ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล


��èѴ����º��û���ͧ������ظ��

��èѴ����º��û���ͧ���͡�� 3 ����
1. ������ظ�ҵ͹�� (�.�.1893-1991)
2. ������ظ�ҵ͹��ҧ (�.�.1991-2231)
3. ������ظ�ҵ͹���� (�.�. 2231-2310)
������ظ�ҵ͹���������¡���ҧ�ҡ�ҹ��û���ͧ �觡�û���ͧ�͡�� 2 ��ǹ
1. ��û���ͧ��ǹ��ҧ�����Ҫ�ҹջ���ͧẺ���ʴ��� ���ʹҺ�� 4 ���˹�
1.1 ���§ �բع���§�����˹�Ҵ��ŷء���آ�ͧ��ɮ�
1.2 �ѧ �բع�ѧ�����˹�� ���šԨ�����������Ǣ�ͧ�麾���Ҫ�ӹѡ��оԨ�ó�Ծҡ�Ҥ��
1.3 ��ѧ �բع��ѧ�����˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
1.4 �� �բع�������˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ������ǹ������ͧ
2.1 ���ͧ�١��ǧ�������ͧ˹�Ҵ�ҹ�����ͺ�Ҫ�ҹ� 4 ��� ��ҧ�ҡ�Ҫ�ҹ��������Թ�ҧ 2 �ѹ �����ҡ�ѵ�����觵�駾���Ҫ����������ҹ�ª���٧任���ͧ
2.2 ������ͧ���� ������ͧ�����������ͺ��й�� ���� ��Ҩչ���� �Ҫ���� ྪú��� ��� �բع�ҧ�ҡ���ͧ��ǧ任���ͧ
2.3 ������ͧ��鹹͡�������ͧ�������ҹ�� ���ͧ��Ҵ�˭�������ҧ�Ũҡ�Ҫ�ҹ�
2.4 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���Ҷ��µ����˹� 3 �յ�ͤ���

������ظ�ҵ͹��ҧ �������¡�û�Ѻ��ا��û���ͧ ���������¾�к�����š�Ҷ ��û�Ѻ��ا��û���ͧ �ִ��ѡ�������ӹҨ�������ٹ���ҧ ����ǹ�Ҫ����͡��
1. ��û���ͧ���ǹ��ҧ������ǹ�Ҫ�ҹ� �觡�û���ͧ�͡�� 2 ����
1.1 ���·��� �����ˡ����������˹�� ���ŷ��÷����Ҫ�ҳҨѡ�
1.2 ���¾����͹ �����˹�¡�����˹�� ����Ѻ�Դ�ͺ���ʴ��� 4 �������¹�������¡���� ��� ���§ �� ��ú��
�ѹ �� ����Ҹԡó�
�� �� �ɵ�Ҹ��Ҫ
��ѧ �� ��ҸԺ��

2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ �ô���¡��ԡ���ͧ�١��ǧ �Ѵ��û���ͧ�͡��
2.1 ������ͧ���� ����¹��������ͧ�ѵ�� �ռ�黡��ͧ��ͼ�����
2.2 ������ͧ��鹹͡ ����¹������ͧ��� �͡ � ��� ����ӴѺ�����Ӥѭ ��Т�Ҵ�ͧ���ͧ
2.3 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���ҵ����˹�

������ظ�ҵ͹���� �������¶�ǧ����ӹҨ ���������¾��ྷ�Ҫ� ���¹���ִẺ���ҧ��û���ͧẺ������稾�к�����š�Ҷ�ç��Ѻ��ا �������¡�ӹҨ���ˡ�����������˹�¡�������� ���
���ˡ����� - ����������ͧ�������������駷���繽��·�����о����͹
���˹�¡ - ����������ͧ�����˹�ͷ���������繽��·�����о����͹
�ٻẺ��û���ͧ�ͧ��ظ�� ������ͧ�Ҩ��֧�Ѫ��ŷ�� 5 �֧���ա�û���ٻ��û���ͧ��������


(����Ȣͧ��� � 204 ������԰ �Է���Ѱ ��Ф��)


ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล

การจัดระเบียบการปกครองในสมัยอยุธยา แบ่งได้เป็น 3 สมัย ดังนี้

ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล

1.สมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. 1893 – 1991) มีลักษณะดังนี้

ในสมัยนี้เป็นสมัยของการวางรากฐานอำนาจทางการเมืองการปกครอง รวมทั้งเสริมสร้างความมั่นคงของอาณาจักร ซึ่งยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวางมากนัก พระเจ้าอู่ทองทรงวางรากฐานการปกครองไว้ ดังนี้

1.1 การปกครองส่วนกลาง (ราชธานี)  พระมหากษัตริย์แบ่งการปกครองเป็น 4 ส่วน เรียกว่า จตุสดมภ์ ให้แต่ละส่วนมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้

1) กรมเวียง (กรมเมือง) มีหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อยของราษฎรทั่วราชอาณาจักร

2) กรมวัง มีหน้าที่จัดระเบียบเกี่ยวกับราชสำนัก

3) กรมคลัง มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร จัดหารายได้เพื่อใช้ในการบำรุงราชอาณาจักร รับผิดชอบด้านการเงินและการต่างประเทศ

4) กรมนา มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับการทำมาหากินของราษฎร

1.2 การปกครองส่วนภูมิภาค  เป็นการปกครองหัวเมืองที่อยู่นอกเขตราชธานี ซึ่งมีการแบ่งเมืองเป็นระดับชั้น โดยมีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง

1) เมืองหน้าด่าน (เมืองลูกหลวง) เป็นหัวเมืองที่อยู่รายรอบราชธานีและมีระยะทางไปมาถึงราชธานีได้ภายใน 2 วัน มีความสำคัญในการป้องกันข้าศึกไม่ให้โจมตีถึงราชธานีได้ง่าย พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งให้พระราชโอรสหรือเจ้านายชั้นสูงไปปกครองแทนพระองค์ เพื่อเป็นการแบ่งเบาพระราชภาระด้านการปกครอง

2) หัวเมืองชั้นใน เป็นหัวเมืองที่ถัดจากเมืองหน้าด่านออกไปอีก เป็นเมืองรายรอบตามระยะทางคมนาคม อยู่ไม่ไกลจากราชธานี สามารถติดต่อถึงกันได้สะดวก หัวเมืองชั้นในที่สำคัญ มีดังนี้

ทิศเหนือ เมืองาพรหมบุรี อินทร์บุรี สิงห์บุรี

ทิศใต้ เมืองเพชรบุรี

ทิศตะวันออก เมืองปราจีนบุรี

ทิศตะวันตก เมืองราชบุรี

3) หัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) เป็นหัวเมืองที่มีขนาดใหญ่อยู่ห่างจากราชธานีออกไปตามทิศทางต่าง ๆ หัวเมืองชั้นนอกจะเป็นเมืองที่คอยปกป้องดูแลอาณาเขตด้านที่ตั้งอยู่ มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครองสืบทอดต่อ ๆ กันมา หัวเมืองชั้นนอกที่สำคัญ มีดังนี้

ทิศเหนือ เมืองพิษณุโลก

ทิศใต้ เมืองไชยา เมืองนครศรีธรรมราช เมืองพัทลุง

ทิศตะวันออก เมืองนครราชสีมา เมืองจันทบุรี

ทิศตะวันตก เมืองตะนาวศรี เมืองทวาย

4) หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลนอกพระราชอาณาเขต มีการปกครองอิสระแก่ตนเอง ชาวเมืองเป็นชาวต่างประเทศ  เจ้านายพื้นเมืองมีสิทธิ์ขาดในการปกครองดินแดนของตน แต่ต้องแสดงตนว่ายอมอ่อนน้อมหรือเป็นเมืองประเทศราช โดยการส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายตามกำหนด

ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล

2. การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง ( 1991-2231) มีลักษณะดังนี้

ช่วงเวลาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 1991 – 2231) สมัยนี้เป็นสมัยที่อาณาจักรอยุธยามีความมั่นคงเป็นปึกแผ่น และเริ่มเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ มีอำนาจทางการเมืองการปกครองเจริญรุ่งเรืองสูงสุด รวมทั้งมีสภาพทางเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ

ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้มีการจัดระเบียบการปกครองโดยรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพของอาณาจักรอยุธยาในขณะนั้นที่ขยายดินแดนกว้างออกไป มีการปฏิรูปการปกครองขึ้นมา

สาเหตุที่ทำให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถปฏิรูปการปกครองอาณาจักรอยุธยา มีดังนี้

1. จากการที่อยุธยาได้ขยายดินแดนออกไปกว้างขวาง และได้รวมเอาดินแดนของอาณาจักรสุโขทัยเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร จึงจำเป็นต้องขยายอำนาจการปกครองออกไปให้ควบคุมดินแดนทั้งหมดไว้ได้

2. เกิดปัญหาเรื่องความมั่นคงของอาณาจักร จากการที่เมืองหน้าด่านมีกองกำลังป้องกันเมืองจึงมีอำนาจมาก ทำให้เกิดการชิงราชสมบัติอยู่บ่อยครั้ง

3. ทรงต้องการปรับปรุงระเบียบการปกครองที่มีมาแต่เดิม เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น

