การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

อินเวอร์เตอร์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส
การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

อินเวอร์เตอร์ (Inverter) หรือเรียกย่อๆว่า VSD (Variable Speed Drive) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ให้ได้ตามที่เราต้องการ

หลักการทำงาน

วงจรเรียงกระแส (Rectifier) : ทำหน้าที่แปลงจากแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC) โดยภายในวงจรประกอบด้วย เพาเวอร์ไดโอด 4 ตัว สำหรับกรณีที่อินพุทเป็นแบบเฟสเดียว หรือมีเพาเวอร์ไดโอด 6 ตัว สำหรับกรณีที่อินพุทเป็นแบบ 3 เฟส

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

ทำไมต้องแปลงแรงดันไฟฟ้าจาก AC เป็น DC และแปลงกลับจาก DC เป็น AC อีกครั้ง ?

เนื่องจากการแปลงไฟจาก AC ไปเป็น AC โดยตรงเลยนั้น ความถี่ทางด้านเอ๊าท์พุทจะได้สูงสุดไม่เกินความถี่ทางด้านอินพุท แต่การเปลี่ยนจาก AC ไปเป็น DC และแปลงกลับมาเป็น AC อีกครั้งจะทำให้อินเวอร์เตอร์สามารถสร้างความถี่ได้สูงกว่าความถี่ทางด้านอินพุท

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

วิธีการเลือกอินเวอร์เตอร์

  1. ขนาดอินเวอร์เตอร์กับขนาดของมอเตอร์ : พิจารณาข้อมูลมอเตอร์จากป้ายแสดงรายละเอียด (name plate) โดยสังเกตขนาดกระแสและกำลังของมอเตอร์ ก่อนจะเลือกซื้ออินเวอร์เตอร์ว่ามีขนาดที่เหมาะสมกันหรือไม่

  2. พิกัดกระแส/พิกัดแรงดันไฟ : ดูได้จากแรงดันไฟขาเข้า (Input Voltage), ย่านของระดับแรงดันไฟขาออก (Range of Output Voltage) และกระแสขาออก (Output Current) ส่วนใหญ่ย่านของระดับแรงดันไฟขาออกจะอยู่ระหว่าง 0-500 VAC ส่วนย่านของความถี่จะอยู่ประมาณ 0-50 Hz หรือ 0-60 Hz

  3. ความเร็วรอบ, ความร้อน และประสิทธิภาพของมอเตอร์ : การปรับตั้งอินเวอร์เตอร์เพื่อควบคุมความเร็วของมอเตอร์ควรตั้งค่าความเร็วสูงสุดให้เหมาะสมกับพิกัดกระแสหรือแรงดันของมอเตอร์ หากตั้งค่าไม่เหมาะสมจะทำให้มอเตอร์ทำงานโอเวอร์โหลดได้

  4. สภาพแวดล้อมในการติดตั้ง :

  • อุณหภูมิรอบข้าง โดยปกติจะถูกกำหนดไว้ที่ 0-50 ºC หากนำไปติดตั้งในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 50 ºC อาจจะต้องเพิ่มขนาดกิโลวัตต์ของอินเวอร์เตอร์ด้วย

  • ความชื้นในบริเวณที่ติดตั้ง ควรอยู่ในระหว่างค่ามาตรฐานตามที่ระบุไว้ในคู่มืออินเวอร์เตอร์

  • ความสามารถในการป้องกันฝุ่นและน้ำ (IP : Index of Protection) ตรวจดูว่าเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ต้องการติดตั้งหรือไม่

ข้อดีของการใช้อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์

  • ระบบการสตาร์ทที่นุ่มนวล (Soft Start)

  • ไม่มีการกระชากของกระแส (Inrush Current Protection)

  • สามารถปรับอัตราเร่งและอัตราหน่วงได้ (Adjustable Acceleration and Deceleration Time)

  • ประหยัดพลังงาน (Energy Saving)

  • ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง (Reduce Maintenance Cost)

ข้อแตกต่างของ Panasonic Inverter ระหว่างรุ่น VF0, VF100 และ VF200

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

Function

VF0

VF100, VF200

Input 200V/400V

/

/

ถอดหน้าจอเพื่อติดตั้งหน้าตู้

X

/

การสื่อสารผ่าน RS 485

X

/

สามารคัดลอกข้อมูลย้ายเครื่อง

X

/

โหมดการทำงาน

8 step

16 step

ขนาดกำลังวัตต์

0.2 kW - 3.7 kW

0.2 kW - 15 kW

แสงชัยมิเตอร์ ตัวแทนจำหน่ายสินค้า Panasonic และ SUNX  อย่างเป็นทางการในประเทศไทย 

Sang Chai Meter co., Ltd., the authorized distributor of Panasonic and Sunx sensors in Thailand.

