็นเส้นระดับแนวนอน หรือแนวระดับน้ำ จะขึ้น-ลง สูง-ต่ำ อยู่ในระดับสายตา ซึ่งจะเป็นเส้นที่สำคัญในการกำหนดของการมองวัตถุหรือ สิ่งก่อสร้างทั้งหมด
     2. จุดรวมสายตาหรือเรียกว่า Vanishing point ใช้ตัวย่อ VP จะเป็นจุดรวมสายตาที่อยู่ในเส้นระดับสายตา เป็นตำแหน่งที่ลากเส้นสิ่งของต่างๆ ไปรวมกัน มีตั้งแต่ 1จุดขึ้นไป แล้วแต่ตำแหน่งของวัตถุที่จัดวาง หรือ ต้องการวาดให้มีความหลากหลายซับซ้อน

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงภาพ PERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 1 จุด)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงโครงสร้างมุมมองของภาพ PERSPECTIVE ที่อยู่ในระดับสายตา VP 1 จุด)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงภาพ PERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด อยู่ในลักษณะของการมองจากล่างขึ้นบน)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

(แสดงภาพ PERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด อยู่ในลักษณะของการมองจากบนลงล่าง)

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

          ภาพ PERSPECTIVE ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด จะให้ความรู้สึกของสิ่งก่อสร้าง สูงชะรูด หรือ ต่ำลึก ลงไป ใช้กับงานเขียนภาพในงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นส่วนใหญ่ จุดรวมสายตาที่ 3 ตำแหน่งจะอยู่ในแกนของแนวดิ่ง จะต่ำ หรือ สูงกว่าเส้นระดับสายตาก็ได้
สรุป
ภาพ PERSPECTIVE เป็นภาพ 2 มิติ ที่ให้ความรู้สึกเป็น 3 มิติ หรือภาพเหมือนจริงมีความตื้นลึก ใกล้ ไกล มีหลักเกณฑ์ในการวาดเส้น มีการกำหนดจุดรวมสายตา ตั้งแต่ 1 จุดขึ้นไป การจัดมุมมองแบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ มองจากระดับสูงลงมาต่ำ เรียกว่า RYESVIEW ตำแหน่งมุมมองปกติคืนสภาพของคนที่ยืนมองทั่วไป เรียกว่า NORMAL EYES VIEW ตำแหน่งมองจากที่ต่ำ ขึ้นไปสูงเป็นการแหงนหน้า มองขึ้นไปเรียกว่า WORM EYES VIEW การนำมาใช้งานมีทั้งวาดเส้น และ ทัศนียภาพ งานออกแบบเพื่อการเสนอผลงานทางสถาปัตยกรรม งานออกแบบตกแต่งภายใน การจัดองค์ประกอบของภาพ จะนำรูปแบบของ Foreground, Middle ground และ Background มาใช้ร่วม เพื่อให้ผลงานเป็นที่น่าสนใจ ดึงดูดความสนใจและภาพวาดเส้นที่สวยงามสมบูรณ์

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา
ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา

ถ้าวาดภาพต่ำกว่าเส้นระดับตา