ท่ารำ “พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

         

 ภาษาท่ารำ  เป็นภาษาทางนาฏสิลป์ที่สื่อความหมายแทนคำพูด  เพื่อสื่อความหมายระหว่างผู้แสดงกับผู้ชมการแสดง  ภาษาท่าที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย มี 2 แบบ ได้แก่ ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติและภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์
         1.ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ
          ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ คือท่าทางที่เป็นธรรมชาติขอวมนุษย์  สัตว์  สิ่งของ  แต่มีการนำมาปรับปรุงท่าทางให้มีความงดงาม  อ่อนช้อยมากยิ่งขึ้น  ตัวอย่างท่ารำที่เป็นภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ เช่น
          ท่ายิ้ม  ใช้มือซ้ายจีบ  ยกมือขึ้นจีบที่ระดับปาก  หักข้อมอเข้าหาใบหน้า  ให้ปลายนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มืออยู่ตรงระดับปาก  ใช้สื่อความหมาย แสดงความพอใจ ชื่นชม  ยินดี

                 

ท่าดมหรือหอม    ใช้มือขวาจีบ และหักข้อมือที่จีบเข้าหาใบหน้า  ให้ปลายนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มืออยู่ตรงระดับจมูก   ใช้สื่อความหมาย การดมของหอม เช่น ดมดอกไม้

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่าเสียใจ  ให้ฝ่ามือทั้งสองคว่ำมือฝ่ามือเรียงกัน  ไขว้มือข้างขวาทับข้างซ้าย ว่างฝ่ามือลงบริเวณเอวระดับหน้าท้อง  สะดุ้งลำตัวขึ้น ลง เล็กน้อย พร้อมกับก้มหน้าหลบตาสายตาลงพื้น    ใช้สื่อความหมาย แสดงความเศร้าโศรก  เสียใจ

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่าเขินอาย   ใช้ฝ่ามือแตะที่แก้มข้างซ้ายเอียงศีรษะข้างซ้ายลงพร้อมกับเอียงแก้มลง  ใช้สื่อความหมาย แสดงความรู้สึกอาย  ขวยเขิน

            ท่ากลัว   ใช้ฝ่ามือทั้งสองแบนิ้วมือเรียงประกบกันระดับอก  พลิกฝ่ามือให้ไขว้กันเป็นรูปสัญลักษณ์บวก และกดเฉพาะนิ้วกลางของทั้งสองมือลง สั่นมือเล็กน้อย   ใช้อสื่อความหมาย แสดงความหวาดกลัว  เกรงกลัว

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

2.ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์

                 ภาษาท่าทางที่มาจากการประดิษฐ์   เกิดจากการประดิษฐ์ตามจินนาการ  และการประดิษฐ์จะใช้ท่ารำจากแม่บทใหญ่  เพื่อใช้ในการแสดงให้เกิดความสวยงาม  ตัวอย่างท่ารำแม่บทใหญ่ที่นำมาใช้สื่อความหมายท่ารำต่างๆ เช่น

 ท่าพรหมสี่หน้า  จีบมือทั้งสองข้างคว่ำลง  งอแขน สอดจีบหงายมือขึ้น  ตั้งวงบัวบานเสมอศีรษะ  ใช้สื่อความหมาย ความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่าสอดสร้อยมาลา   มือขวาตั้งวงบน  มือซ้ายจีบระดับหน้าท้องเอียงซ้าย  เคลื่อนมือจีบยกขึ้นปล่อยจีบหงายข้างตัว  มือที่ตั้งวงมาจีบคว่ำระดับชายพก  พลิกมือทั้งสองขึ้น  เป็นมือซ้ายตั้งวงบน  มือขวาจีบหงายที่ชายพก เอียงขวา    ใช้สื่อความหมาย  การเคลื่อนตัวด้วยความงดงาม  ใช้ในการเชื่อมท่ารำใช้เริ่มต้นการแสดงตามทำนองเพลงก่อนมีบทร้อง  เป็นท่ารำที่ใช้ในการรำวงมาตรฐาน  เพลงงามแสงเดือน  ความหมายของท่ารำ หมายถึง การร้อยดอกไม้