パナソニック サンクス センサー タイ 代理店

การต่อ อิน เวอร์ เตอร์ กับมอเตอร์ 1 เฟส

฿8,300.00

การนำเสนอข้อมูล / ตู้อินเวอร์เตอร์ 0.37KW

ตู้ควบคุมมอเตอร์ 1 เฟส 2 สาย ใช้ควบคุมมอเตอร์ได้ทุกชนิดที่ต้องการปรับความเร็วรอบของมอเตอร์โดยใช้อินเวอร์เตอร์ ระดับการป้องกัน IP40 กันฝุ่นแต่ไม่กันน้ำ ไม่เหมาะสำหรับการใช้งานกลางแจ้ง (กรณีที่ต้องการใช้งานในกลางแจ้งกรุณาติดต่อเพื่อประเมินราคาใหม่) หน้าตู้มีไฟแสดงสถานะการทำงาน ปุ่มเปิด-ปิด และข้อความแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ตู้ที่ใช้จะเป็นยี่ห้อ DENCO ( DA Series ) ซึ่งจะเป็นตู้ที่มีความหนา 1 มม. และมีการขึ้นรูปที่ค่อนข้างสวยงาม สำหรับข้อมูลทางเทคนิคของตู้แสดงดังตารางด้านล่าง

Specification Detail
ไฟเลี้ยง AC220V
กระแสไฟ Input 10A
ไฟที่จ่ายได้ AC220V
กระแสไฟ Output 4.8A
เฟส 1 Phase

อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบตู้

ชื่ออุปกรณ์ รายละเอียด
ตู้ไฟ DANCO
อินเวอร์เตอร์ FR-D720S-0.37K
เบรคเกอร์ มิตซูบิชิ
สายไฟ ไทยยาซากิ
อุปกรณ์หน้าตู้  IDEC

  • รายละเอียดเพิ่มเติม
  • บทวิจารณ์ (0)

รายละเอียดเพิ่มเติม

การใช้ อินเวอร์เตอร์ควบคุมปั้มน้ำ

ตู้ควบคุม อินเวอร์เตอร์ควบคุมปั้มน้ำ ที่ทำงานโดยการรับสัญญานจากอุปกรณ์ควบคุมภายนอก เช่น การรับสัญญานจากแรงดันน้ำ รับสัญญานจากอุณหภูมิของอากาศ รับสัญานญานจากกระแสไฟฟ้า เป็นตู้ควบคุมที่ต้องใช้ความรู้ในการใช้งานอินเวอร์เตอร์ และการใช้งานอุปกรณ์ควบคุมเป็นอย่างสูง ผู้ที่จะออกแบบจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีความรู้ทางด้านนี้โดยเฉพาะด้าน

สำหรับการแนะนำเบื้องต้นของการใช้อินเวอร์เตอร์ในโหมดการทำงานนี้ จะสามารถเห็นได้ในงานควบคุมปั้มน้ำ โดยการรับสัญญานแรงดันจากตัว Pressure transmitter (4-20mA) แล้วส่งการควบคุมไปที่อินเวอร์เตอร์หลัก เพื่อให้อินเวอร์เตอร์เป็นตัวปรับการหมุนของมอเตอร์ เมื่อความดันต่ำ น้ำในท่อมีน้อย อินเวอร์เตอร์ก็จะสั่งการให้มอเตอร์หมุนไว แต่เมื่อความดันในท่อมีมาก ตัวอินเวอร์เตอร์ก็จะลดความเร็วของมอเตอร์ลง วึ่งจะเห็นได้ทั่วไปในการทำงานของ BOOSTER PUMP  , TRANSFER PUMP

สำหรับ VDO ด้านล่างเป็นหนึ่งในการปรับค่า PID (การปรับค่า PID เป็นหนึ่งในกระบวนการปรับค่าควบคุมคุมเพื่อให้มอเตอร์ทำงานตามที่ต้องการให้มากที่สุด )ของอินเวอร์เตอร์ชไนเดอร์รุ่น ATV930 ซึ่งจะเห็นว่า ค่อนข้างซับซ้อนมาก มีรายละเอียดค่อนข้างเยอะเลยทีเดียว