2.1 การปกครองส่วนกลาง

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงจัดแบ่งขุนนางและไพร่พลทั่วราชอาณาจักรใหม่ โดยแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร

ในยามที่บ้านเมืองสงบสุข หน้าที่ของฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหารจะแยกจากกัน เพื่อรับผิดชอบบริหารบ้านเมืองตามที่ได้รับมอบหมายให้มีประสิทธิภาพ แต่เมื่อยามเกิดสงคราม ทั้ง 2 ฝ่ายจะต้องรวมกำลังกัน เพื่อต่อสู้ข้าศึกศัตรูและป้องกันประเทศให้มั่นคงปลอดภัย

ฝ่ายทหาร มีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาดูแลราชการฝ่ายทหารทั่วราชอาณาจักร เพื่อเตรียมไพร่พลและกำลังอาวุธไว้ให้พร้อมเพรียง สามารถสู้รบในยามเกิดสงครามได้

ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาดูแลรับผิดชอบงานฝ่ายพลเรือนทั่วราชอาณาจักร และคอยกำกับดูแลการทำงานของเหล่าเสนาบดีจตุสดมภ์เดิม ซึ่งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเปลี่ยนชื่อ และปรับปรุงหน้าที่ของหน่วยงานทั้ง 4 ใหม่ โดยให้มีหน้าที่รับผิดชอบบริหารราชการแผ่นดินแตกต่างกันไปตามที่ทรงมอบหมาย ดังนี้

กรมเวียง (นครบาล) มีหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และรักษาความสงบสุขของราษฎรในเขตราชธานี

กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์) มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับราชสำนัก งานราชพิธี และพิพากษาคดีความของราษฎร

กรมคลัง (โกษาธิบดี) มีหน้าที่ดูแลรายรับรายจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ จัดเก็บอากรค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

กรมนา (เกษตราธิการ) มีหน้าที่ดูแลส่งเสริมให้ราษฎรทำไร่ ทำนา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง เพื่อใช้เป็นเสบียงในยามศึกสงครามหรือยามเกิดข้าวยากหมากแพง

2.2 การปกครองส่วนภูมิภาค

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ในการปกครองส่วนภูมิภาคให้มีลักษณะแบบเดียวกันกับส่วนกลาง และได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านทั้ง 4 ทิศ โดยแบ่งเขตของการปกครองเป็น 3 เขต ดังนี้

1) หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เช่น ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาถ นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ชลบุรี เป็นต้น เมืองเหล่านี้มีฐานะเป็นเมืองจัตวา พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า ผู้รั้ง

2) หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองที่อยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไป แบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท ตรี ตามขนาดและความสำคัญของแต่ละเมือง ดังต่อไปนี้

– เมืองชั้นเอก เป็นเมืองใหญ่ มีประชาชนมาก เช่น พิษณุโลก นครศรีธรรมราช

– เมืองชั้นโท เป็นเมืองที่สำคัญรองลงมา เช่น สุโขทัย กำแพงเพชร สวรรคโลก

– เมืองชั้นตรี เป็นเมืองที่ขนาดเล็ก เช่น ไชยา ชุมพร นครสวรรค์

3) หัวเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา เช่น ปัตตานี มะละกา เชียงกราน ทวาย ผู้ปกครองต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง มาถวายกษัตริย์ที่กรุงศรีอยุธยา โดยมีข้อกำหนด 3 ปีต่อหนึ่งครั้ง

2.3 การปกครองส่วนท้องถิ่น

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงแบ่งการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองดูแลได้ทั่วถึงมากขึ้น โดยเริ่มจากหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตำบลมีกำนันดูแล แขวงมีหมื่นแขวงดูแล และเมืองมีเจ้าเมืองดูแล

ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล

3. การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย (ในช่วง 2231-2310) มีลักษณะดังนี้

ช่วงเวลาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศ (พ.ศ. 2231 – 2310) รูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังคงยึดรูปแบบการปกครองตามที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดระเบียบไว้ แต่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองบางส่วนในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ดังนี้

1. ยกเลิกการแยกความรับผิดชอบของอัครมหาเสนาบดีด้านงานพลเรือน และด้านงานทหาร

2. ให้สมุหพระกลาโหมรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพลเรือน ปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ตั้งแต่เพชรบุรีลงไป

3. ให้สมุหนายกรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพลเรือน ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือและดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง

4. ให้เสนาบดีกรมคลังรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพลเรือน ปกครองหัวเมืองชายฝั่งตะวันออก และดูแลเกี่ยวกับรายได้ของแผ่นดินและการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

ให้อิสระแก่หัวเมืองประเทศราชในการปกครองตนเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ เหตุผล