เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ป. 2 เทอม 1

ววทิ ทิ ยยาาศศาาสสตตรร์ ์คมู่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี เลเม่ลม่ ๑๑ ๒ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คมู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๒ เลม ๑ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวช้ีวดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จดั ทาํ โดย สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ ชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพ่ือตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ีทัดเทียมกับ นานาชาติ ไดเ รยี นรวู ิทยาศาสตรทเี่ ชอ่ื มโยงความรกู ับกระบวนการในการสบื เสาะหาความรูและการแกปญหาที่ หลากหลาย มกี ารทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ซึ่งในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปน้ี โรงเรียนจะตองใชหลักสูตรกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนที่เปนไปตามมาตรฐาน การเรยี นรูแ ละตวั ชี้วัดของหลกั สตู รเพือ่ ใหโ รงเรียนไดใชส ําหรับจดั การเรียนการสอนในชัน้ เรียน คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมนี้ สสวท. ไดพัฒนาข้ึน เพื่อนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา ปท่ี ๒ เลม ๑ โดยภายในคูมือครูประกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลองระหวา งเนอื้ หาและกจิ กรรมในหนงั สือเรยี นกบั มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การสํารวจตรวจสอบ การฝกปฏิบัติ การปฏิบัติการทดลอง การสืบคนขอมูล และการอภิปราย โดยมีเปาหมายใหนักเรียนพัฒนาท้ัง ดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการ สืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การสื่อสาร การแกปญหา ตลอดจนการนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหงการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๒ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมน้ี ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นกั วชิ าการ และครูผสู อน จากสถาบนั การศึกษาตาง ๆ จึงขอขอบคณุ ไว ณ ท่ีนี้ สสวท. หวังเปน อยา งยิ่งวา คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ เลม ๑ กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัดการศึกษาดาน วิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณย่ิงขึ้น โปรดแจง สสวท. ทราบดวย จกั ขอบคุณย่งิ (ศาสตราจารยชกู ิจ ลมิ ปจํานงค) ผูอ ํานวยการ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ หนา คําช้ีแจง เปา หมายของการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร......................................................................................... ก คณุ ภาพของผูเรียนวิทยาศาสตร เม่ือจบชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3......................................................................... ข ทกั ษะท่สี ําคัญในการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ......................................................................................................... ค ผังมโนทศั น (concept map) รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 เลม 1............................... ช ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1............................................................................. ซ ขอแนะนําการใชค มู ือครู.................................................................................................................................. ฌ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา .............................................................................ธ การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร..............................................................ธ การจดั การเรียนการสอนที่สอดคลอ งกบั ธรรมชาติของวิทยาศาสตร ................................................................. บ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรูวิทยาศาสตร............................................................................................. ผ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเนอ้ื หาและกจิ กรรม ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลม 1...........................ฟ กบั ตวั ช้วี ดั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) รายการวัสดุอุปกรณวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1................................................................................................... ภ หนวยท่ี 1 การเรยี นรูสิ่งตาง ๆ รอบตัว 1 ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนว ยท่ี 1 การเรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบตวั ...................................................1 บทท่ี 1 เรยี นรูแ บบนักวิทยาศาสตร .......................................................................................................3 บทนี้เร่ิมตนอยางไร ..................................................................................................................................... 6 เรอ่ื งที่ 1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ........................................................................................... 13 กจิ กรรมที่ 1.1 สงั เกตส่งิ ตาง ๆ ไดอยา งไร.................................................................................. 17 กจิ กรรมที่ 1.2 จาํ แนกประเภทสงิ่ ตาง ๆ ไดอยา งไร.................................................................... 29 เรือ่ งที่ 2 การสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตร....................................................................................... 46 กิจกรรมท่ี 2 รวบรวมขอมลู เพอ่ื หาคาํ ตอบไดอยางไร.................................................................. 50 กจิ กรรมทา ยบทที่ 1 เรยี นรูแ บบนักวทิ ยาศาสตร....................................................................................... 66 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 68 บรรณานุกรม หนวยท่ี 1 การเรยี นรูสิ่งตา ง ๆ รอบตัว 72

ก คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเร่ืองของการเรียนรูเก่ียวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเก่ียวกับปรากฏการณทางธรรมชาติแลวนําผลที่ไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากท่ีสุด นัน่ คอื ใหเ กดิ การเรียนรทู ั้งกระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรูวิทยาศาสตรในสถานศกึ ษามีเปาหมายสาํ คัญ ดังนี้ 1. เพื่อใหเขา ใจแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรูพ้นื ฐานของวิทยาศาสตร 2. เพอ่ื ใหเขา ใจขอบเขตธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร และขอจาํ กดั ของวิทยาศาสตร 3. เพอ่ื ใหม ที ักษะทส่ี าํ คัญในการสบื เสาะหาความรูและพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักถึงการมีผลกระทบซ่ึงกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สิ่งแวดลอม 5. เพ่ือนําความรู แนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สงั คมและการดํารงชวี ติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสอื่ สาร และความสามารถในการประเมินและตดั สนิ ใจ 7. เพื่อใหเปนผูท่ีมีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยอี ยางสรา งสรรค  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ข คุณภาพของนักเรียนวทิ ยาศาสตร เมอ่ื จบชัน้ ประถมศึกษาปที่ 3 นักเรียนที่เรียนจบช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ควรมีความรู ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังน้ี 1. เขา ใจลกั ษณะทั่วไปของสิง่ มีชีวิตและการดํารงชีวติ ของส่งิ มชี ีวติ รอบตวั 2. เขา ใจลกั ษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบตั ิบางประการของวัสดทุ ี่ใชท ําวัตถุและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ รอบตวั 3. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงที่มีตอการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลงั งานไฟฟา และการผลติ ไฟฟา การเกิดเสยี ง แสงและการมองเห็น 4. เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณข้ึนและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดิน และการใชประโยชน ลกั ษณะและความสําคญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม 5. ตั้งคาํ ถามหรอื กําหนดปญ หาเกีย่ วกบั สงิ่ ท่ีจะเรียนรูตามท่กี าํ หนดใหหรอื ตามความสนใจ สังเกต สํารวจ ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวย การเขียนหรือวาดภาพ และส่ือสารส่ิงที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดงทาทางเพื่อใหผูอ่ืน เขาใจ 6. แกปญ หาอยางงา ยโดยใชข น้ั ตอนการแกป ญหา มีทกั ษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เบอ้ื งตน รักษาขอ มูลสวนตวั 7. แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี กําหนดใหหรือตามความสนใจ มีสวนรว มในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ผอู ืน่ 8. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย จนงานลุลว งเปน ผลสําเรจ็ และทาํ งานรวมกับผอู น่ื อยา งมีความสุข 9. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษา หาความรูเพิ่มเตมิ ทําโครงงานหรือสรางชิ้นงานตามท่กี าํ หนดใหห รอื ตามความสนใจ สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ค คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ทักษะทีส่ ําคัญในการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญที่ครูครูจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับนักเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอ่ืนๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร ประกอบดวย ทักษะการสังเกต (Observing) เปนความสามารถในการใชป ระสาทสัมผสั อยา งใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผสู ังเกต ประสาทสมั ผัสทั้ง 5 ไดแก การดู การฟง เสียง การดมกลิ่น การชมิ รส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเคร่ืองมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ จากเคร่ืองมือที่เลือกใชออกมาเปน ตัวเลขไดถูกตองและรวดเรว็ พรอมระบุหนว ยของการวัดไดอยางถกู ตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เกบ็ รวบรวมไวในอดตี ทกั ษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปน ความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ที่สนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากน้ียังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หนง่ึ ของส่งิ ตา ง ๆ ที่ตอ งการจําแนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พื้นท่ีที่วัตถุครอบครอง ในท่ีนี้อาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหลานี้อาจมีความสัมพันธกัน ดงั นี้ การหาความสมั พนั ธระหวา งสเปซกบั สเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ที่ ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสัมพนั ธระหวา งสเปซกับเวลา เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สัมพันธกันระหวางพ้ืนที่ท่ีวัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เม่ือเวลาผา นไป  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ง ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคํานวณเพื่อบรรยายหรอื ระบุรายละเอยี ดเชงิ ปริมาณของสงิ่ ทสี่ ังเกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปนความสามารถในการนําผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรือมคี วามสมั พันธกันมากขึ้น จนงา ยตอ การทาํ ความเขา ใจหรือเห็นแบบรูปของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อส่อื สารใหผูอืน่ เขา ใจความหมายของขอมูลมากข้ึน ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณท่ี แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนดําเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การต้ังสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่ คาดการณไวหรอื ไมก ็ได ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตาง ๆ ท่อี ยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเขาใจตรงกนั และสามารถสงั เกตหรอื วดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ท้ังตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงท่ี ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน ซึ่งอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ไดแก ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตวั แปรท่ตี องควบคมุ ใหค งท่ี ซงึ่ ลวนเปนปจจัยท่เี ก่ียวของกับการทดลอง ดงั นี้ ตัวแปรตน (Independent Variable) หมายถึง สง่ิ ทเี่ ปน ตนเหตทุ ําใหเกิดการเปล่ยี นแปลง จงึ ตอ ง จัดสถานการณใหม ีส่งิ นแี้ ตกตางกนั ตวั แปรตาม (Dependent Variable) หมายถงึ สิ่งท่ีเปน ผลจากการจดั สถานการณบางอยา งให แตกตา งกนั และเราตองสงั เกต วัด หรือตดิ ตามดู ตัวแปรท่ีตอ งควบคมุ ใหค งที่ (Controlled Variable) หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ที่อาจสง ผลตอการจัด สถานการณ จงึ ตองจดั สิ่งเหลานใ้ี หเหมอื นกันหรือเทา กนั เพ่อื ใหมน่ั ใจวาผลจากการจัดสถานการณเกดิ จากตวั แปรตน เทานัน้ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

จ คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได ละเอียด ครบถวน และเที่ยงตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสัมพันธของขอมูลทั้งหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชส่ิงที่ทํา ข้ึนมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณท่ีศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลอื่ นไหว รวมถงึ ความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอื่นเขาใจในรูป ของแบบจําลองแบบตาง ๆ ทกั ษะแหง ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะท่ีจําเปนแหงศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงสอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศึกษาจะเนน ใหครูครสู ง เสรมิ ใหนกั เรียนมีทักษะ ดังตอ ไปน้ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ มีการคิดอยางเปนระบบ วิเคราะห ประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองที่ หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณแ ละกระบวนการเรียนรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแกปญหาที่ไมคุนเคย หรือ ปญหาใหม โดยอาจใชค วามรู ทักษะ วิธกี ารและประสบการณท่ีเคยรมู าแลว หรอื การสืบเสาะหาความรู วิธีการ ใหมมาใชแกปญหาก็ได นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพื่อทําความเขาใจมุมมองที่แตกตาง หลากหลาย เพ่อื ใหไ ดว ธิ ีแกป ญ หาทดี่ ียิ่งขึน้ การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารไดอ ยางชดั เจน เชอื่ มโยง เรยี บเรียงความคิดเเละมุมมองตาง ๆ แลว สื่อสารโดยการใชคาํ พดู หรือการเขียน เพ่ือใหผูอื่นเขาใจได หลากหลายรปู แบบและวัตถปุ ระสงคน อกจากนยี้ ังรวมไปถงึ การฟงอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ือใหเ ขาใจ ความหมายของผสู งสาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุมตาง ๆ ท่ี หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพื่อใหบรรลุ  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ฉ เปาหมายการทํางาน พรอมท้งั ยอมรับและแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ งานท่ีทาํ รวมกัน และเห็นคุณคาของผลงาน ท่พี ฒั นาขนึ้ จากสมาชิกแตล ะคนในทมี การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคที่หลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลนั่ กรอง ทบทวน วิเคราะห และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรุงใหไดแนวคิดที่จะสงผลให ความพยายามอยา งสรา งสรรคนเ้ี ปนไปไดม ากทส่ี ุด การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อเปนเครื่องมือสืบคน จัดกระทํา ประเมนิ และส่อื สารขอ มูลความรตู ลอดจนรเู ทาทนั ส่อื โดยการใชส ื่อตา ง ๆ ไดอ ยา งเหมาะสมมีประสทิ ธิภาพ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ช คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ผงั มโนทศั น (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 เลม 1 ประกอบดว ย ไดแก ไดแ ก  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ซ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ว 2.1 ป.2/1 เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับนํ้าของ  วสั ดแุ ตละชนิดมีสมบัตกิ ารดูดซบั นํ้าแตกตางกันจงึ นําไปทําวัตถุเพ่ือใชประโยชนได วัสดุโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ และ แตกตางกัน เชน ใชผาที่ดูดซับน้ําไดมากทําผาเช็ดตัว ใชพลาสติกซึ่งไมดูดซับนํ้า ระบุการนําสมบัติการดูดซับน้ําของวัสดุ ทาํ รม ไป ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ใ น ก า รทํ า วั ต ถุ ใ น ชีวติ ประจําวนั ว 2.1 ป.2/2 อธิบายสมบัติที่สังเกตไดของวัสดุท่ีเกิด  วัสดุบางอยางสามารถนํามาผสมกันซ่ึงทําใหไดสมบัติที่เหมาะสม เพ่ือนําไปใช จากการนําวัสดุมาผสมกันโดยใช ประโยชนตามตองการ เชน แปงผสมนํ้าตาลและกะทิ ใชทําขนมไทย ปูน ปลาสเตอรผ สมเยอ่ื กระดาษใชทํากระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย และน้ําใชทํา หลักฐานเชิงประจกั ษ คอนกรีต ว 2.1 ป.2/3 เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตไดของวัสดุ  การนําวัสดุมาทําเปนวัตถุในการใชงานตามวัตถุประสงคข้ึนอยูกับสมบัติของวัสดุ เพ่ือนํามาทําเปนวัตถุในการใชงานตาม วัสดทุ ใ่ี ชแ ลวอาจนํากลับมาใชใหมได เชน กระดาษใชแลวอาจนํามาทําเปนจรวด วัตถปุ ระสงคและอธิบายการนําวัสดุท่ีใช กระดาษ ดอกไมประดิษฐถุงใสของ แลวกลับมาใชใหมโดยใชหลักฐานเชิง ประจกั ษ ว 2.1 ป.2/4 ตระหนักถึงประโยชนของการนําวัสดุที่ ใชแลวกลับมาใชใหม โดยการนําวัสดุท่ี ใชแลวกลับมาใชใหม สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฌ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ขอแนะนาํ การใชคมู อื ครู คูมือครูเลมนี้จัดทําข้ึนเพื่อใชเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรู นกั เรียนจะไดฝ ก ทกั ษะจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ท้ังการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การ อภิปราย การทํางานรวมกัน ซ่ึงเปนการฝกใหนักเรียนชางสังเกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพ่ือตอบ ปญ หาตา ง ๆ ไดดว ยตนเอง ทัง้ นี้โดยมเี ปา หมายเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากท่ีสุด ดังนั้น ในการจดั การเรยี นรคู รจู ึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูจากสื่อและ แหลง การเรยี นรูต าง ๆ และเพม่ิ เตมิ ขอ มูลทีถ่ กู ตอ งแกนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรู ดวยตนเอง เพ่ือใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมนี้มากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละ หัวขอ และขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระการเรียนรูแกนกลางเปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีปรากฏใน มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดไวเฉพาะสวนท่ีจําเปนสําหรับเปนพื้นฐาน เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น โดยสอดคลองกับสาระและ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนักเรียน ในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระ ทปี่ รากฏอยูต ามสาระการเรยี นรโู ดยสถานศึกษาสามารถพฒั นาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบดวย การออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพ่ือเอ้ือตอการจัดการเรียนรูบูรณาการสาระ ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชิงวศิ วกรรม ตามแนวคิดสะเตม็ ศกึ ษา 2. ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจาํ หนว ย ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจําหนว ยมีไวเพ่ือเชื่อมโยงเน้ือหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัดท่ีจะไดเรียนในแตละกิจกรรมของหนวยนั้น ๆ และเปนแนวทางใหครูครูนําไปปรับปรุงและ เพิม่ เติมตามความเหมาะสม 3. จุดประสงคการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียนท้ัง สวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูท่ีสอดคลองกับตัวช้ีวัดช้ันปเพ่ือให นักเรียนเกิด การเรียนรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใหม มีทักษะในการใชเทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยูในสังคมไทยไดอยา งมีความสขุ  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ญ 4. บทนมี้ ีอะไร สว นทีบ่ อกรายละเอียดในบทน้นั ๆ ซึ่งประกอบดว ยชือ่ เรือ่ ง คําสําคัญ และช่ือกิจกรรม เพ่ือครูจะ ไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตล ะบท 5. ส่ือการเรยี นรแู ละแหลงเรยี นรู สวนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูท่ีตองใชสําหรับการเรียนในบท เร่ือง และ กิจกรรมน้ัน ๆ โดยส่ือการเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต สื่อส่ิงพิมพ สื่อโสตทัศนูปกรณหรือวีดิทัศนตัวอยางปฏิบัติการ ทางวทิ ยาศาสตรเพอ่ื เสริมสรางความมนั่ ใจในการสอนปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรส ําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 ทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปน ทักษะที่นักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 เปนทักษะที่ชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพือ่ ใหท ันตอ การเปลยี่ นแปลงของโลก สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฎ คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 วดี ทิ ัศนต ัวอยา งการปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตรส าํ หรบั ครเู พ่ือฝก ฝนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต า ง ๆ มดี ังนี้ รายการวดี ิทัศนตัวอยา ง ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code การปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตร วีดทิ ัศน การสงั เกตและการ การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115 ลงความเห็นจากขอ มูล ความเหน็ จากขอมลู ทาํ ไดอ ยา งไร วดี ิทัศน การวัดทําไดอยางไร การวดั http://ipst.me/8116 วีดิทศั น การใชต วั เลขทําได การใชจ ํานวน http://ipst.me/8117 อยางไร วีดทิ ัศน การจาํ แนกประเภท การจาํ แนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาํ ไดอยา งไร วดี ทิ ศั น การหาความสมั พันธ การหาความสัมพนั ธ http://ipst.me/8119 ระหวา งสเปซกับสเปซ ระหวา งสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120 ทําไดอยา งไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดทิ ศั น การหาความสมั พนั ธ การหาความสมั พนั ธ ระหวางสเปซกับเวลา ระหวา งสเปซกับเวลา ทําไดอยา งไร วีดทิ ศั น การจดั กระทาํ และสือ่ การจัดกระทําและส่อื ความหมายขอมลู ความหมายขอมลู ทําไดอยางไร วดี ิทศั น การพยากรณทําได การพยากรณ อยางไร  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ฏ รายการวดี ทิ ัศนตัวอยาง ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code การปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตร http://ipst.me/8123 วดี ิทศั น ทาํ การทดลองได การทดลอง อยางไร วดี ทิ ัศน การต้ังสมมตฐิ านทํา การตงั้ สมมติฐาน http://ipst.me/8124 ไดอ ยางไร วีดิทศั น การกาํ หนดและ การกาํ หนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคมุ ตัวแปรและ ตัวแปรและ การกาํ หนดนยิ ามเชงิ การกาํ หนดนิยามเชิง ปฏิบตั ิการทําได ปฏิบตั กิ าร อยางไร การตีความหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 วดี ทิ ัศน การตีความหมาย ลงขอสรปุ ขอ มูลและลงขอสรุป ทาํ ไดอยางไร การสรา งแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 วีดิทัศน การสรางแบบจําลอง ทําไดอยา งไร สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฐ คมู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 7. แนวคิดคลาดเคล่อื น ความเช่ือ ความรู หรือความเขาใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซ่ึงเกิดข้ึนกับนักเรียน เน่ืองจาก ประสบการณในการเรียนรูท่ีรับมาผิดหรือนําความรูท่ีไดรับมาสรุปตามความเขาใจของตนเองผิด แลว ไมสามารถอธิบายความเขาใจนั้นได ดังน้ันเม่ือเรียนจบบทน้ีแลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ นกั เรียนใหเ ปนแนวคดิ ทถี่ กู ตอ ง 8. บทนี้เริ่มตน อยา งไร แนวทางสําหรับครูในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผล ครูควรกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและใหนักเรียน ตอบคําถามสํารวจความรูกอนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนและยังไมเฉลย คาํ ตอบท่ีถูกตอ ง เพอ่ื ใหน ักเรยี นไปหาคําตอบจากเร่อื งและกจิ กรรมตาง ๆ ในบทน้ัน 9. เวลาท่ใี ช การเสนอแนะเวลาท่ีใชในการจัดการเรยี นการสอนวา ควรใชประมาณกช่ี ั่วโมง เพ่ือชว ยใหครูครูได จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาไดตาม สถานการณและความสามารถของนักเรียน 10. วัสดอุ ปุ กรณ รายการวัสดุอุปกรณทั้งหมดท้ังหมดสําหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีท้ังวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ สาํ เรจ็ รปู อุปกรณพ ้ืนฐาน หรอื อื่น ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนาสําหรบั ครู เพื่อจดั การเรียนรใู นคร้ังถัดไป การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับการจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ท่ตี องใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพท่ีใชการไดดีและมีจํานวนเพียงพอกับนักเรียน โดย อาจมบี างกจิ กรรมตอ งทาํ ลว งหนา หลายวัน เชน การเตรียมถงุ ปริศนาและขาวโพดค่ัวหรอื ส่งิ ท่กี ินได ขอเสนอแนะเพมิ่ เติม นกั เรียนในระดบั ช้ันประถมศึกษา มีกระบวนการคิดทเ่ี ปน รูปธรรม ครจู ึงควรจัดการเรียนการสอนที่ มุงเนนใหนักเรียนไดปฏิบัติหรือทําการทดลองดวยตนเอง ซึ่งเปนวิธีหน่ึงที่นักเรียนจะไดมีประสบการณตรง ดงั นน้ั ครคู รูจึงตองเตรียมตัวเองในเรอ่ื งตอไปน้ี 11.1 บทบาทของครู ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอดความรูเปนผู ชวยเหลือ โดยสงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงการ เรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดนําขอมูลเหลานั้นไปใช สรา งสรรคค วามรขู องตนเอง  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ฑ 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนใหมีความพรอมในการทํา กิจกรรมตาง ๆ แตบางคร้ังนักเรียนไมเขาใจและอาจจะทํากิจกรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึง ตอ งเตรียมตวั เอง โดยทําความเขาใจในเรือ่ งตอไปน้ี การสืบคนขอมูลหรือการคนควาดวยวิธีการตาง ๆ เชน สอบถามจากผูรูในทองถ่ิน ดูจากรูปภาพแผนภูมิ อานหนังสือหรือเอกสารเทาท่ีหาได นั่นคือการใหนักเรียนเปนผูหา ความรแู ละพบความรูหรอื ขอ มลู ดว ยตนเอง ซึ่งเปนการเรียนรดู ว ยวธิ แี สวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน ใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอ่ืนตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจใหวาดรูป หรือตัด ขอความจากหนังสอื พมิ พ แลวนํามาติดไวใ นหอ ง เปนตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออื่น ๆ เพ่ือสรางองคความรูเปน สิ่งสําคัญยิ่งตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูครูสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดท้ังใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือที่บาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง อาจใชอุปกรณที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติ ขอสําคัญ คือ ครูครู ตองใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมนั้น และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจาก การทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซ่ึงจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรพ รอ มกบั เกดิ คานิยม คุณธรรม เจตคตทิ างวิทยาศาสตรดวย 12. แนวการจดั การเรียนรู แนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีมุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดดวย ตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการทาง วิทยาศาสตรไปใช วธิ ีการจดั การเรียนรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายท่ีกําหนด ไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบท่ีสําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจ ตรวจสอบ และอภปิ รายซักถามระหวางครกู ับนักเรียนเพ่ือนําไปสูขอมลู สรุป ขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามความ เหมาะสมเพ่อื ใหบ รรลุจุดมงุ หมาย โดยจะคํานงึ ถงึ เรือ่ งตา ง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี 12.1 นกั เรยี นมสี ว นรวมในกจิ กรรมการเรียนรู ครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการ เรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใชเทคนิคตาง ๆ เชน การใชคําถาม การเสริมแรงมาใชใหเปนประโยชน เพื่อใหการเรียน การสอนนา สนใจและมีชวี ิตชีวา สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฒ คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 12.2 การใชคําถาม เพื่อนํานักเรียนเขาสูบทเรียนและลงขอสรุป โดยไมใชเวลานานเกินไป ท้ังน้ี ครูตองวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใชคําถามที่มีความยากงาย พอเหมาะกับความสามารถของนักเรียน 12.3 การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนส่ิงจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครคู วรเนน ยํ้าใหนกั เรียนไดส าํ รวจตรวจสอบซาํ้ เพ่ือนาํ ไปสขู อ สรปุ ท่ีถูกตอ งและเช่ือถอื ได 13. ขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ขอเสนอแนะสําหรับครูท่ีอาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณ ท่ีเหมาะสมหรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพอื่ ลดขอ ผิดพลาด ตัวอยางตาราง และเสนอแหลง เรียนรูเ พื่อการคน ควาเพ่ิมเตมิ 14. ความรเู พมิ่ เติมสาํ หรบั ครู ความรูเพิ่มเติมในเนื้อหาท่ีสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกขึ้น เพื่อเพิ่มความรูและความม่ันใจ ในเรื่องท่ีจะสอนและแนะนํานักเรียนที่มีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วยั และระดบั ชน้ั 15. อยาลืมนะ สวนที่เตือนไมใหครูเฉลยคําตอบท่ีถูกตอง กอนที่จะไดรับฟงความคิดและเหตุผลของนักเรียน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องนั้นอยางไร บาง โดยครคู วรใหค าํ แนะนาํ เพ่ือใหน กั เรียนหาคําตอบไดดวยตนเอง นอกจากนั้นครูควรใหความสนใจ ตอ คําถามของนกั เรียนทกุ คนดวย 16. แนวการประเมนิ การเรยี นรู การประเมินการเรียนรูของนักเรียนท่ีไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน คําตอบของนักเรียนระหวาง การจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ที่ไดจ ากการทาํ กจิ กรรมของนักเรียน 17. กจิ กรรมทา ยบท สวนทใี่ หน กั เรยี นไดส รุปความรู ความเขา ใจ ในบทเรียน และไดต รวจสอบความรูใ นเนื้อหาท่ีเรยี น มาท้งั บท หรืออาจตอ ยอดความรูในเรอ่ื งน้ัน ๆ ขอ แนะนาํ เพิม่ เติม 1. การสอนอา น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตวั หนงั สอื ถาออกเสยี งดวย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคาํ วา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อา นรหัส อา นลายแทง  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ณ ปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะที่สําคัญ จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแกนักเรียนเปนอยางมาก เนื่องจากการอานเปนกระบวนการสําคัญท่ีทําใหผูอาน สรา งความหมายหรือพฒั นาการวิเคราะห ตีความในระหวางอาน ผูอานจะตองรูหัวเรื่อง รูจุดประสงคการอาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาท่ีใชในหนังสือท่ีอานและจําเปนตองใชประสบการณเดิมท่ีเปน ประสบการณพื้นฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองท่ีอาน ทั้งนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานท่ี แตกตางกัน ข้ึนอยูกับองคประกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรอื ความสนใจเร่อื งทอี่ า น ครูควรสงั เกตนกั เรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซ่งึ ครูจะตองพิจารณาทงั้ หลกั การอา น และความเขา ใจในการอา นของนักเรียน การรูเรื่องการอาน (Reading literacy) หมายถึง การเขาใจขอมูล เนื้อหาสาระของส่ิงที่อาน การใช ประเมินและสะทอนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับส่ิงที่อานอยางตั้งใจเพ่ือบรรลุเปาหมายสวนตัวของตนเองหรือ เพ่ือพัฒนาความรูและศักยภาพของตนเองและนําความรูและศักยภาพนั้นมาใชในการแลกเปล่ียนเรียนรูใน สังคม (PISA, 2018) กรอบการประเมนิ ผลนักเรียนเพอื่ ใหม สี มรรถนะการอา นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถ สรุปไดดงั แผนภาพดานลาง จากกรอบการประเมินดังกลาวจะเห็นไดวา การรูเร่ืองการอานเปนสมรรถนะท่ีสําคัญท่ีครูควรสงเสริมให นักเรียนมีความสามารถใหครอบคลุม ต้ังแตการคนหาขอมูลในส่ิงที่อาน เขาใจเน้ือหาสาระที่อานไปจนถึง ประเมินคาเน้ือหาสาระท่ีอานได การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจําเปนตองอาศัยการอานเพื่อหาขอมูล ทําความเขาใจเน้ือหาสาระของส่ิงที่อาน รวมทั้งประเมินส่ิงท่ีอานและนําเสนอมุมมองของตนเองเกี่ยวกับส่ิงท่ี อาน นักเรียนควรไดรบั สงเสรมิ การอา นดังตอ ไปนี้ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ด คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 1. นักเรยี นควรไดรับการฝก การอา นขอ ความแบบตอเนือ่ งจําแนกขอความแบบตาง ๆ กัน เชน การบอก การพรรณนา การโตแยง รวมไปถึงการอานขอเขียนที่ไมใชขอความตอเน่ือง ไดแก การอานรายการ ตาราง แบบฟอรม กราฟ และแผนผัง เปนตน ซ่ึงขอความเหลาน้ีเปนส่ิงท่ีนักเรียนไดพบเห็นใน โรงเรียน และจะตองใชใ นชีวิตจรงิ เม่อื โตเปนผใู หญ ซง่ึ ในคมู ือครูเลม น้ีตอไปจะใชคําแทนขอความท้ังท่ี เปน ขอความแบบตอเนื่องและขอ ความที่ไมใ ชขอความตอ เนื่องวา สง่ิ ที่อาน (Text) 2. นักเรียนควรไดรับการฝกฝนใหมีความสามารถในการประเมินสิ่งท่ีอานวามีความเหมาะสมสอดคลอง กับลักษณะของขอเขียนมากนอยเพียงใด เชน ใชนวนิยาย จดหมาย หรือชีวะประวัติเพื่อประโยชน สวนตัว ใชเอกสารราชการหรือประกาศแจงความเพื่อสาธารณประโยชน ใชรายงานหรือคูมือตางๆ เพ่อื การทาํ งานอาชีพ ใชตําราหรือหนังสือเรียน เพอื่ การศกึ ษา เปนตน 3. นกั เรียนควรไดร บั การฝก ฝนใหม ีสมรรถนะการอา นเพื่อเรียนรู ในดานตา ง ๆ ตอ ไปนี้ 3.1 ความสามารถทจี่ ะคนหาเนอื้ หาสาระของสง่ิ ที่อาน (Retrieving information) 3.2 ความสามารถท่จี ะเขา ใจเน้อื หาสาระของส่งิ ที่อา น (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของส่ิงที่อาน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเห็นหรือโตแยงจากมุมมองของตน เกี่ยวกับเนื่อหาสาระของส่งิ ทอี่ า น (Reflection and evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะทอนความคิดเห็นหรือโตแยงจากมุมมองของตน เก่ียวกับรูปแบบของสิง่ ท่อี าน (Reflection and evaluation the form of a text) ท้งั น้ี สสวท. ขอเสนอแนะวธิ ีการสอนแบบตา ง ๆ เพอื่ เปนการฝก ทกั ษะการอานของนักเรียน ดงั น้ี  เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The Directed Reading-Thinking Activity) การสอนอานทมี่ งุ เนน ใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการอาน ดวยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี 1. ครจู ดั แบง เนือ้ เร่ืองทีจ่ ะอา นออกเปนสว นยอ ย และวางแผนการสอนอา นของเน้อื เร่อื งทง้ั หมด 2. นาํ เขาสูบ ทเรยี นโดยชกั ชวนใหน ักเรยี นคิดวา นักเรียนรูอะไรเกี่ยวกับเรอื่ งทจี่ ะอา นบา ง 3. ครใู หน ักเรยี นสังเกตรูปภาพ หวั ขอ หรอื อืน่ ๆ ที่เกยี่ วกบั เนอ้ื หาทจี่ ะเรียน 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเน้ือหาของเรื่องท่ีกําลังจะอาน ซึ่งอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เกยี่ วกบั อะไร โดยครูพยายามกระตนุ ใหนักเรียนไดแ สดงความคดิ เหน็ หรือคาดคะเนเน้ือหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนสิ่งท่ีตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภปิ รายแลวเขียนแนวคดิ ของนกั เรียนแตละคนไวบ นกระดาน  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ต 6. นักเรียนอานเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเอง ตรงกับเนื้อเรื่องที่อานหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเร่ืองท่ีอานมีเนื้อหาตรงกับท่ีคาดคะเนไวให นกั เรียนแสดงขอ ความทส่ี นบั สนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยา งไรบาง 8. ทําซํ้าขั้นตอนเดิมในการอานเน้ือเรื่องสวนอ่ืน ๆ เม่ือจบทั้งเร่ืองแลว ครูปดเร่ืองโดยการทบทวน เนอ้ื หาและอภิปรายถงึ วิธีการคาดคะเนของนักเรยี นท่ีควรใชส ําหรบั การอา นเร่ืองอนื่ ๆ  เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเช่ือมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปนรูปธรรม และเปน ระบบ โดยผา นตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรยี นรูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน นักเรียนตองการรู อะไรเก่ียวกบั เรอ่ื งท่จี ะอา น นักเรียนไดเรียนรูอะไรบางจากเรื่องท่ีอาน) โดยมีข้ันตอนการจัดการเรียนการสอน ดงั นี้ 1. นําเขาสูบทเรียนดวยการกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยการใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรือ วีดิทศั นทเี่ ก่ียวกบั เนอ้ื เรือ่ ง เพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา สเู รอ่ื งท่จี ะอาน 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีขั้นตอน ดังน้ี ขน้ั ท่ี 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ข้ัน K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนท่ีให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะอาน แลวบันทึกสิ่งท่ีตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตง้ั คําถามกระตนุ ใหนกั เรยี นไดแ สดงความคดิ เห็น ขั้นที่ 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ข้ันตอนที่ใหนักเรียนตั้งคําถามเก่ียวกับส่ิงท่ีตองการรูเก่ียวกับเรื่องท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรียนรวมกันกาํ หนดคาํ ถาม แลวบันทึกส่งิ ที่ตอ งการรูลงในตารางชอ ง W ข้ันท่ี 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ขั้นตอนท่ีสํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเนื้อเรื่อง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามที่กําหนดไวในตารางชอง W จากน้ันนําขอมูลท่ีไดจากการอานมา จดั ลาํ ดับความสาํ คัญของขอมลู และสรปุ เนื้อหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครูและนักเรยี นรว มกนั สรุปเนอ้ื หา โดยการอภปิ รายหรือตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครแู ละนักเรียนอาจรว มกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรยี นการสอนการอาน สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ถ คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1  เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอานที่มงุ เนน ใหนกั เรยี นมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือใหไดมา ซึ่งแนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเร่ืองที่จะเรียนและประสบการณเดิม ของนกั เรียน โดยมขี น้ั ตอนการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี 1. ครูจดั ทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรูหรือเร่ืองใกลตัวนักเรียน เพื่อชวยใหนักเรียน เขาใจถึงการจดั หมวดหมูของคาํ ถามตามแบบ QAR และควรเชื่อมโยงกบั เร่ืองที่จะอานตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรช้ีแจงนักเรียนเกี่ยวกับการอานและการตั้งคําถาม ตามหมวดหมู ไดแก คําถามท่ีตอบโดยใชเน้ือหาจากเร่ืองท่ีอาน คําถามท่ีตองคิดและคนควา คําถามท่ี ไมมคี ําตอบโดยตรง ซ่งึ จะตองใชค วามรเู ดมิ และส่ิงที่ผูเขยี นเขียนไว 3. นักเรียนอานเนอ้ื เร่ือง ตั้งคาํ ถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรว มกันอภิปรายเพอ่ื สรปุ คําตอบ 4. ครูและนักเรยี นรว มกันอภปิ รายเกีย่ วกับการใชเทคนิคน้ดี วยตนเองไดอยา งไร 5. ครูและนกั เรยี นอาจรว มกันอภปิ รายเกย่ี วกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน 2. การใชงานสือ่ QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาที่ตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคลื่อนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลิตภณั ฑของ Apple Inc.) ขั้นตอนการใชงาน 1. เปดโปรแกรมสาํ หรบั อา น QR Code 2. เล่ือนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส เชน โทรศพั ทเ คล่ือนท่ี แท็บเลต็ เพ่ือสองรูป QR Code ไดทั้งรปู 3. เปดไฟลห รอื ลงิ กที่ขน้ึ มาหลงั จากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท ีใ่ ชอา น QR CODE ตองเปด Internet ไวเ พอื่ ดึงขอ มลู 3. การใชงานโปรแกรมประยุกตค วามจริงเสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ) โปรแกรมประยกุ ตค วามจรงิ เสริม (Augmented reality) เปนโปรแกรมที่สรางขึ้นเพ่ือเปนส่ือเสริม ชวยใหนักเรียนเขาใจเน้ือหาสาระของบทเรียนอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น สําหรับระดับประถมศึกษาปท่ี 2 จะ ใชงานผานโปรแกรมประยกุ ต “วิทย ป.2” ซง่ึ สามารถดาวนโหลดไดทาง Play Store หรอื Apps Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพ้ืนท่ีจัดเก็บไมเพียงพออาจ ตอ งลบขอ มูลบางอยางออกกอนติดตั้งโปรแกรม ขนั้ ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม 1. เขาไปที่ Play Store ( ) หรือ Apps Store ( ) 2. คน หาคาํ วา “AR วิทย ป.2” 3. กดเขาไปทีโ่ ปรแกรมประยุกตที่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดต้ัง” และรอจนติดตัง้ เรยี บรอ ย  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ท 5. เขาสโู ปรแกรมจะปรากฏหนา แรก จากนัน้ กด “วิธกี ารใชงาน” เพ่ือศึกษาการใชง านโปรแกรม เบ้ืองตน ดวยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวธิ กี ารใชง านดวยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนังสือเรียนหนาทม่ี ีสญั ลักษณ AR 7. สอ งรปู ทอี่ ยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตาง ๆ ตาม ความสนใจ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ธ คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 การจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรใ นระดบั ประถมศกึ ษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกยี่ วกับสง่ิ ตา งๆ รอบตัว และเรียนรไู ดด ที ีส่ ุดดวยการคน พบ จากการลงมือปฏิบัติดว ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสท้ังหา ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนตน จึงควรใหโอกาสนักเรียนมีสวนรวม ในการลงมือปฏบิ ัติ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ การตง้ั คําถามเพ่อื นําไปสูการอภิปราย การแลกเปล่ียนผล การทดลองดว ยคาํ พดู หรอื ภาพวาด การอภิปรายเพ่ือสรปุ ผลรวมกัน สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสูขั้นการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบเขาดวยกันอยางไร และทํางานอยางไร นักเรียนในชวงวัยนี้ตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบรวมมือ ดังนั้นจึง ควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซ่ึงจะเปนการสรางความสามัคคี และประสานสัมพันธ ระหวา งนักเรียนในระดบั นด้ี วย การจัดการเรียนการสอนท่ีเนน การสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาส่ิงตาง ๆ รอบตัว อยางเปนระบบ และเสนอคําอธิบายเก่ียวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสาํ รวจ การสบื คน การทดลอง การสรางแบบจาํ ลอง นกั เรยี นทุกระดบั ช้นั ควรไดรับโอกาสในการสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตรและพัฒนาความสามารถใน การคิดและแสดงออกดวยวิธีการท่ีเช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซึ่งรวมท้ังการตั้งคําถาม การวางแผนและ ดําเนินการสืบเสาะหาความรู การใชเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะห คาํ อธบิ ายท่ีหลากหลาย และการสื่อสารขอโตแยงทางวทิ ยาศาสตร การจดั การเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรู ควรมหี ลายรูปแบบ แตล ะรปู แบบมคี วามตอเนื่องกัน จากทเ่ี นนครูเปน สาํ คญั ไปจนถงึ เนน นักเรยี นเปนสําคญั โดยแบงไดดงั น้ี • การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทาง (Structured inquiry) ครูเปนผูตั้งคําถามและบอก วธิ ีการใหนกั เรียนคน หาคําตอบ ครูชแ้ี นะนักเรยี นทกุ ขัน้ ตอนโดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร • การสืบเสาะหาความรูแบบท้ังครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Guided inquiry) ครูเปนผูตั้งคําถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลอง ดว ยตวั เอง • การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open inquiry) นักเรียนทํากิจกรรมตามท่ีครู กําหนด นักเรียนพัฒนาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครูต้ังข้ึน นักเรียนต้ังคําถามในหัวขอที่ ครเู ลอื ก พรอมทัง้ ออกแบบการสาํ รวจตรวจสอบดวยตนเอง  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 น การสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรในหองเรียน เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมีเรา สามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมีรูปแบบท่ี หลากหลายตามบริบทและความพรอมของครูและนักเรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Open inquiry) ทนี่ ักเรียนเปน ผคู วบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองต้ังแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจ ตรวจสอบ (Investigation) และอธบิ ายส่ิงทีศ่ กึ ษาโดยใชขอมูล (Data) หรอื หลกั ฐาน (Evidence) ท่ีไดจากการ สาํ รวจตรวจสอบ การประเมินและเชอ่ื มโยงความรทู เ่ี กย่ี วขอ งหรือคําอธิบายอ่ืนเพ่ือปรับปรุงคําอธิบายของตน และนาํ เสนอตอผูอ่ืน นอกจากนี้ ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูที่ตนเองเปนผูกําหนดแนวในการทํากิจกรรม (Structured inquiry) โดยครสู ามารถแนะนํานักเรียนไดต ามความเหมาะสม การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมีลักษณะ สําคญั ของการสืบเสาะ ดงั นี้ ภาพ วฏั จกั รการสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหอ งเรียน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

บ คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 การจดั การเรียนการสอนที่สอดคลองกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรท่ีมีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายท่ีบอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอ สรปุ แนวคดิ หรอื คําอธิบายเหลานจ้ี ะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเก่ียวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ึนอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณทค่ี รจู ดั ใหแ กนกั เรียน ความสามารถในการสังเกตและการส่ือความหมายของนักเรียนในระดับน้ี คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและแนวคิด ทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเริ่มที่จะเขาใจวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตรทํางาน อยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรโดยผานการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเรื่องราวเก่ียวกับ นักวิทยาศาสตร และจากการอภิปรายในหองเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซ่ึงกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากขึ้น สามารถนําความรูมาใชเพ่ือกอใหเกิดความคาดหวังเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียน ในระดับน้ี ควรเนนไปท่ีทักษะการต้ังคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายท่ีมีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลักฐานทปี่ รากฏ และการส่อื ความหมายเก่ียวกับความคิดและการสํารวจตรวจสอบของตนเองและของ นกั เรียนคนอ่นื ๆ นอกจากน้ีเรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับน้ีควรมีสวนรวมในกิจกรรมที่ชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณ เกยี่ วกับพยานหลกั ฐานและความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานกบั การอธิบาย การเรียนรวู ทิ ยาศาสตรของนักเรียนแตละระดบั ช้ันมพี ฒั นาการเปนลาํ ดบั ดังน้ี ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 1 สามารถ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 สามารถ • ตั้งคาํ ถาม บรรยายคาํ ถาม เขยี นเกีย่ วกบั คาํ ถาม • ออกแบบและดําเนนิ การสาํ รวจตรวจสอบเพื่อ • บันทึกขอมูลจากประสบการณ สํารวจ ตอบคําถามที่ไดต ง้ั ไว ตรวจสอบชัน้ เรียน • ส่อื ความหมายความคิดของเขาจากส่ิงท่ี • อภิปรายแลกเปล่ียนหลักฐานและความคดิ สงั เกต • เรียนรวู า ทุกคนสามาเรยี นรูวิทยาศาสตรได • อา นและการอภปิ รายเรอ่ื งราวตา ง ๆ เกย่ี วกับ วิทยาศาสตร  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ป ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 3 สามารถ ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 4 สามารถ • ทําการทดลองอยางงาย ๆ • ต้งั คําถามทส่ี ามารถตอบไดโ ดยการใช • ใหเหตุผลเกี่ยวกับการสังเกต การสอ่ื ฐานความรูทางวิทยาศาสตรแ ละการสังเกต ความหมาย • ทํางานในกลมุ แบบรวมมือเพื่อสาํ รวจ • ลงมอื ปฏิบตั กิ ารทดลองและการอภิปราย ตรวจสอบ • คนหาแหลง ขอมลู ทีเ่ ช่ือถือไดและบรู ณาการ • คน หาขอ มลู และการสือ่ ความหมายคาํ ตอบ ขอ มลู เหลา นนั้ กบั การสังเกตของตนเอง • ศกึ ษาประวัตกิ ารทาํ งานของนักวทิ ยาศาสตร • สรา งคาํ บรรยายและคาํ อธิบายจากส่งิ ท่ี สังเกต • นําเสนอประวตั ิการทํางานของ นกั วทิ ยาศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 สามารถ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 สามารถ • สาํ รวจตรอบสอบ • สาํ รวจตรอบสอบทีเ่ นนการใชทกั ษะทาง วทิ ยาศาสตร • ตงั้ คําถามทางวทิ ยาศาสตร • รวบรวมขอ มลู ท่เี กยี่ วของ การมองหาแบบ • ตคี วามหมายขอมูลและคดิ อยางมี แผนของขอ มูล การสอ่ื ความหมายและการ วจิ ารณญาณโดยมหี ลกั ฐานสนบั สนุน แลกเปล่ยี นเรียนรู คาํ อธิบาย • เขาใจความแตกตางระหวา งวิทยาศาสตร • เขา ใจธรรมชาติวิทยาศาสตรจ ากประวตั ิการ และเทคโนโลยี ทาํ งานของนักวิทยาศาสตรท ่ีมีความมานะ อตุ สาหะ • เขาใจการทาํ งานทางวิทยาศาสตรผ า น ประวตั ศิ าสตรข องนักวทิ ยาศาสตรทกุ เพศ ท่ีมีหลายเชอ้ื ชาติ วฒั นธรรม สามารถอานขอมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนการสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรแ ละการจัดการเรยี นรทู ี่สอดคลองกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากคูมือการใชห ลกั สตู ร http://ipst.me/8922 สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ผ คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรูวทิ ยาศาสตร แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 ท่ีเนนนักเรียนเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ี เปดโอกาสใหนักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนา ตนเองเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการจัดกิจกรรมการ เรยี นรูใ นหอ งเรยี น เพราะสามารถทําใหครูประเมนิ ระดับพฒั นาการการเรยี นรูของนักเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคนควา กิจกรรมศึกษาปญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไร ก็ตามในการทํากิจกรรมเหลาน้ีตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ช้นิ เดียวกนั ไดสําเรจ็ ในเวลาทแี่ ตกตางกนั และผลงานทีไ่ ดก อ็ าจแตกตา งกันดว ย เมอื่ นักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนไดทําและผลงานเหลาน้ีตองใช วิธีประเมินท่ีมีความเหมาะสมและแตกตางกันเพ่ือชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคดิ ทแี่ ทจ รงิ ของนกั เรียนได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเมื่อมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณต าง ๆ ทีส่ อดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพ่ือจะไดขอมูลท่ี มากพอทจ่ี ะสะทอนความสามารถท่ีแทจ รงิ ของนกั เรียนได จดุ มงุ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. เพอื่ คน หาและวนิ จิ ฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญ ในการสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพ่ือเปน แนวทางใหครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยางเตม็ ศกั ยภาพ 2. เพื่อใชเปน ขอมูลยอ นกลับสําหรับนกั เรยี นวา มีการเรยี นรอู ยา งไร 3. เพ่ือใชเ ปนขอมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดบั พัฒนาการดา นการเรยี นรขู องนกั เรียน แตละคน การประเมินการเรียนรขู องนักเรยี น มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพื่อปรับปรุงการเรยี นการสอน และการประเมินเพ่อื ตดั สนิ ผลการเรยี นการสอน การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพื่อบงช้ีกอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอะไรบาง การประเมินแบบนี้สามารถ บงชีไ้ ดวานักเรียนคนใดตองการความชวยเหลือเปน พิเศษในเร่ืองท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพื่อพัฒนา ทักษะท่ีจําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงชี้ทักษะหรือแนวคิดท่ีมีอยูแลวของ นักเรียนอีกดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงที่มีการเรียนการ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ฝ สอน การประเมินแบบนี้จะชวยบงช้ีระดับที่นักเรียนกําลังเรียนอยูในเร่ืองท่ีไดสอนไปแลว หรือบงช้ีความรูของ นักเรียนตามจุดประสงคการเรียนรูที่ไดวางแผนไว เปนการประเมินท่ีใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับครู วาเปนไปตามแผนการที่วางไวหรือไม ขอมูลที่ไดจากการประเมินแบบน้ีไมใชเพื่อเปาประสงคในการใหระดับ คะแนน แตเพอ่ื ชวยครใู นการปรับปรงุ การสอน และเพอ่ื วางแผนประสบการณต า งๆ ที่จะใหก บั นกั เรยี นตอไป การประเมินเพ่อื ตัดสนิ ผลการเรยี นการสอน เกดิ ขนึ้ เมื่อสน้ิ สดุ การเรียนการสอนแลว สวนมากเปน “การสอบ” เพ่ือใหระดับคะแนนแกนักเรียน หรือเพ่ือใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพ่ือเปนการบงชี้ ความกาวหนาในการเรียน การประเมินแบบน้ีถือวามีความสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผบู ริหาร อาจารยแ นะแนว ฯลฯ แตก ็ไมใชเปนการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครู ตองระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมเพ่ือตัดสินผลการเรียนของนักเรียน ท้ังนี้เพื่อใหเกิดความสมดุล ความ ยตุ ธิ รรม และเกิดความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับส่ิงอางอิง สวนมากการประเมิน มกั จะอา งอิงกลุม (Norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุม หรือคะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ การประเมินแบบกลุมนี้จะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” อยางไรก็ตามการประเมิน แบบอิงกลุมน้ีจะมีนักเรียนครึ่งหน่ึงท่ีอยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม นอกจากน้ียังมีการประเมินแบบอิง เกณฑ (Criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑท่ีต้ังเอาไวโดยไม คํานึงถึงคะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ ฉะนั้นจุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกให ทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวาบรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยที่นักเรียนแตละคน หรือช้ันเรียนแตละ ช้ัน หรอื โรงเรียนแตละโรงจะไดร บั การตัดสินวา ประสบผลสําเร็จกต็ อ เมื่อ นักเรียนแตละคน หรือช้ันเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑท่ีตั้งไว ขอมูลที่ใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการ สอนสามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรืออิงเกณฑ เทาที่ผานมาการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนจะ ใชก ารประเมนิ แบบอิงกลมุ แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู การเรียนรจู ะบรรลุตามเปา หมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท ี่วางไว ควรมีแนวทางดังตอไปนี้ 1. วัดและประเมินผลท้ังความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมดานวทิ ยาศาสตร รวมท้งั โอกาสในการเรยี นรูของนักเรียน 2. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรทู ่ีกาํ หนดไว 3. เก็บขอ มลู จากการวดั และประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตอ งประเมินผลภายใตขอมูลทมี่ ีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนําไปสกู ารแปลผลและลงขอสรปุ ทส่ี มเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลตองมีความเที่ยงตรงและเปนธรรม ทั้งในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมิน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

พ คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 วธิ ีการและแหลงขอมูลทใี่ ชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพ่อื ใหการวัดผลและประเมนิ ผลไดสะทอนความสามารถที่แทจ ริงของนักเรยี น ผลการประเมินอาจ ไดม าจากแหลงขอมูลและวิธกี ารตา งๆ ดงั ตอไปนี้ 1. สงั เกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรือรายกลมุ 2. ชนิ้ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท้ังแบบเปน ทางการและไมเปน ทางการ 4. บนั ทึกของนักเรียน 5. การประชมุ ปรึกษาหารอื รว มกันระหวางนักเรยี นและครู 6. การวดั และประเมินผลภาคปฏบิ ัติ 7. การวัดและประเมินผลดา นความสามารถ 8. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู ดยใชแ ฟมผลงาน  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ฟ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเนอ้ื หาและกจิ กรรม ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที่ 2 เลม 1 กับตัวชี้วดั กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนว ยการเรียนรู ช่อื กิจกรรม เวลา ตัวชี้วดั (ชั่วโมง) - หนว ยท่ี 1 การ บทที่ 1 เรยี นรูแบบนักวิทยาศาสตร เรียนรสู ิง่ ตา ง ๆ เรอ่ื งท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 2 รอบตวั 1 กิจกรรมท่ี 1.1 สงั เกตส่งิ ตาง ๆ ไดอ ยางไร 2 หนว ยที่ 2 วัสดุ กิจกรรมท่ี 1.2 จําแนกประเภทสิ่งตา ง ๆ ไดอยางไร 3 และการใช เรือ่ งท่ี 2 การสบื เสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร 1 ประโยชน กิจกรรมท่ี 2 รวบรวมขอมูลเพือ่ หาคําตอบไดอยา งไร 3 กิจกรรมทายบทที่ 1 เรียนรูแ บบนกั วทิ ยาศาสตร 2 บทท่ี 1 สมบตั กิ ารดดู ซับนํ้าของวสั ดแุ ละการใชป ระโยชนจากวสั ดุ 2 • เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ํา เรอื่ งที่ 1 สมบัติการดดู ซบั นํา้ ของวสั ดุ 1 ของวั สดุโด ยใชห ลักฐา นเชิ ง 3 ประจักษ และระบุการนําสมบัติ กจิ กรรมท่ี 1 การดูดซบั นํา้ ของวสั ดุแตละชนดิ เปน อยา งไร ก า ร ดู ด ซั บ นํ้ า ข อ ง วั ส ดุ ไ ป เรอ่ื งที่ 2 สมบัติของวัสดทุ ไี่ ดจ ากการผสมวัสดุ 1 ประยุกตใชในการทําวัตถุใน กิจกรรมที่ 2 สมบัตขิ องวัสดทุ ่ไี ดจ ากการนาํ วัสดมุ าผสม 3 ชีวติ ประจําวนั กันเปนอยา งไร เรื่องที่ 3 การใชประโยชนจากวสั ดุ • อธบิ ายสมบัตทิ ่สี ังเกตไดข องวัสดุที่ กจิ กรรมท่ี 3.1 เลอื กวสั ดุมาใชป ระโยชนไดอ ยางไร 1 เกิดจากการนําวัสดุมาผสมกันโดย กจิ กรรมที่ 3.2 วสั ดทุ ี่ใชแ ลวนาํ กลบั มาใชใหมไ ดอยา งไร 2 ใชหลักฐานเชงิ ประจกั ษ กิจกรรมทายบทท่ี 1 สมบัตกิ ารดูดซับนา้ํ ของวสั ดุและการใช ประโยชนจ ากวัสดุ • เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตไดของ 2 วัสดุ เพื่อนํามาทําเปนวัตถุในการ ใ ช ง า น ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค แ ล ะ 2 อธิบายการนาํ วัสดุท่ใี ชแ ลว กลับมา ใชใ หมโดยใชหลักฐานเชงิ ประจักษ • ตระหนักถึงประโยชนของการนํา วัสดุที่ใชแลวกลับมาใชใหม โดย การนาํ วัสดทุ ีใ่ ชแลวกลบั มาใชใหม รวมจํานวนชว่ั โมง 31 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทีใ่ ช และส่งิ ทต่ี องเตรยี มลว งหนานนั้ ครสู ามารถปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมไดตามความ เหมาะสมของสภาพทองถ่ิน สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ภ คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 รายการวัสดุอปุ กรณวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 ลําดบั ท่ี รายการ จาํ นวน/กลุม จาํ นวน/หอ ง จาํ นวน/คน หนวยท่ี 1 การเรียนรสู งิ่ ตา ง ๆ รอบตัว 1 ไรทะเล (หรือไรแดง หรือมด) 1 ตวั 1 ใบ 2 แวน ขยาย 2 อัน 1 ใบ 3 จานสี 1 แผน 4 กลอ งพลาสติกใส 5 หลอดหยด 1 อัน 6 บัตรภาพสิง่ ตาง ๆ 1 ชดุ 1 แผน 7 แผน พลาสติกลูกฟูก 1 มวน 8 เทปใส 1 กลอง 9 กระดาษ A4 10 สีไม หนวยที่ 2 วัสดุและการใชประโยชน 1 พลาสตกิ (5 cm x10 cm) 1 แผน 1 ผนื 2 ผาฝา ย (5 cm x10 cm) 1 แผน 1 แผน 3 กระดาษเย่อื (5 cm x10 cm) 4 ใบ 4 อะลมู เิ นยี มฟอยล (5 cm x10 cm) 1 อนั 1 กลอง 5 สผี สมอาหาร - 1 ซอง 1 กระปุกใหญ - 6 แกว นา้ํ 1 ถัง 1 ใบ 7 หลอดหยด 1 เลม 1 ใบ 8 กลองนม 9 กระดาษเหลือใช (นกั เรยี นเตรยี มเอง) - 10 กาวลาเทกซหรือกาวแปงเปย ก 11 นํ้า 12 กะละมงั 13 กรรไกร 14 จานกระเบื้อง  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 ม ลําดบั ท่ี รายการ จํานวน/กลมุ จํานวน/หอง จาํ นวน/คน 15 สิง่ ของท่ใี ชแลว (นกั เรยี นเตรียมเอง) - -- 16 กระดาษสี (คละสี) 4 แผน 17 สีเมจิก 1 แพ็ค 18 สีนํา้ 1 กลอง 19 จานสี 1 ใบ 20 พกู ัน 2-3 อัน 21 กาว 1 กระปุก 22 ไมบรรทัด 1 อนั สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

หนว ยที่ 1 การเรยี นรสู ่ิงตา ง ๆ รอบตัว1 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรียนรสู ่ิงตาง ๆ รอบตัว ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจําหนว ยที่ 1 การเรยี นรสู ง่ิ ตาง ๆ รอบตวั บท เร่ือง กจิ กรรม ลาํ ดบั การจัดการเรยี นรู ตวั ช้วี ดั - บทที่ 1 เรยี นรแู บบ เร่อื งที่ 1 ทกั ษะ กจิ กรรมท่ี 1.1 สงั เกต • การสังเกตนอกจากจะใช นักวทิ ยาศาสตร กระบวนการทาง สิ่งตาง ๆ ไดอยา งไร ประสาทสัมผัสท้ังหาแลว วทิ ยาศาสตร ยงั อาจใชเ ครือ่ งมือมาชวยใน การสังเกตเพ่ือใหไดขอมูล ทางวิทยาศาสตรท่ีชัดเจน และละเอยี ดย่งิ ขนึ้ กิจกรรมท่ี 1.2 จําแนก • การจําแนกประเภทเปนการ ประเภทส่งิ ตาง ๆ ได นํ า ข อ มู ล ที่ เ ห มื อ น ห รื อ อยา งไร แตกตางกันมาแยกเปนกลุม โดยใชเกณฑในการจําแนก เรอื่ งที่ 2 การ กจิ กรรมที่ 2 รวบรวม • การรว บรวมขอมูล จาก สืบเสาะหาความรู ขอมลู เพอ่ื หาคําตอบได แหลงขอมูลหลาย ๆ แหลง ทางวทิ ยาศาสตร อยางไร ท่ีนาเช่ือถือ เปนสวนหนึ่ง ของการสืบเสาะหาความรู ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร เ พ่ื อ ห า คําตอบในสิ่งที่สงสัย หรือ แกปญหาทเี่ กดิ ขน้ึ รวมคดิ รวมทํา  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรสู ิง่ ตาง ๆ รอบตัว 2 สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

3 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรูสิ่งตาง ๆ รอบตัว บทที่ 1 เรยี นรูแบบนักวทิ ยาศาสตร จุดประสงคก ารเรยี นรูประจําบท บทน้มี อี ะไร เม่ือเรยี นจบบทน้ี นักเรยี นสามารถ เร่อื งท่ี 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 1. ใชทกั ษะการสงั เกต โดยใชเ คร่ืองมือชวยในการสังเกต กิจกรรมท่ี 1.1 สังเกตสงิ่ ตา ง ๆ ไดอยา งไร 2. ใชทักษะการจําแนกประเภท โดยระบเุ กณฑท ีใ่ ชใ นการ กจิ กรรมที่ 1.2 จําแนกประเภทสง่ิ ตาง ๆ ไดอยางไร เรอ่ื งท่ี 2 การสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร จาํ แนกสง่ิ ตาง ๆ ออกเปน กลุม กจิ กรรมท่ี 2 รวบรวมขอ มูลเพื่อหาคาํ ตอบไดอยา งไร 3. ใชการรวบรวมขอมลู จากแหลงตาง ๆ ในการสบื เสาะหา ความรทู างวทิ ยาศาสตร เวลา 14 ชว่ั โมง แนวคดิ สาํ คัญ เมื่อตองการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว นอกจากจะใชประสาทสัมผัสในการสังเกตแลว ยัง สามารถใชเครื่องมือตาง ๆ ชวยในการสังเกต เพื่อใหได ขอมูลที่ชัดเจนและละเอียดขึ้น และสามารถนําขอมูลท่ี รวบรวมไดไปใชในการจําแนกประเภทของส่ิงท่ีสังเกตและ ตอบคาํ ถามที่ตองการสืบเสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตร ส่อื การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู 1. หนงั สอื เรียน ป. 2 เลม 1 หนา 1-19 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป. 2 เลม 1 หนา 1-29  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรสู ่ิงตาง ๆ รอบตัว 4 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 รหัส ทกั ษะ กิจกรรมท่ี ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 1.1 1.2 2 S1 การสังเกต   S2 การวดั S3 การใชจ ํานวน S4 การจาํ แนกประเภท  S5 การหาความสมั พันธระหวาง  สเปซกับสเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทาํ และสอ่ื ความหมายขอ มูล S7 การพยากรณ S8 การลงความเห็นจากขอมลู   S9 การตัง้ สมมตฐิ าน S10 การกําหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร S11 การกําหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายขอมลู และลงขอสรปุ   S14 การสรา งแบบจําลอง ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรา งสรรค C2 การคิดอยางมีวิจารณญาณ  C3 การแกปญหา  C4 การส่ือสาร   C5 ความรวมมอื   C6 การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร  หมายเหตุ : รหสั ทักษะที่ปรากฏนี้ ใชเฉพาะหนงั สอื คมู อื ครูเลมน้ี สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

5 คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรูส่ิงตา ง ๆ รอบตัว แนวคิดคลาดเคล่อื น แนวคดิ คลาดเคลื่อนที่อาจพบและแนวคิดท่ีถูกตอ งในบทท่ี 1 การเรยี นรแู บบนกั วทิ ยาศาสตร มดี งั ตอ ไปนี้ แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคดิ ท่ีถูกตอง จดุ ประสงคข องการทดลองทางวทิ ยาศาสตรคือการพิสูจน จุดประสงคของการทดลองทางวิทยาศาสตรเพ่ือคนพบความรู แนวคิดทางวทิ ยาศาสตร (Egger, 2009) ทางวทิ ยาศาสตรห รอื หาคําตอบท่สี งสยั (Egger, 2009) นกั วิทยาศาสตรจะทําการทดลองเฉพาะในหอ งปฏิบตั ิการ การทดลองไมจําเปนตองทําเฉพาะในหองปฏิบัติการเทานั้น เทานัน้ (Egger, 2009) (Egger, 2009) นกั วิทยาศาสตรรทู ุกอยางและไมเคยทําผดิ พลาด (Egger, 2009) นักวิทยาศาสตรไมไดรูทุกอยาง ดังนั้นจึงตองมีการสืบเสาะหา ความรเู พื่อหาคําตอบ และนักวิทยาศาสตรก็สามารถทําผิดพลาด นกั วทิ ยาศาสตรใ ชเพยี งวธิ กี ารเดยี วในการหาคาํ ตอบทาง หรือคาํ ตอบของนกั วิทยาศาสตรก็มโี อกาสผดิ ได (Egger, 2009) วทิ ยาศาสตร (Ecklund and Sceitle, 2007) การทดลองเปนสิ่งท่ีจาํ เปนในกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร นักวิทยาศาสตรใชหลาย ๆ วิธีการในการหาคําตอบทาง ถาไมมกี ารทดลองจะไมถือวา มีการเรียนรทู างวิทยาศาสตร วทิ ยาศาสตร (Ecklund and Sceitle, 2007) (Ecklund and Sceitle, 2007) แนวคดิ ทางวิทยาศาสตรถูกตองเสมอและไมมกี าร การเรียนรูทางวิทยาศาสตรสามารถทําไดหลายกระบวนการ เปล่ียนแปลง (Ecklund and Sceitle, 2007) ไมจําเปนตองใชการทดลองเพียงอยางเดียว (Ecklund and Sceitle, 2007) แนวคิดทางวิทยาศาสตรสามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อมีการคนพบ หลักฐานเพิ่มเติม (Ecklund and Sceitle, 2007) ถาครูพบวามีแนวคิดคลาดเคล่อื นใดทยี่ งั ไมไดแ กไ ขจากการทาํ กจิ กรรมการเรยี นรู ครูควรจัดการเรยี นรูเ พิ่มเติมเพ่ือแกไข ตอ ไปได  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรสู ่งิ ตา ง ๆ รอบตัว 6 บทนีเ้ ร่ิมตน อยา งไร (2 ชวั่ โมง) ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู พื้ น ฐ า น คุณครูควรใหเวลานักเรียนคิดอยาง 1. ครูทบทวนความรูพ้ืนฐานของนักเรียนเกี่ยวกับการสืบเสาะหา เห มา ะ สม ร อ คอ ยอ ย าง อด ท น ความรู ท่ีเคยเรียนผานมาแลวในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โดยครู นักเรียนตองตอบคําถามเหลาน้ีได อาจนํารูป วีดิทัศน หรือตัวอยางจริง เก่ียวกับสัตวหลาย ๆ ชนิด ถูก ตอ ง หา กต อบ ไม ได หรื อลื ม ท้งั ขนาดเลก็ และขนาดใหญในแหลงท่ีอยูตาง ๆ เชน แหลงน้ําที่มี ครูตองใหค วามรทู ี่ถกู ตองทันที ปลา กบ ลูกออด ใบไมท่ีมีมดเกาะอยู มาใหนักเรียนดู แลวใช คาํ ถามดงั นี้ 1.1 จากรูปนกั เรียนสังเกตเหน็ อะไรบาง (ปลา กบ ลกู ออ ดวายน้ํา อยใู นสระ มดกําลงั เกาะบนใบไม) 1.2 นักเรียนอยากรูอะไรบางเก่ียวกับสัตวเหลานี้ (นักเรียนตอบ ตามความอยากรขู องตนเอง) 1.3 นักเรียนจะหาคําตอบในสิ่งท่ีอยากรูในขอ 1.2 ไดอยางไร (นกั เรียนตอบตามวิธกี ารของตนเอง) 1.4 การหาคําตอบตามวิธีในขอ 1.3 เปนการสืบเสาะหาความรู หรือไม เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเขาใจของ ตนเอง) 2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเร่ืองการเรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบตัว โดยให อานชื่อหนวย และอานคําถามสําคัญประจําหนวยที่ 1 คือ “เรา เรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบตัวไดอยางไร” ครูใหนักเรียนตอบคําถามนี้ โดยยังไมตองเฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตอบอีก ครัง้ หลงั จากเรียนจบหนว ยนี้แลว 3. ครูใหนักเรียนอาน ช่ือบท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ในหนังสอื เรียนหนา 1 จากนั้นครใู ชค ําถามดงั น้ี 3.1 บทน้ี จะ ได เรี ยน เรื่อ งอ ะไ ร (เ ร่ือง กา รเ รีย นรู แบ บ นกั วทิ ยาศาสตร) 3.2 จากจดุ ประสงคการเรียนรูเม่ือเรียนจบบทน้ีนักเรียนสามารถ ทําอะไรไดบาง (จะสามารถสังเกต โดยใชเครื่องมือชวยใน การสังเกต สามารถจําแนกประเภท โดยระบุเกณฑที่ใชใน การจําแนกส่ิงตาง ๆ ออกเปนกลุม และสามารถรวบรวม สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

7 คูมือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยท่ี 1 การเรียนรูส่งิ ตา ง ๆ รอบตัว ขอมูลจากแหลงตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรูทาง นั ก เ รี ย น อ า จ ไ ม ส า ม า ร ถ ต อ บ วทิ ยาศาสตร) คําถามหรอื อภปิ รายไดตามแนวคําตอบ 4. นักเรียนอานช่ือบท และแนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียนหนา 2 ครูคว รใหเวล านักเรียนคิดอยาง จากนั้นครูใชคําถามวา จากการอานแนวคิดสําคัญ นักเรียนคิดวา เหมาะสม รอคอยอยางอดทน และรับ จะไดเรียนเก่ียวกับเร่ืองอะไรบาง (จะไดเรียนเก่ียวกับเรื่อง ฟง แนวความคิดของนกั เรียน การรวบรวมขอมูล การสังเกต การจําแนกประเภท การสืบเสาะ หาความรทู างวทิ ยาศาสตร) 5. ครูชกั ชวนใหนักเรียนสังเกตรูป และอานเนอ้ื เรอ่ื งในหนา 2 โดยครู ฝกทกั ษะการอา นตามวิธีการอา นที่เหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน ครูใชคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจจากการอาน โดย ใชค าํ ถามดังน้ี 5.1 สถานการณน ี้เกดิ ข้นึ ทไี่ หน (โรงเรียน) 5.2 เด็ก ๆ ในรปู กําลังทําอะไร (เลีย้ งไกไข และเกบ็ ไข) 5.3 เดก็ เอาไขมาทําอะไร (ทาํ อาหารกลางวนั และขาย) 5.4 การเล้ียงไกไ ขข องเด็กในโรงเรียนน้ีมีปญ หาอะไรเกิดขึ้น (ไขมี จํานวนมากเกนิ ไปทาํ ใหก ินไมท นั ) 5.5 เม่ือกนิ ไมทนั เดก็ ๆ ในโรงเรียนนี้มวี ธิ กี ารแกปญหาอยา งไร (เอาไขท เ่ี หลือกนิ ไปขาย) 5.6 การนําไขไกไปขายมีปญหาอะไรบาง (ไขไกแตละฟองมี ขนาดไมเ ทากนั จะตั้งราคาในการขายอยา งไร) 5.7 ถานักเรียนตองเปนคนขายไขไก นักเรียนจะทําอยางไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง) 5.8 นอกจากสถานการณน้ี ในชีวิตประจําวันของเรา ยังมีปญหา อยางอ่ืนอีกหรือไมท่ีเราตองหาขอมูลและวิธีการตาง ๆ ใน การแกป ญหา (นักเรียนตอบตามความเขา ใจของตนเอง) 6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับการเรียนรูแบบ นักวทิ ยาศาสตร ในสาํ รวจความรูกอนเรียน 7. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 2 โดยนักเรียนอานคําถามแตละขอ ครูตรวจสอบความเขาใจของ นักเรียน จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงให นักเรียนตอบคําถาม โดยคําตอบของแตละคนอาจแตกตางกัน และคําตอบอาจถูกหรอื ผดิ กไ็ ด  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรูสิง่ ตาง ๆ รอบตวั 8 8. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมี การเตรียมตัวลว งหนาสําหรบั ครู แนวคิดเก่ียวกับการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตรอยางไร โดยอาจ เพอ่ื จดั การเรียนรใู นครง้ั ถัดไป สมุ ใหนักเรยี น 2 – 3 คน นําเสนอคําตอบของตนเอง ครูยังไมตอง เฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ัง ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดเรียน หลงั จากเรยี นจบบทนี้แลว ท้ังนี้ครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือน เร่ื อ ง ที่ 1 ทั ก ษ ะ ก ร ะ บว น ก า ร ท า ง หรือแนวคิดท่ีนาสนใจของนักเรียน แลวนํามาใชในการออกแบบ วิทยาศาสตร ซึ่งเก่ียวของกับทักษะการ การจัดการเรียนรูเ พอื่ แกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนใหถูกตอง และตอ สังเกตและการจําแนกประเภท ครูเตรียม ยอดแนวคดิ ทน่ี า สนใจของนกั เรยี น ของเลน ของใชหลาย ๆ ชนิด ท่ีนักเรียน คนุ เคย เชน ลูกปด กระดุม ที่มีสี รูปทรง และจํานวนรูบนกระดุมแตกตางกัน และ เตรียมตะกรา เพื่อใหนักเรียนเลมเกม ฉัน ควรอยูท่ีใด ในข้ันตรวจสอบความรูเดิม ของนักเรียน สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

9 คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรียนรสู ง่ิ ตาง ๆ รอบตัว แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม การสาํ รวจความรูกอนเรียน นกั เรียนอาจตอบคําถามถกู หรือผดิ ก็ไดขน้ึ อยกู ับความรูเดมิ ของนักเรียน แตเมือ่ เรยี นจบบทเรียนแลว ใหน กั เรยี นกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกคร้ังและแกไขใหถกู ตอง ดังตัวอยา ง ใชแ วนขยายสอง  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรยี นรสู งิ่ ตาง ๆ รอบตวั 10 จําแนกตามชนิดของวัสดุซ่ึงจําแนกออกได 2 กลุม คือ 1. สิง่ ของที่ทําจากผา 2. สิง่ ของทท่ี ําจากพลาสติก สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

11 คูมือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนว ยที่ 1 การเรยี นรูส่ิงตาง ๆ รอบตัว 2 ทําจากพลาสติกเหมือนกบั ไมบ รรทดั กลอ งขา ว และกลอ งดินสอ 1 ทาํ จากผาเหมอื นกบั เสือ้ กระโปรง และผา เช็ดตัว  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยที่ 1 การเรียนรสู ่ิงตา ง ๆ รอบตัว 12        สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

13 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 1 | หนวยท่ี 1 การเรียนรูส งิ่ ตา ง ๆ รอบตัว เร่ืองท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในเรื่องน้ีนักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการใชเครื่องมือชวยใน การสังเกต และการจําแนกประเภทโดยระบุเกณฑท่ีใชในการจําแนก ส่ิงตาง ๆ ออกเปนกลุม ซึ่งการสังเกตและการจําแนกประเภทเปน ทกั ษะหน่งึ ของทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. ฝกทักษะการสงั เกตโดยใชแ วนขยายเปน เคร่ืองมือชวยในการ สังเกต 2. ฝก ทกั ษะการจําแนกประเภทของสง่ิ ตา ง ๆ โดยระบุเกณฑในการ จําแนก เวลา 6 ชั่วโมง วัสดุ อุปกรณสําหรบั ทาํ กจิ กรรม ไรทะเล หรือไรแดง หรือมด แวนขยาย จานสี กลอ งพลาสติกใส หลอดหยด บตั รภาพสิง่ ตาง ๆ แผน พลาสตกิ ลกู ฟกู เทปใส (หมายเหตุ: การเลือกมดมาใชในกิจกรรม ควรใชมดที่ไมมีพิษ เชน มดดํา มดน้ําตาล มดเหมน็ มดละเอียด ครูควรนํามดใสในกลองพลาสติกใสขนาด เลก็ กอ นแจกใหนักเรยี น เพอื่ ไมใหน กั เรียนสมั ผสั มดและปองกันมดกัด และ นําไปปลอยหลังการทํากิจกรรม และควรสอบถามเร่ืองการแพมดของ นักเรียน ในกรณมี ีคนท่แี พม ด ตอ งไมใ หสมั ผสั กับมดเดด็ ขาด) สื่อการเรียนรแู ละแหลงเรียนรู 1. หนงั สือเรยี น ป.2 เลม 1 หนา 4-9 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.2 เลม 1 หนา 6-15  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี