นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

December 3, 2016 CPU, Endpoint Security, IT Knowledge, IT Researches, Security, Server and Storage

สองทีมนักวิจัยจาก Binghamton University และ University of California-Riverside กำลังออกแบบชิป CPU แบบใหม่ที่ช่วยเพิ่มความมั่นคงปลอดภัยให้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ในระดับฮาร์ดแวร์ โดยตั้งชื่อโปรเจ็คท์นี้ว่า “Practical Hardware-Assisted Always-On Malware Detection” ซึ่งได้รับเงินสนับสนุนจาก National Science Foundation เป็นจำนวนมากถึง $275,000 (ประมาณ 10 ล้านบาท)

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์
Credit: ShutterStock.com

แนวคิดของงานวิจัยนี้คือ การปรับแต่งชิป CPU โดยเพิ่ม Logic พิเศษบางอย่างลงไปเพื่อช่วยให้สามารถตรวจจับสิ่งผิดปกติของ Process ที่กำลังรันอยู่ได้ เมื่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ถูกค้นพบ CPU สามารถแจ้งเตือนไปยังซอฟต์แวร์ความมั่นคงปลอดภัยพื้นฐานให้สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทันที

อย่างไรก็ตาม นักวิจัยตั้งข้อสงสัยว่า การเปลี่ยนแปลง CPU นี้อาจจะกลายเป็นการดักจับภัยคุกคามทั้งหมด แต่พวกเขาก็มองโปรเจ็คท์นี้ว่าเป็นการเพิ่มเกราะป้องกันระบบคอมพิวเตอร์อีกชั้นหนึ่ง ไม่ใช่ระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่ทำงานโดดเดี่ยวอย่างสมบูรณ์

หัวใจหลักของ CPU นี้คือ การใช้อัลกอริธึม Machine Learning ที่มีความซับซ้อนไม่สูงมากนักในการจำแนกมัลแวร์ออกจาก Process การทำงานปกติ

“ตัวตรวจจับก็เหมือนนกคิรีบูนในเหมืองถ่านหินที่คอยเตือนโปรแกรมซอฟต์แวร์เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น … ตัวตรวจจับฮาร์ดแวร์ทำงานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีความครอบคลุม หน้าที่ของมันคือการค้นหาพฤติกรรมที่น่าสงสัย และกำหนดทิศทางการตอบสนองของซอฟต์แวร์ให้ดียิ่งขึ้น” — Dmitry Ponomarev ศาสตราจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของ Binghamton University กล่าว

ก่อนหน้านี้เคยมีงานวิจัยอื่นที่คล้ายคลึงกับโปรเจ็คท์นี้มาแล้ว ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่

  • Unsupervised Anomaly-based Malware Detection using Hardware Features
  • Hardware-based Malware Detection using Low-level Architectural Features
  • Ensemble Learning for Low-level Hardware-supported Malware Detection

ที่มา: https://www.bleepingcomputer.com/news/security/scientists-working-on-a-cpu-that-can-detect-malware-at-the-hardware-level/

Tags anomaly-based detection Binghamton University cpu machine learning research University of California-Riverside

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

About techtalkthai

ทีมงาน TechTalkThai เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำงานในสาย Enterprise IT ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้าน Network, Security, Server, Storage, Operating System และ Virtualization มารวมตัวกันเพื่ออัพเดตข่าวสารทางด้าน Enterprise IT ให้แก่ชาว IT ในไทยโดยเฉพาะ

Check Also

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

Emotet Botnet กลับมาเริ่มโจมตีอีกครั้ง

Emotet Botnet กลับมาเริ่มโจมตีอีกครั้ง หลังจากหยุดไปนานกว่า 5 เดือน

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

[Video Webinar] ค้นหาให้ไว – เร่งความเร็ว Threat Hunting ด้วย XDR โดย Sophos

สำหรับผู้ที่ไม่ได้เข้าฟังการบรรยาย Sophos Webinar เรื่อง “ค้นหาให้ไว – เร่งความเร็ว Threat Hunting ด้วย XDR” พร้อมแนะนำเทคนิคการค้นหาและไล่ล่าภัยคุกคามที่แฝงอยู่ในระบบเครือข่ายขององค์กรให้เร็วยิ่งขึ้น ที่เพิ่งจัดไปเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา หรือต้องการรับชมการบรรยายซ้ำอีกครั้ง สามารถเข้าชมวิดีโอบันทึกย้อนหลังได้ที่บทความนี้ครับ

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

น้องๆ คนไหนที่กำลังหาสาขาเพื่อเรียนต่อหรือกำลังวางแผนสำหรับอาชีพในอนาคต บทความนี้เรามีข้อมูล สายอาชีพที่มาแรงและมีแนวโน้มเป็นที่ต้องการของตลาด ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 ที่รัฐพยายามผลักดันประเทศสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นนำเทคโนโลยีมาเป็นหลักสำคัญในทุกสายงาน

จากการเก็บข้อมูลสถิติของแรงงานและตลาดแรงงานใน กลุ่มสายไอทีหรือเทคโนโลยี ในช่วงปี 2560 ที่ผ่านมาของ แมนพาวเวอร์กรุ๊ป ได้สรุปผลสำรวจพบว่า ตลาดมีความต้องการสูงและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอัตรารายได้สูง หากแรงงานสามารถทำงานได้ตามมาตรฐานที่หน่วยงานหรือองค์กรต้องการ

ที่สำคัญบุคลากรในสายวิชาชีพไดที ยังคงมีไม่เพียงต่อตลาด ยังขาดแรงงานที่มีทักษะและประสบการณ์อีกไม่น้อย และนี่คือ 7 กลุ่มสายงานไอที มีแนวโน้มเป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบันและในอนาคต รับกระแส Thailand 4.0

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

1. สายงานด้าน IT Management 
สายงานด้านนี้คือตำแหน่งในระดับผู้บริหาร ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก ต้องใช้ความรู้ทางด้านเทคนิคร่วมกับความเข้าใจในธุรกิจ มีทักษะด้านการวางแผน การบริหารงานโครงการให้ตอบโจทย์ทางธุรกิจ

ตัวอย่างตำแหน่งงาน ได้แก่ IT Auditor, Project Lead, IT Manager , Data Center Operator/Manager, Project Manager, IT Director, Project Director เป็นต้น

อัตรารายได้เริ่มต้นที่ 22,000 บาท หากมีความเชี่ยวชาญหรือทักษะเฉพาะด้าน และมีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี อาจมีรายได้สูงถึง 400,000 บาท

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

2. สายงานด้าน Network & System 
ถือเป็นหัวใจของงานด้านไอทีในทุกองค์กร เพราะการวางแผนเครือข่ายพื้นฐาน (Network) และการจัดการระบบของหน่วยงานจะมีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับคนทำงานในสายนี้

ซึ่งผู้ที่ทำงานดูแลระบบและเครือข่าย มีชื่อตำแหน่ง เช่น Software Engineer, Software Tester, Software QA, Hardware Engineer, Solution Architect, Program Analyst, Network Engineer, Network Administrator, System Administrator, Business System Analyst เป็นต้น

โดยอาชีพนี้มีฐานรายได้เริ่มต้นเฉลี่ยที่ 15,000 บาท และอาจสูงถึง 200,000 บาท ขึ้นอยู่กับทักษะ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์การทำงานที่มีมากกว่า 5-10 ปี

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

3. สายงานด้าน Programmer & Developer 
สายงานที่หลายคนน่าจะเคยได้ยินและรู้จักกันมาบ้าง เพราะเป็นสายไอทีโดยตรงที่ได้รับความนิยม คนทำงานสายนี้ต้องมีทักษะเขียนภาษาทางคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา C, C+, Java, COBAL, IOS, Android เป็นต้น

ซึ่งรายได้บุคลากรที่สามารถทำงานด้าน Android Developer, Mobile Developer, Software Developer, Cobol Programmer, Java Programmer หรือ Programmer จะเริ่มต้นที่ 18,000 บาท และถ้าพัฒนาความรู้ สั่งสมประสบการณ์เพิ่มทักษะใหม่ๆ ผลสำรวจระบุสามารถสร้างรายได้สูงสุดอยู่ที่ 130,000 บาท ได้ไม่ยาก

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

4. สายงานด้าน Database Management 
บุคลากรในการจัดการระบบฐานข้อมูลถือมีความสำคัญในองค์กร โดยเฉพาะองค์กรขนาดใหญ่ มักต้องการผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การทำงานสูงและต้องการความปลอดภัย สามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์สู่การวางแผนการใช้ข้อมูลเพื่อให้ตอบโจทย์การใช้งานของธุรกิจได้

ตัวอย่างตำแหน่งงาน ได้แก่ Database Administrator, Oracle DBA/Specialist เป็นต้น โดยบุคลากรในสายงานนี้มีความมั่นคงในสายงานสูง มีฐานรายได้เริ่มต้นเฉลี่ยสูงถึง 20,000 บาท  และสูงสุดที่ 150,000 บาท อีกด้วย

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

5. สายงานด้าน SAP & ERP  
อาชีพเฉพาะทางที่องค์กรตั้งแต่ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความต้องการสูงในการวางแผนควบคุมการจัดการประสิทธิภาพของทั้งองค์กร ซึ่งบุคลากรในระดับหัวกะทิหายาก หากมีประสบการณ์ตรง

โดยเฉพาะตำแหน่งงานด้าน  SAP Analyst, SAP Consultant, ERP Consultant ถือว่าเริ่มต้นฐานรายได้โดยเฉลี่ยสูงมากถึง 27,000 บาท และสูงได้ถึง 250,000 บาท หากมีประสบการณ์ตรงและมีทักษะความเชี่ยวชาญเฉพาะ

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

6. สายงานด้าน Website 
สายงานที่สำคัญและเป็นที่ต้องการตลอดอีกสายหนึ่งของงานไอที เนื่องจากเว็บไซต์เปรียบเหมือนหน้าบ้านของแต่ละองค์กรซึ่งต้องการผู้สร้างและดูแล โดยโปรแกรมเมอร์หรือคนที่ทำงานสายนี้ต้องมีทักษะเข้าใจโปรแกรมเฉพาะทาง Web Browser ต้องควบคุมดูแลและวางโครงสร้างให้สอดคล้องกับระบบงานขององค์กร

ตำแหน่งงานที่เป็นที่เกี่ยวข้องและเป็นที่ต้องการ คือ Content Manager, Online Marketing Manager, Digital Marketing Manager, SEO Specialist, Web Master เป็นต้น โดยสายงานนี้มีฐานรายได้โดยเฉลี่ยที่ 16,000 บาท และสูงสุดที่ 140,000 บาท ที่มาพร้อมทักษะ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของสายงานนี้

นัก เชี่ยวชาญ ด้าน ฮาร์ดแวร์

7. สายงานด้าน IT Support / Technical Support
ผู้ดูแลด้านเทคนิค เป็นตำแหน่งงานที่ทุกองค์กรต้องมีและขาดไม่ได้ เนื่องจากเป็นคนที่ต้องดูแลระบบการทำงานทั้ง Software Hardware บำรุงรักษาระบบ Network เข้าระบบเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน การเชื่อมต่อและการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรเพื่อให้ผู้ใช้ไม่ติดขัด

รวมทั้งเมื่อลูกค้าหรือผู้ใช้งานเกิดปัญหาหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ หรือผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ IT Support จะเป็นคนที่คอยดูแล แนะนำ ให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมไปถึงแก้ไขปัญหาในการใช้งานต่างๆ ในเหล่านั้น

ถือเป็นอีกหนึ่งตำแหน่งที่มีความจำเป็นสำหรับองค์กร และมีความต้องการอยู่ตลอด โดยคนทำงานสายนี้จะมีได้เฉลี่ยที่ 16,000 บาท ถึง 48,000 บาท

ที่มา : 
www.dokbiaonline.com
www.jobthai.com 
www.softmelt.com