ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

HIGHLIGHTS

กรณีที่กิจการจ่ายค่าบริการไปให้กับนิติบุคคลต่างประเทศ และมีการใช้บริการนั้นประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่นจ่ายค่าโฆษณาให้กับ Facebook, Google เป็นต้น เราจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ให้บริการต่างประเทศด้วยแบบ ภ.พ.36 ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป นอกจากนี้ถ้าเงินได้ที่เราจ่ายให้กับนิติบุคคลต่างประเทศเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(2) ถึง 40(6) กิจการมีหน้าทที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 โดยการหักภาษี ณ ที่จ่ายจะแบ่งเป็น 2 กรณีดังนี้ 1️⃣ เงินได้พึงประเมิณ 40(2) – 40(6) หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% 2️⃣ เงินได้พึงประเมิณ 40(4) – เงินปันผล หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%

สามารถคำนวนภาษี เบี้ยปรับและเงินเพิ่มได้แบบอัตโนมัติ

[ภ.ง.ด.54]

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
www.iliketax.com/download/cit54.pdf

[ภ.พ.36]

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
www.iliketax.com/download/pp36.pdf

พัฒนาโดยนายอธิฐ สุทธิปัญโญ

กรณีที่กิจการจ่ายค่าบริการไปให้กับนิติบุคคลต่างประเทศ และมีการใช้บริการนั้นประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่นจ่ายค่าโฆษณาให้กับ Facebook, Google เป็นต้น เราจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ให้บริการต่างประเทศด้วยแบบ ภ.พ.36 ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

นอกจากนี้ถ้าเงินได้ที่เราจ่ายให้กับนิติบุคคลต่างประเทศเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(2) ถึง 40(6) กิจการมีหน้าทที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 โดยการหักภาษี ณ ที่จ่ายจะแบ่งเป็น 2 กรณีดังนี้

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
เงินได้พึงประเมิณ 40(2) – 40(6) หักภาษี ณ ที่จ่าย 15%

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
เงินได้พึงประเมิณ 40(4) – เงินปันผล หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%(ก่อนหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่าลืมเช็คอนุสัญญาภาษีซ้อนด้วยครับ เพื่อได้ลดอัตรา % ที่หักลง หรืออาจจะไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายก็ได้นะครับ)

หลังจากหักภาษี ณ ที่จ่าย เราก็มีหน้าที่นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 ไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

ดังนั้นเราจะเห็นว่าทั้ง 2 แบบภาษีมีความเกี่ยวข้องกัน

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

HIGHLIGHTS

เบี้ยปรับ คือ เงินที่ต้องชดเชยความเสียหายให้แก่ภาครัฐ ส่วนเงินเพิ่ม คือ เงินที่เร่งรัดให้ผู้เสียภาษีจ่ายภาษี ให้ถูกต้องโดยเร็ว โดยเบี้ยปรับจะถูกแบ่งเป็น 2 กรณีคือ เคยยื่นแบบเพิ่มเติมแล้วกับยังไม่ได้ยื่นแบบมาก่อน และในกรณีที่ไม่เคยยื่นแบบมาก่อนจะโดนค่าปรับเพิ่มไปอีก ส่วนเงินเพิ่มจะคิดในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระทั้งสิ้น

มีผู้ประกอบการหลายท่านที่ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ทันรอบปกติ ก็จะต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ทีนี้ปัญหาเลยเกิดขึ้นคือไม่รู้ว่าคำนวณอย่างไรถึงจะถูกต้อง ขอบอกเลยคำนวณยากมากๆๆๆๆๆๆๆๆ

แต่วันนี้แอดมินมาแนะนำเทคนิคง่ายรับรองว่าคำนวณถูกต้องแน่นอน เพียงแค่ผู้ประกอบการกรอกข้อมูลภาษีซื้อและภาษีขายปกติไป จากนั้นหยิบแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) เดินไปหาเจ้าหน้าที่กรมสรรพากรที่รับแบบแล้วบอกว่า “พี่ครับช่วยคำนวณค่าปรับให้หน่อย ผมคำนวณไม่เป็นครับ” 55555

เรามาเริ่มทำความรู้จักกับ เบี้ยปรับ เงินเพิ่มกันเลยดีกว่าครับ

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

สรุปบทลงโทษของภาษีมูลค่าเพิ่มมี 3 ส่วนดังนี้

ค่าปรับอาญา

ยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มล่าช้าจะต้องเสียค่าปรับ ล่าช้าไม่เกิน 7 วัน 300 บาท และ เกิน 7 วัน 500 บาท (กรณียื่นแบบเพิ่มเติมไม่เสียค่าปรับ)

เบี้ยปรับ

  • ยื่นแบบเพิ่มเติม เสีย 2 – 20% ของภาษี
  • ไม่ยื่นแบบมาก่อน เสีย 2 – 20% ของภาษี แล้วคูณสอง

เงินเพิ่ม

ทุกครั้งที่เรายื่นภาษีล่าช้าเราจะต้องเสียเงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือน (คล้ายกับเสียดอกเบี้ยให้กรมสรรพากร)

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

ไฟล์ คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม