วิชา จิตวิทยา สำหรับครูมีความ จำเป็น ต่อการ ประกอบ วิชาชีพ ครู อย่างไร

ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู

Show

วิชา จิตวิทยา สำหรับครูมีความ จำเป็น ต่อการ ประกอบ วิชาชีพ ครู อย่างไร

วิชาจิตวิทยาการศึกษาสามารถช่วยครูได้ในเรื่องต่อไปนี้

๑.  ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของนักเรียนที่ครูต้องสอน

๒.  ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน

๓.  ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล

๔.  ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย

๕.  ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่าง ๆ

๖.  ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน

๗.  ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้

๘.  ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีกานที่มีประสิทธิภาพ

๙.  ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดี ไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาอย่างเดียว

๑๐.  ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน

อ้างอิงจาก:นางสาว สุดารัตน์ เป้ทุ่ง

SRU HiPerC

    โครงสร้างหัวข้อ

    • General
    • บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาสำหรับครู

      บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาสำหรับครู

      ความหมายและความเป็นมาของจิตวิทยาสำหรับครู/จุดมุ่งหมายในการศึกษาจิตวิทยาสำหรับครู/ความสำคัญของจิตวิทยาที่มีต่อการประกอบวิชาชีพครู/กระบวนการวิจัยที่นำมาใช้ในการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียน

    • บทที่ 2 ทฤษฎีพัฒนาการของมนุษย์

      บทที่ 2 ทฤษฎีพัฒนาการของมนุษย์

      ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของ Freud/ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพเชิงสังคมของ Erikson/ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget/

      ทฤษฎีการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlberg

    • บทที่ 3 พัฒนาการของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย

      บทที่ 3 พัฒนาการของผู้เรียนแต่ละช่วงวัย

      พัฒนาการของผู้เรียนในระดับชั้นปฐมวัย/พัฒนาการของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษา /พัฒนาการของผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา  

    • โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 1)

      โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 1)

      สังเกตและบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียนในชั้นเรียนจริงเพื่อค้นหากรณีศึกษารายกลุ่ม/สัมภาษณ์ครูผู้สอนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เรียนเพื่อรวบรวมข้อมูลกรณีศึกษา/บันทึกลงในสมุดบันทึกกิจกรรม “โครงการเปิดประตูสู่ผู้เรียน”


      • บทที่ 4 ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้

        บทที่ 4 ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้

        ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล/ความแตกต่างของผู้เรียนในมิติต่างๆ เช่น เพศ ศาสนา ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นต้น

        /การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนบริบทของความแตกต่าง

        • บทที่ 5 จิตวิทยาเด็กพิเศษ

          บทที่ 5 จิตวิทยาเด็กพิเศษ

          ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ/สภาพการณ์ปัจจุบันของเด็กที่มีความต้องการพิเศษในโรงเรียน/กระบวนการคัดกรองเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภท/การดูแลช่วยเหลือและพัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ/การศึกษาแบบเรียนรวม/สื่อและอุปกรณ์สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 

          • โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 2)

            โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 2)

            สังเกตและบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียนในชั้นเรียนจริงเพื่อค้นหากรณีศึกษารายกลุ่ม/สัมภาษณ์ครูผู้สอนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เรียนเพื่อรวบรวมข้อมูลกรณีศึกษา และบันทึกลงในสมุดบันทึกกิจกรรม “โครงการเปิดประตูสู่ผู้เรียน”

            • บทที่ 6 แรงจูงใจในการเรียนรู้

              บทที่ 6 แรงจูงใจในการเรียนรู้

              ความหมายและประเภทของแรงจูงใจ/ความสำคัญของแรงจูงใจต่อการเรียนรู้/ทฤษฎีแรงจูงใจ/แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการเรียนและการดำเนินชีวิต 

              • บทที่ 7 ทฤษฎีการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้

                บทที่ 7 ทฤษฎีการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้

                ความหมายของการเรียนรู้/องค์ประกอบของการเรียนรู้/ทฤษฎีการเรียนรู้/การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้  

                • บทที่ 8 จิตวิทยาการบริหารและการจัดการชั้นเรียน

                  บทที่ 8 จิตวิทยาการบริหารและการจัดการชั้นเรียน

                  แนวทางการใช้เวลาในการเรียนรู้/วิธีการจัดการกับผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์/การสร้างบรรยากาศของห้องเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้

                  /การใช้หลักการทางสังคมสู่การจัดการชั้นเรียน

                  • บทที่ 9 การแนะแนวและการให้คำปรึกษา

                    บทที่ 9 การแนะแนวและการให้คำปรึกษา

                    ความหมายและความสำคัญของการแนะแนว/ประเภทของงานแนะแนว/บริการแนะแนว 5 บริการ/ระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในโรงเรียน


                    • แนวทางการปรับพฤติกรรมของ “กรณีศึกษา”

                      แนวทางการปรับพฤติกรรมของ “กรณีศึกษา”

                      การบรรยายแบบมีส่วนร่วมถึงหลักการปรับพฤติกรรม/ออกแบบแนวทางการปรับพฤติกรรมหรือการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนจากกรณีศึกษาในโครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน/การนำเสนอและอภิปรายแนวทางการปรับพฤติกรรม


                      • โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 3)

                        โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 3)

                        นำแนวทางที่พัฒนาไปนำเสนอผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องที่สถานศึกษาเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะและนำไปปรับปรุง พร้อมทั้งสรุปผลการศึกษา


                        • โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 4)

                          โครงการ “เปิดประตูสู่ผู้เรียน” (ครั้งที่ 4)

                          นำเสนอผลการศึกษาพฤติกรรมผู้เรียนจากบริบทจริง ในรูปแบบของการนำเสนอด้วยวาจา (Oral Presentation)