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่าเฉิดฉิน  มือซ้ายจีบระดับปาก  มือขวาตั้งวงระดับเดียวกัน  เอียงซ้าย  ม้วนมือจีบซ้ายออกตั้งวงระดับปาก  มือขวาพลิกเป็นบัวบาน  อยู่ที่ระดับศีรษะ   ใช้สื่อความหมาย  ความงดงาม

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่ากวางเดินดง   มือทั้งสองใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางเหยียดตึง  เก็บนิ้วที่เหลือลง  ชูเพียง 2 นิ้วทั้งสองมือ  เรียกจีบมือกวาง  เดินตามจังหวะเพลง ก้าวเท้าขวามือซ้ายอยู่หน้า  ก้าวเท้าซ้าย มือขวาอยู่หน้า     ใช้สื่อความหมาย การเดินเยื้องกรายด้วยความงดงาม

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด

ท่าแขกเต้า     จีบปรกข้างมือขวา  มือซ้ายจีบหงาย  ต่อศอกขวา  พร้อมทั้งยกเท้าซ้าย  เอียงซ้าย   ใช้สื่อความหมาย  ความสวยงาม  ความสนุกสนาน

ท่ารำ พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่าหรือภาษาท่ารำประเภทใด



ท่ารำ “พรหมสี่หน้า” เป็นภาษาท่ารำประเภทใด

ชื่อท่ารำท่าหนึ่งในแม่ท่า มือทั้งสองยกหงายขึ้นระดับแง่ศรีษะ แขนตั้งฉากกับศอก. ท่า ๒ การแสดงกิริยายกมือยกเท้าเป็นต้นตามที่กำหนดเป็นแบบไว้ มีชื่อเรียกต่าง ๆ เช่น ท่ามวยมีท่าจระเข้ฟาดหาง ท่ารำมีท่าพรหมสี่หน้า

แม่บท ใช้ภาษาท่าประเภทใด

ส่วนแม่บทใหญ่ จะมีท่าที่เป็นแม่ท่า ๖๔ ท่า โดยถูกกำหนดตามเนื้อเพลงที่ร้องในทำนองเพลงชมตลาดเช่นเดียวกับแม่บทเล็ก แต่ละท่ามีชื่อกำหนดเรียกและมีความหมาย อีกทั้งเป็นท่าแม่แบบในการแสดงนาฏศิลป์โขน ละครต่อมา บางท่าบางชื่อก็จะซ้ำและใกล้เคียงกับรำแม่บทเล็ก ได้แก่ ท่าเทพนม ปฐม พรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลา ช้านางนอน ผาลาเพียงไหล่ พิศ ...

ท่าเบิกบานใจ เป็นกิริยาการใช้มือลักษณะแบบใด

15. ร่าเริง เบิกบาน เริ่มใช้ท่าด้วยการจีบมือทั้งสอง หักข้อมือเข้าหาลำตัวระดับอก แล้วม้วนมือออกตั้งวงกลางและกระแทกท้องแขนให้เหยียดตึงระดับไหล่ทั้งสองข้าง 16. ดีใจ ปรบมือทั้งสองเข้าหากันระดับอก 17. กลัว มือทั้งสองประสานกันระดับอก ถ้าสั่นมือที่ประสานกัน แสดงว่ากลัวมาก

ภาษาท่าใดที่สื่อความหมายถึงพระพรหม

ท่าพรหมสี่หน้า หมายถึง ความยิ่งใหญ่ มโหฬาร หรือการสวมใส่ศิราภรณ์ เช่น มงกุฎ และยังใช้แทนการกล่าวถึงพระพรหมด้วย (สังเกตว่า ท่าทั้งสองสะท้อนอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียที่นับถือเทพและพรหมว่าเป็นผู้สร้าง)