คํา อธิบาย รายวิชา วิทยาศาสตร์ ม.3 ว 23102

คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จัดทำโดย
นางสาวอังคณา ปาสานะโม

คาอธบิ ายรายวิชา (พื้นฐาน)

รหสั วิชา ว 23102 วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ 2

ศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ วัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์พอลิเมอร์
เซรามิก และวัสดุผสม ผลกระทบจากการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม ปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมี ประเภทของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ศึกษา วิเคราะห์ ปริมาณทาง
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ กฎของโอห์ม
ความต้านทาน ตัวต้านทาน การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย
ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ วงจรรวม การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
การคานวณค่าไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าในบ้าน อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
และปลอดภัย

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยม

รหสั ตัวช้ีวัด
ว. 1.1 ม. 3/1-6
ว 2.1 ม. 3/1-2
ว 2.1 ม. 3/3-8
ว 2.3 ม. 3/1-9
รวมทั้งหมด 23 ตัวช้ีวดั

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ว23102 วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ 2

หน่วย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
(ชม.) คะแนน
ท่ี เรียนรู้ ตัวชวี้ ัด/
17 15
ผลการเรียนรู้

6 ชวี ิตกบั ว. 1.1 ม.3/1- กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่อาศัย

สงิ่ แวดล้อม 6 หนึ่ง ๆ จะมีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ และมี

ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยรอบ ซึ่งเรียกว่า ระบบ

นิเวศ (ecosystem) โดยระบบนิเวศประกอบด้วย

องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็นสารอนินทรีย์ (น้า

แร่ธาตุ แก๊ส) สารอินทรีย์ (สารชีวโมเลกุล) และ

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (แสง อุณหภูมิ ดิน ความ

เป็นกรด-เบสของดินและน้า) และองค์ประกอบท่ีมีชีวิต

ได้แก่ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ซ่ึงจะมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน

ได้แก่ ผู้ผลิตเป็นส่ิงมีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสง

เป็นพลงั งานเคมีแล้วสะสมไว้ในรูปของอาหารหรือกล่าว

ว่าสามารถสร้างอาหารได้เอง ผู้บริโภคเป็นส่ิงมีชีวิตที่ไม่

สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่ต้องบริโภคส่ิงมีชีวิตอ่ืน

เป็นอาหาร และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นส่ิงมีชีวิตที่

ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตกลับคืนสู่ส่ิงแวดล้อมซึ่งพืชจะ

น้ามาใชไ้ ดอ้ ีก

ในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ อาจพบส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน
อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกันและในช่วงเวลา
เดียวกัน เรียกว่า ประชากร (population) และมักพบ
ประชากรของสิ่งมีชีวิตหลายชนิดท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันใน
แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ เ ดี ย ว กั น เ รี ย ก ว่ า ก ลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต
(community) ซ่ึงส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับ
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันและมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิต
ชนดิ อืน่ ๆ โดยความสัมพันธ์ดังกล่าวมีหลายรูปแบบ ซึ่ง
ส่ิงมีชีวิตบางชนิดอาจได้ประโยชน์ บางชนิดอาจเสีย
ประโยชน์ หรือบางชนดิ ไมไ่ ดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์

หน่วย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
ท่ี เรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด/ (ชม.) คะแนน
ผลการเรียนรู้ องค์ประกอบท่ีมีชีวิตในระบบนิเวศจะมีบทบาท
7 ไฟฟ้าและ หน้าท่ีแตกต่างกัน ผู้ผลิตเป็นส่ิงมีชีวิตที่สามารถเปล่ียน 25 20
อเิ ล็คทรอนกิ ส์ ว 2.3 พลังงานแสงเป็นพลังงานเคมีแล้วสะสมไว้ในรูปของ
ม 3/1-9 อาหาร ผูบ้ รโิ ภคเปน็ ส่ิงมีชวี ติ ที่ไมส่ ามารถสร้างอาหารได้
เอง แต่ต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร ผู้ย่อยสลาย
สารอนิ ทรีย์เป็นส่ิงมชี วี ิตทย่ี อ่ ยสลายซากของส่ิงมีชีวิตทุก
ชนิดกลับคืนสู่สิ่งแวดล้อมซึ่งพืชจะนามาใช้ได้อีก ซึ่ง
ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตในลักษณะ
การถ่ายทอดพลังงานผ่านการกินต่อกันเป็นทอด ๆ จาก
ผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลาดับต่าง ๆ เรียกว่า โซ่อาหาร
(food chain) โดยพลังงานท่ีถ่ายทอดระหว่างโซ่อาหาร
จะลดลงตามลาดับขั้นซึ่งมีพลังงานบางส่วนถูกถ่ายโอน
ไปสู่สิ่งแวดล้อม โซ่อาหารหลายโซ่อาหารจะสัมพันธ์กัน
อย่างซับซ้อนในรปู ของสายใยอาหาร (food web) และ
นอกจากพลังงานจะถูกถ่ายทอดไปตามลาดับข้ึนของโซ่
อาหารแล้ว สารพิษต่าง ๆ จะถูกถ่ายทอดไปเช่นกัน ซึ่ง
หากสะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตปริมาณมากอาจเกิดอันตราย
ต่อสง่ิ มชี วี ิตและทาลายสมดุลในระบบนิเวศ

กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนท่ีของประจุไฟฟ้า
โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีความต่างศักย์สูงกว่า
ไปยังจุดท่ีมีความต่างศักย์ต่ากว่า ค่ากระแสไฟฟ้า
สามารถวัดได้โดยการต่อแอมมิเตอร์เข้าไปในวงจร และ
ค่าความต่างศักย์สามารถวัดได้โดยการต่อโวลต์มิเตอร์
เขา้ ไปในวงจร ในวงจรไฟฟ้าใดๆ เมื่อมีความต่างศักย์ตก
คร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือมีความต่างศักย์ระหว่างจุด 2
จุด บนตัวนาโลหะ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์
ไฟฟ้าหรือตัวนาโลหะน้ันด้วย โดยความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์เป็นไปตามกฎของโอห์ม
ท่ีกล่าวว่า กระแสไฟฟ้าในตัวนาโลหะจะแปรผันตรงกับ
ความต่างศักย์ระหว่างปลายท้ัง 2 ข้างของตัวนานั้น
ตามสมการ V = IR

หนว่ ย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั

ท่ี เรียนรู้ ตัวชี้วัด/ (ชม.) คะแนน

ผลการเรยี นรู้

ตวั ตา้ นทานเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีหน้าที่หลักในการ

ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ใน

วงจรไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยการนาตัว

ต้านทานมากกว่า 1 ตัว มาต่อรวมกันในวงจรไฟฟ้า

เพื่อให้ได้ความต้านทานรวมหรือความต้านทานสมมูล

ตามท่ีต้องการ สามารถต่อได้ 2 วิธี คือ การต่อตัว

ตา้ นทานแบบอนุกรม เปน็ การนาตวั ตา้ นทานหลายๆ ตัว

มาเรียงตอ่ กนั โดยขาขา้ งหนงึ่ ต่อกับขาอีกข้างหน่ึงของตัว

ต้านทานอีกตัวหนึ่งไปเรื่อยๆ ทาให้ความต้านทาน

สมมูลเท่ากับผลรวมของความต้านทานของตัวต้านทาน

แต่ละตัว และการต่อตัวต้านทานแบบขนานเป็นการนา

ตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาเรียงต่อกันโดยรวบปลายของ

ตวั ตา้ นทานแต่ละตัวไว้ทจ่ี ดุ เดียวกนั ทงั้ สองข้าง

ทาให้ส่วนกลับของความต้านทานสมมูลเท่ากับ

ผลรวมของส่วนกลับของความต้านทานของตัวต้านทาน

แตล่ ะตวั

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีสาคัญ

อย่างหนง่ึ ในวงจรไฟฟา้ โดยมีหน้าท่ีหลกั แตกตา่ งกนั ไป

ตามความต้องการในการใช้งาน เช่น ไดโอด จะยอมให้

กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ทางเดียวและก้ันการไหลใน

ทิศทางตรงกันข้าม ทรานซิสเตอร์ ทาหน้าท่ีเป็นสวิตช์

ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าและควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้า

ตวั เกบ็ ประจุทาหน้าทเ่ี ก็บและคายประจไุ ฟฟ้า

พลังงานท่ีได้รับจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้าแล้วทาให้

ประจุไฟฟ้าเคล่ือนท่ี เรียกว่า พลังงานไฟฟ้า และงานที่

ประจุไฟฟ้าทาได้ใน 1 หน่วยเวลาหรือพลังงานไฟฟ้าท่ี

เคร่ืองใช้ไฟฟ้าใช้ใน 1 หน่วยเวลาหรืออัตราการใช้

พลังงานไฟฟ้า เรียกวา่ กาลงั ไฟฟา้

การคานวณค่าไฟฟา้ ท่ใี ชใ้ นบ้านเรือนจะคานวณจาก

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในแต่ละเดือนในหน่วย กิโลวัตต์

ช่ัวโมง (kW h) หรือ หน่วย (unit) โดยค่าไฟฟ้าท่ีผู้

ให้บรกิ ารหรือทางการไฟฟ้าเรียกเก็บจะประกอบด้วยค่า

ไฟฟา้ ฐาน ค่าไฟฟา้ ผนั แปร และคา่ ภาษมี ูลคา่ เพิม่

หน่วย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั / (ชม.) คะแนน
ผลการเรียนรู้ ไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนส่วนใหญ่จะมีความต่างศักย์
8 วสั ดุ 220 โวลต์ การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะส่งผ่านสาย 6 5
ว 2.1 มีศักย์ (สาย L) และสายกลาง (สาย N) แล้วผ่านแผง
ม3/1-2 ควบคุมไฟฟ้าก่อนจะแยกไปตามเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่างๆ
ภายในบ้าน ซง่ึ มีการตอ่ วงจรแบบขนาน

ไฟฟา้ เปน็ พลงั งานรปู แบบหน่งึ ซงึ่ สามารถส่งไปตาม
สายไฟได้อย่างรวดเร็ว และพลังงานไฟฟ้ายังสามารถ
เปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานอ่ืนได้มากมาย แต่พลังงาน
ไฟฟ้าก็มีโทษเช่นกันหากผู้ใช้ไฟฟ้าปราศจากความรู้ใน
การใชง้ านท่ีถูกต้องและเหมาะสม และการผลิตพลังงาน
ไฟฟ้าต้องอาศัยพลังงานจากแหล่งต่างๆ จึงจาเป็นต้อง
ช่ ว ย กั น ป ร ะ ห ยั ด ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ เ ลื อ ก
เครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งานเพ่ือไม่ให้
กระทบกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

พอลิเมอร์เป็นสารประกอบโมเลกุลใหญ่ท่ีเกิดจาก
โมเลกลุ จานวนมากรวมตัวกันทางเคมี เชน่ พลาสตกิ เปน็
พอลเิ มอร์ทีส่ ามารถข้นึ รูปเป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ ยางเป็น
พอลิเมอรท์ ่ีสามารถยืดหย่นุ ได้ และเส้นใยเปน็ พอลเิ มอร์
ทีส่ ามารถดึงเป็นเสน้ ยาวได้ จงึ ถูกนามาใช้ประโยชน์
ไดแ้ ตกต่างกนั

เซรามิกเป็นวัสดุท่ีผลิตจากดิน หิน ทราย และแร่
ธาตุต่างๆ จากธรรมชาติ และส่วนมากจะผ่านการเผาที่
อุณหภูมิสูงเพื่อให้ได้เนื้อสารที่แข็งแรง เซรามิกสามารถ
ทาเป็นรูปทรงต่างๆ ได้ มีลักษณะแข็ง ทนต่อการสึก
กร่อน และเปราะ จึงสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น
ภาชนะท่เี ป็นเคร่ืองปั้นดินเผา ชิน้ ส่วนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

วัสดุผสมเป็นวัสดุท่ีเกิดจากวัสดุตั้งแต่ 2 ประเภท
ที่มีสมบัติต่างกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น เช่น
เ สื้ อ กั น ฝ น บ า ง ช นิ ด เ ป็ น วั ส ดุ ผ ส ม ร ะ ห ว่ า ง ผ้ า กั บ ย า ง
คอนกรีตเสริมเหล็กเป็นวัสดุผสมระหว่างคอนกรีตกับ
เหล็ก

ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทาจาก
วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม ส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เน่ืองจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้ย่อย
สลายยาก จงึ เกดิ การสะสมและตกคา้ งอยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ ม

หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก

ที่ เรยี นรู้ ตัวช้ีวดั / (ชม.) คะแนน

ผลการเรียนรู้

ยากต่อการกาจัด หากนาไปเผาจะก่อให้เกิดควันพิษ

เม่ือสูดดมจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย หากนาไปฝังดินก็

จะทาให้ดินเสื่อมสภาพ ส่งผลใหส้ ภาพแวดล้อมปนเปื้อน

สารเคมี เพื่อลดปัญหาจึงควรเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสม

ต่อการใช้งานและง่ายต่อการกาจัดหรือนากลับมาใช้ใหม่

เพ่อื ลดปริมาณขยะซง่ึ เป็นสาเหตุของปญั หาสิ่งแวดล้อม

9 ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ว 2.1 ปฏิกิริยาเคมีหรือการเปล่ียนแปลงทางเคมีของสาร 12 10

ม3/3-8 ทาใหเ้ กิดสารใหม่ โดยสารท่ีเข้าทาปฏิกิริยาเรียกว่า สาร

ตั้งต้น และสารที่เกิดข้ึนใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ท่ีมี

สมบัติแตกต่างไปจากสารต้ังต้น เนื่องจากมีการจัดเรียง

อะตอมใหม่ของสารต้ังต้นขณะเกิดปฏิกิริยา ซึ่งการ

เกิดปฏิกิริยาเคมีดังกล่าวสามารถเขียนได้เป็นสมการ

ข้อความท่ีแสดงถึงจานวนอะตอมแต่ละชนิดก่อนและ

หลังการทาปฏิกิริยาเคมีจะมีจานวนเท่ากันและมวลรวม

ของสารตง้ั ตน้ จะเท่ากบั มวลรวมของผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นไป

ตามกฎทรงมวล

ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถ่ายโอนความ

ร้อนควบคู่ไปกับการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมของสาร

แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ปฏิกิริยาท่ีมีการถ่ายโอน

ความร้อนจากส่ิงแวดล้อมเข้าสู่ระบบ เรียกว่า ปฏิกิริยา

ดูดความร้อน และปฏิกิริยาท่ีมีการถ่ายโอนความร้อน

จากระบบออกสสู่ ิง่ แวดล้อม เรียกว่า ปฏิกิริยาคายความ

รอ้ น

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด เช่น

ปฏิกิริยาการเผาไหม้เป็นปฏิกิริยาระหว่างสารกับ

ออกซเิ จน ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ปน็ สารประกอบที่มีคาร์บอนและ

ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ การเกิดสนิมเหล็กเกิดจาก

ปฏิกิริยาเคมีระหว่างเหล็ก น้า และออกซิเจน ได้

ผลิตภัณฑ์เป็นสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ

จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะกับแก๊สไฮโดรเจน

ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนตจะได้

ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือของโลหะ

และน้า ปฏิกิริยาของกรดกับเบสจะได้ผลิตภัณฑ์เป็น

เกลือของโลหะและน้า ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบาง

ชนิดจะได้ผลติ ภัณฑ์เปน็ เกลอื ของเบสและแก๊สได้

หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก

ที่ เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด/ (ชม.) คะแนน

ผลการเรียนรู้

ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือของโลหะ

และน้า ปฏิกิริยาของกรดกับเบสจะได้ผลิตภัณฑ์เป็น

เกลือของโลหะและน้า ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบาง

ช นิ ด จ ะ ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น เ ก ลื อ ข อ ง เ บ ส แ ล ะ แ ก๊ ส

ไฮโดรเจน การเกิดฝนกรดเกิดจากปฏิกิริยาระหว่าง

น้าฝนกับออกไซด์ของไนโตรเจน หรือออกไซด์ของ

ซัลเฟอร์ ทาให้ได้น้าฝนที่มีสมบัติเป็นกรด การ

สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื เปน็ ปฏิกิริยาทีเ่ กิดข้ึนระหว่าง

แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์กับน้า โดยมีแสงเป็นปัจจัยท่ีทา

ให้เกดิ ปฏิกริ ยิ า และได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้าตาลกลูโคสและ

แก๊สออกซเิ จน

ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ส า ม า ร ถ น า ไ ป

ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และสามารถ

บู ร ณ า ก า ร กั บ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ

วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ

ตามต้องการ หรืออาจสร้างนวัตกรรมเพื่อป้องกันและ

แก้ปัญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ความรู้เก่ียวกับ

ปฏิกิริยาเคมี เช่น การเปล่ียนแปลงพลังงานความร้อน

อันเน่อื งมาจากปฏกิ ิริยาเคมี การเพม่ิ ปริมาณผลผลิต

รวม 60 50
ทบทวน --
สอบกลางภาค - 20
สอบปลายภาค - 30
รวมทั้งหมด 60 100