ภาษาไทยพื้นฐาน ป. ว ช 1 20000 1101

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUser

เฉลยแบบประเมินผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ หรือเนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้ โดยประเมนิ จากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรยี น ของผเู้ รียนหรอื ผูร้ ับบริการ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน หนว่ ยท่ี 5 การกรอกแบบฟอร์ม -------------------------------------------------------------------------------------------- คำสัง่ จงทำเครือ่ งหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อท่ถี กู ตอ้ งทสี่ ุด ๑. ข้อใดคอื ความหมายของแบบฟอร์ม ง. แบบฟอร์ม คือ เอกสารทีจ่ ัดทำขึ้นโดยเว้นช่องว่างไวใ้ หผ้ ทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งกรอกข้อมลู ๒. แบบฟอรม์ จดั ทำขน้ึ เพอ่ื ประโยชนใ์ นเร่อื งใด ง. ทำให้ได้ขอ้ มูลตรงตามทตี่ ้องการ ๓. ขอ้ ใดเปน็ ส่ิงทคี่ วรปฏบิ ัตใิ นการกรอกแบบฟอรม์ เม่ือเขียนผดิ ค. ตอ้ งขีดฆ่าแลว้ ลงลายมือชื่อไว้ตรงที่ขดี ฆ่า ๔. ขอ้ ใดไม่ใช่คุณสมบตั ขิ องผ้กู รอกแบบฟอรม์ ก. มกี ารศึกษาสูง ๕. การใหผ้ ู้อนื่ กรอกแบบฟอร์มแทนแล้วไม่อ่านตรวจทาน แสดงวา่ ผูน้ ั้นขาดคณุ สมบตั ิดา้ นใด ค. ความรอบคอบ ๖. แบบฟอร์มทีใ่ ชก้ นั อยใู่ นปัจจุบันมีก่ีประเภท ค. ๔ ประเภท ๗. แบบฟอร์มงานวจิ ยั เปน็ แบบฟอรม์ ประเภทใด ง. แบบฟอร์มทผี่ อู้ ื่นขอความร่วมมอื ให้กรอก ๘. แบบฟอร์มขอแจ้งความจำนงเข้าศกึ ษาตอ่ ในสถานศกึ ษาเปน็ แบบฟอรม์ ประเภทใด ค. แบบฟอรม์ ท่ใี ช้ตดิ ต่อกับหนว่ ยงาน ๙. แบบฟอร์มประเภทใดที่ผู้กรอกตอ้ งรอบคอบใหม้ ากทีส่ ดุ ก. แบบฟอร์มค้ำประกนั ๑๐. ในการกรอกแบบฟอรม์ ถ้าชอ่ งว่างท่เี วน้ ไว้เขยี นไมพ่ อควรแกป้ ัญหาอยา่ งไร ง. เขยี นใหเ้ ตม็ ชอ่ งว่างแล้วโยงขน้ึ เหนือข้อความในแบบฟอรม์ ๑๑. การเขยี นประวัติยอ่ ลงในแบบฟอรม์ สมคั รงาน จัดเป็นแบบฟอรม์ ประเภทใด ค. แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ติดต่อกับหน่วยงาน ๑๒. คุณสมบัตขิ ้อใดไม่จำเปน็ ตอ้ งระบุลงในการเขียนประวตั ยิ ่อ ก. ความดที ีเ่ คยทำ

ประเมินผลการใชห้ น่วยการเรียนรู้ หรอื เน้อื หาสาระการเรยี นรู้ โดยประเมนิ จากผลการทำ แบบทดสอบก่อนเรยี น หลงั เรยี น ของผูเ้ รียนหรอื ผ้รู ับบริการ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน / หลังเรียน หน่วยท่ี 5 การเขยี นบนั ทึกข้อความเพือ่ ติดตอ่ กิจธุระ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำส่ัง จงทำเครอ่ื งหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อทถี่ กู ต้องที่สดุ ๑. ข้อใดคือสว่ นทส่ี ำคญั ท่ีสดุ ของการเขยี นบันทกึ รายงานการปฏบิ ตั งิ าน ก. สว่ นหวั ข. เน้อื หา ค. สว่ นท้าย ง. คำลงท้าย ๒. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของสว่ นหัวของบันทกึ ข้อความ ก. ชื่อหน่วยราชการ ข. วนั เดือน ปี ค. คำข้ึนต้น ง. ชือ่ เรือ่ ง ๓. ขอ้ ใดทไี่ ม่ตอ้ งมใี นบนั ทึกขอ้ ความ ก. เรียน...(ตำแหน่งผรู้ ับบนั ทกึ ) ข. จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ ค. ขอแสดงความนับถอื ง. ชือ่ –สกลุ ผบู้ ันทกึ ๔. ขอ้ ใดเปน็ ข้อแตกตา่ งระหวา่ งบนั ทึกขอ้ ความกับหนังสอื ราชการ ก. เนื้อหาของหนงั สือราชการ ข. คำขนึ้ ต้น ค. คำลงทา้ ย ง. ชื่อหน่วยงาน ๕. การเขียนบนั ทกึ รายงานทเี่ ป็นทางการ ผเู้ ขียนควรคำนึงถงึ เร่ืองใดมากทสี่ ุด ก. คำนงึ ถึงเรือ่ งการใช้ภาษาเปน็ สำคัญ ข. เขยี นชื่อท่ีอยใู่ ห้ถกู ต้องชัดเจน ค. เขียนคำลงท้ายถกู ต้องและเหมาะสม ง. ปฏิบตั ิถกู ตอ้ งตามระเบยี บงานสารบรรณ ๖. บันทึกทเี่ ขียนสรุปเฉพาะประเดน็ สำคัญจากตน้ เรือ่ งเดมิ เปน็ บนั ทึกประเภทใด ก. บันทึกย่อเรื่อง ข. บันทกึ รายงาน ค. บนั ทึกความเหน็ ง. บันทกึ สัง่ การ ๗. บันทกึ ที่ผู้บงั คับบญั ชาเขียนถึงผูใ้ ตบ้ ังคับบัญชาเพ่อื มอบหมายหน้าทเ่ี ป็นบนั ทกึ ประเภทใด ก. บันทึกยอ่ เรื่อง ข. บันทกึ รายงาน ค. บันทกึ ความเห็น ง. บันทึกสงั่ การ ๘. หากท่านไดร้ ับมอบหมายให้เขา้ รว่ มงานประกวดสง่ิ ประดิษฐข์ องคนรุ่นใหม่หลังจากกลับถงึ หนว่ ยงาน ข อ ง ทา่ นแล้ว ทา่ นจะเขียนบนั ทกึ ประเภทใด ก. บันทึกย่อเรอ่ื ง ข. บันทึกรายงาน ค. บนั ทึกความเห็น ง. บันทึกติดต่อ ๙. จากบันทกึ ในข้อ ๘ ควรลงท้ายข้อความว่าอย่างไร ก. จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ ข. จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดอนญุ าต ค. จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาส่งั การ ง. จึงเรียนมาเพ่อื โปรดใหค้ วามอนเุ คราะหด์ ว้ ยจะเป็นพระคุณย่ิง ๑๐. ข้อใดคือประเภทของบนั ทกึ ข้อความ ก. บันทกึ ตดิ ตาม ข. บันทกึ ความเห็น ค. บนั ทึกรายงาน ง. บันทึกการประชุม

๑๑. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของบันทึกขอ้ ความ ก. บนั ทึกยอ่ เร่อื ง ข. บนั ทกึ รายงาน ค. บนั ทึกส่ังการ ง. บันทกึ ประจำวัน ๑๒. ขอ้ ใดมสี ว่ นประกอบแตกตา่ งจากข้ออนื่ ก. บันทกึ รายงานการประชมุ ข. บันทึกรายงาน ค. บนั ทึกตดิ ต่อ ง. บนั ทกึ ความเหน็ ๑๓. ข้อใดเป็นเรอ่ื งทใี่ ชต้ ิดตอ่ กบั บุคคลได้ทกุ ระดบั ก. เรอ่ื งเสนอความเหน็ ข. เร่อื งแจง้ เพื่อทราบ ค. เรือ่ งขออนุมัติ ง. เรื่องขอความเหน็ ๑๔. การเขยี นบันทึกความเห็นข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง ก. ลงท้ายว่า จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพิจารณา ข. การเสนอความคดิ เหน็ อาจอ้างระเบียบขอ้ บงั คบั ค. เป็นบันทึกทใี่ ชต้ ิดต่อกับบุคคลระดับสูงกว่า ง. ถ้าเรอ่ื งทเ่ี สนอสามารถสั่งการไดห้ ลายทางใหส้ รปุ รวมเปน็ ข้อเดยี ว ๑๕. การเขยี นเพอื่ ของบประมาณมาใช้ในการดำเนินงานตอ้ งเขียนบนั ทึกเรอื่ งอะไร ก. บันทกึ ขอความช่วยเหลือ ข. บันทกึ ขออนมุ ัติ ค. บันทึกขอความเหน็ ง. บันทกึ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน ๑๖. การบันทกึ รายงาน งานในหน้าที่ ควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร ก. บนั ทึกขอ้ เท็จจริงอย่างละเอยี ด ข. บนั ทกึ สัน้ ๆ เอาแต่ใจความ ค. บันทกึ เฉพาะเรอื่ งทส่ี นใจ ง. บันทึกเฉพาะเร่ืองท่ีผูบ้ ังคับบัญชาสนใจ ๑๗. ขอ้ ใดเป็นเหตผุ ลสำคัญทีห่ นว่ ยงานต่าง ๆ เลือกใช้บนั ทึกขอ้ ความในการตดิ ต่องาน ก. ประหยัด ข. สะดวก ค. รวดเร็ว ง. อ้างอิงได้ ๑๘. ขอ้ ใดเป็นวธิ บี ันทกึ เรอ่ื งทีไ่ ดร้ บั มอบหมายเฉพาะ ก. บนั ทกึ เฉพาะเรือ่ งท่สี นใจ ข. บันทึกสั้น ๆ เอาแต่ใจความ ค. บนั ทกึ ขอ้ เท็จจรงิ อย่างละเอียด ง. บันทึกเฉพาะเร่อื งที่ผู้บังคบั บัญชาสนใจ ๑๙. ขอ้ ใดเป็นวิธบี นั ทกึ เรอ่ื งที่ผู้บงั คับบญั ชาต้องตดั สินใจ ก. เสนอทางเลือกหลาย ๆ ทางใหผ้ ู้บังคบั บัญชาตดั สนิ ใจเอง ข. เสนอทางเลอื กหลายทางพร้อมเหตผุ ลเพื่อใช้ประกอบการตดั สนิ ใจ ค. เสนอทางเลอื กทางเดยี วทผี่ ู้บันทึกคิดวา่ ปฏบิ ตั ิได้งา่ ยทส่ี ดุ ง. เสนอทางเลอื กพรอ้ มความเหน็ ประกอบการพิจารณา ๒๐. ข้อใดเปน็ คำลงท้ายบนั ทกึ เพ่ือขอความช่วยเหลอื ก. เพ่ือโปรดทราบด้วยจกั ขอบคณุ ยงิ่ ข. เพื่อโปรดพจิ ารณาด้วยจักขอบคณุ ย่งิ ค. เพอ่ื โปรดอนุเคราะหด์ ว้ ยจักขอบคณุ ยงิ่ ง. เพอ่ื โปรดชว่ ยด้วยจกั ขอบคณุ ยิ่ง

เฉลยแบบประเมินผลการใช้หนว่ ยการเรยี นรู้ หรือเนอื้ หาสาระการเรียนรู้ โดยประเมินจากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรียน ของผเู้ รียนหรอื ผรู้ ับบริการ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน / หลังเรียน หน่วยที่ 5 การเขยี นบันทกึ ข้อความเพือ่ ติดตอ่ กจิ ธรุ ะ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำสง่ั จงทำเครื่องหมายกากบาท (X) หนา้ ข้อทถ่ี กู ตอ้ งที่สุด ๑. ขอ้ ใดคือสว่ นท่สี ำคัญท่สี ดุ ของการเขยี นบนั ทกึ รายงานการปฏิบัติงาน ข.เนือ้ หา ๒. ข้อใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของสว่ นหัวของบนั ทกึ ขอ้ ความ ค.คำขึน้ ตน้ ๓. ขอ้ ใดท่ไี มต่ ้องมใี นบันทกึ ขอ้ ความ ค.ขอแสดงความนับถือ ๔. ข้อใดเปน็ ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งบันทกึ ข้อความกบั หนังสอื ราชการ ค.คำลงท้าย ๕. การเขยี นบันทึกรายงานทเ่ี ป็นทางการ ผเู้ ขยี นควรคำนึงถงึ เรอื่ งใดมากทีส่ ุด ง.ปฏิบัตถิ ูกตอ้ งตามระเบยี บงานสารบรรณ ๖. บันทกึ ท่เี ขยี นสรปุ เฉพาะประเด็นสำคญั จากต้นเรอ่ื งเดมิ เปน็ บนั ทกึ ประเภทใด ก.บันทกึ ย่อเรื่อง ๗. บันทกึ ทผี่ บู้ งั คับบญั ชาเขียนถงึ ผใู้ ต้บังคับบัญชาเพอ่ื มอบหมายหน้าทเี่ ป็นบันทกึ ประเภทใด ง.บนั ทกึ สั่งการ ๘. หากท่านไดร้ ับมอบหมายใหเ้ ข้าร่วมงานประกวดสงิ่ ประดษิ ฐ์ของคนรุน่ ใหม่หลงั จากกลับถงึ หนว่ ยงาน ข อ ง ท่านแลว้ ท่านจะเขยี นบันทึกประเภทใด ข.บนั ทึกรายงาน ๙. จากบันทกึ ในขอ้ ๘ ควรลงท้ายข้อความวา่ อย่างไร ก.จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ ๑๐. ขอ้ ใดคือประเภทของบันทึกขอ้ ความ ข.บันทกึ ความเหน็ ๑๑. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระเภทของบันทกึ ข้อความ ง.บันทกึ ประจำวนั ๑๒. ขอ้ ใดมสี ่วนประกอบแตกต่างจากขอ้ อื่น ก.บนั ทกึ รายงานการประชมุ ๑๓. ขอ้ ใดเปน็ เรอ่ื งท่ใี ช้ติดต่อกบั บุคคลไดท้ ุกระดบั ข.เรื่องแจง้ เพ่ือทราบ ๑๔. การเขียนบนั ทกึ ความเห็นข้อใดไมถ่ กู ตอ้ ง ง.ถ้าเร่อื งที่เสนอสามารถสงั่ การได้หลายทางให้สรุปรวมเป็นข้อเดียว ๑๕. การเขียนเพ่ือของบประมาณมาใช้ในการดำเนินงานตอ้ งเขียนบันทกึ เรื่องอะไร ข.บันทกึ ขออนมุ ตั ิ

๑๖. การบนั ทึกรายงาน งานในหนา้ ท่ี ควรปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร ก.บนั ทึกขอ้ เทจ็ จรงิ อย่างละเอียด ๑๗. ขอ้ ใดเป็นเหตผุ ลสำคญั ทห่ี นว่ ยงานต่าง ๆ เลอื กใช้บันทึกข้อความในการตดิ ตอ่ งาน ง.อ้างอิงได้ ๑๘. ขอ้ ใดเป็นวิธบี นั ทกึ เรื่องท่ีไดร้ ับมอบหมายเฉพาะ ง.บันทกึ เฉพาะเร่ืองท่ีผบู้ งั คับบัญชาสนใจ ๑๙. ข้อใดเปน็ วิธบี ันทกึ เร่ืองทีผ่ บู้ ังคบั บญั ชาต้องตัดสินใจ ง.เสนอทางเลอื กพรอ้ มความเห็นประกอบการพิจารณา ๒๐. ข้อใดเปน็ คำลงทา้ ยบันทึกเพ่อื ขอความช่วยเหลอื ค.เพ่ือโปรดอนเุ คราะหด์ ้วยจกั ขอบคณุ ยงิ่

ประเมินผลการใช้หนว่ ยการเรยี นรู้ หรือเนื้อหาสาระการเรียนรู้ โดยประเมนิ จากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรยี น ของผเู้ รียนหรอื ผ้รู ับบริการ แบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน หนว่ ยท่ี 6 การเขียนรายงานเชงิ วิชาการ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำส่ัง จงทำเครอ่ื งหมายกากบาท (X) หน้าข้อทีถ่ กู ตอ้ งท่ีสดุ ๑. ขอ้ ใดคอื คำจำกดั ความของคำวา่ รายงานทางวิชาการ ก. การเสนอผลการปฏบิ ัติงาน ข. การเสนอข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการอ่าน ค. การเสนอรายละเอยี ดของเน้ือหาวชิ าท่ีเรียน ง. การเสนอผลจากการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมรี ะบบ ๒. ข้อใดควรเป็นขัน้ ตอนแรกของการทำรายงาน ก. กำหนดหวั ขอ้ เรื่อง ข. กำหนดโครงเรือ่ ง ค. กำหนดขอบเขตของเร่ือง ง. รวบรวมข้อมูล ๓. สว่ นประกอบใดเรียงตอ่ จากคำนำ ก. ปกใน ข. หน้าเปล่า ค. สารบญั ง. เนื้อเร่ือง ๔. จงเรียงสว่ นประกอบของรายงานตอ่ ไปน้ีให้ถูกตอ้ ง ๑. ปกนอก ๒. ปกใน ๓. คำนำ ๔. สารบัญ ๕. บรรณานุกรม ๖. เนอ้ื เรือ่ ง ก. ๑ ๒ ๔ ๓ ๖ ๕ ข. ๑ ๒ ๓ ๔ ๖ ๕ ค. ๑ ๓ ๒ ๔ ๖ ๕ ง. ๑ ๓ ๔ ๖ ๕ ๒ ๕. ส่วนประกอบที่สำคัญสดุ ของรายงานคอื อะไร ก. ปก ข. คำนำ ค. สารบัญ ง. เน้ือเรอ่ื ง ๖. อมรรัตน์ ฉายศรี. ภาษาไทยเพื่ออาชีพ ๑. (นนทบุรี : ศูนย์หนังสือเมืองไทย, ๒๕๕๓). หน้า ๑๐. ขอ้ ความน้เี ป็นเชิงอรรถประเภทใด ก. อา้ งองิ ข. โยงความ ค. เสรมิ ความ ง. อธบิ ายความ ๗. การเขียนอ้างองิ แบบแทรกในเนอ้ื หานิยมเขยี นแบบใด ก. เขียนเฉพาะช่ือหนงั สือ ข. เขยี นชื่อหนงั สอื และหน้า ค. เขียนเฉพาะชื่อผแู้ ตง่ ง. เขยี นชือ่ ผแู้ ตง่ ปีท่พี ิมพ์ และเลขหนา้ ๘. ขอ้ ใดไม่ใช่จดุ มงุ่ หมายของการเขยี นเชิงอรรถ ก. เพือ่ แสดงหลกั ฐานเดมิ ของขอ้ ความท่ยี กมาประกอบ ข. เพอ่ื แสดงภูมปิ ัญญาและตง้ั ใจจรงิ และการทำรายงาน ค. เพอ่ื แสดงมารยาทท่ดี เี ร่ืองท่ีเคารพสิทธิของผ้อู ่ืนของผู้ทำรายงาน ง. เพื่อแนะนำให้ผู้อ่านตดิ ตามอา่ นรายละเอยี ดของเรื่องเพมิ่ เตมิ ๙. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง ก. เชงิ อรรถทกุ ประเภทตอ้ งเขียนในบรรณานกุ รมดว้ ย ข. เชิงอรรถอ้างองิ ทุกรายการต้องเขียนในบรรณานกุ รมด้วย ค. หลกั การเขยี นบรรณานุกรมและเชิงอรรถเหมอื นกนั ง. เชิงอรรถท่ีเขยี นแทรกปนในเนอื้ หา เขียนรายละเอยี ดเหมือนการเขยี นเชิงอรรถส่วนลา่ งของ หน้ากระดาษ

๑๐. อญั พจน์ หมายถงึ อะไร ก. ขอ้ ความทเี่ ป็นคำพูดของบุคคลสำคญั ข. ขอ้ ความทส่ี รุปลงในรายงาน ค. ขอ้ ความท่ีคดั ลอกลงในรายงาน ง. ข้อความที่ตอ้ งเขียนเชิงอรรถประกอบ ๑๑. ขอ้ ใดเขียนบรรณานุกรมถูกต้อง ก. จ้อย นันทิวัชรินทร์, ม.ล. แบบบรรณานุกรมและเชิงอรรถ. พระนคร : ไทยวัฒนาพาณิช, ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้ ข. หม่อมหลวงจอ้ ย นันทิวัชรินทร์, แบบบรรณานุกรมเชิงอรรถ, พระนคร : ไทยวัฒนาพาณิช ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้ ค. จ้อย นันทิวัชรินทร์, ม.ล. แบบบรรณานุกรมและเชิงอรรถ, พระนคร : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช, ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้ ง. จอ้ ย นนั ทิวัชรินทร์, ม.ล. แบบบรรณานกุ รมและเชิงอรรถ. พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ พระนคร : ไทยวัฒนา พาณชิ ๒๕๑๔, ๑๕๖ หน้า ๑๒. จงเรยี งลำดับรายช่อื ต่อไปนี้ใหถ้ ูกต้องตามหลักการเขยี นบรรณานกุ รม ๑. ธาดาศักดิ์ วชริ าปรชี าพงษ์ ๒. อดุ ม บัวผนั ๓. ยุพดี ทรงทอง ๔. สมจิตร พรหมเทพ ก. ๑ ๔ ๓ ๒ ข. ๒ ๑ ๓ ๔ ค. ๑ ๓ ๔ ๒ ง. ๑ ๒ ๔ ๓ ๑๓. ข้อใดเรยี งรายละเอียดเกยี่ วกบั การพิมพ์ถูกตอ้ ง ๑. ครง้ั ทพี่ มิ พ์ ๒. เมอื งทพี่ มิ พ์ ๓. สำนักพิมพ์ ๔. ปีท่พี มิ พ์ ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๓ ๑ ๔ ค. ๔ ๑ ๒ ๓ ง. ๑ ๔ ๓ ๒ ๑๔. การเขียนบรรณานกุ รมควรเรยี งลำดบั อยา่ งไร ก. ตามลำดับปีท่พี มิ พ์ ข. ตามลำดบั การอ้างองิ ก่อนหลงั ค. ตามลำดับตัวอกั ษรตัวแรกของชือ่ ผแู้ ตง่ ง. ตามลำดับตัวอักษรตวั แรกของชื่อหนังสือ ๑๕. ขอ้ ใดเขยี นบรรณานุกรมจากวารสารได้ถกู ตอ้ ง ๑. ชอ่ื ผู้เขียน ๒. ชอื่ วารสาร ๓. ชอ่ื บทความ ๔. เลขหน้า ๕. ปที ่ีพมิ พ์ ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข. ๑ ๓ ๒ ๕ ๔ ค. ๑ ๒ ๓ ๕ ๔ ง. ๓ ๑ ๒ ๕ ๔

เฉลยแบบประเมินผลการใช้หนว่ ยการเรียนรู้ หรอื เนอื้ หาสาระการเรยี นรู้ โดยประเมินจากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หลังเรียน ของผเู้ รยี นหรอื ผู้รบั บรกิ าร เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน หนว่ ยที่ 5 การเขียนรายงานเชิงวชิ าการ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำสงั่ จงทำเครื่องหมายกากบาท (X) หน้าข้อที่ถกู ต้องทสี่ ุด ๑. ข้อใดคอื คำจำกดั ความของคำว่า รายงานทางวชิ าการ ง. การเสนอผลจากการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีระบบ ๒. ขอ้ ใดควรเป็นขน้ั ตอนแรกของการทำรายงาน ก. กำหนดหัวขอ้ เร่อื ง ๓. ส่วนประกอบใดเรยี งต่อจากคำนำ ค. สารบัญ ๔. จงเรียงส่วนประกอบของรายงานต่อไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง ๑. ปกนอก ๒. ปกใน ๓. คำนำ ๔. สารบัญ ๕. บรรณานุกรม ๖. เนอื้ เรือ่ ง ข. ๑ ๒ ๓ ๔ ๖ ๕ ๕. สว่ นประกอบทสี่ ำคัญสุดของรายงานคืออะไร ง. เนือ้ เรือ่ ง ๖. อมรรัตน์ ฉายศรี. ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ ๑. (นนทบุรี : ศูนย์หนังสือเมืองไทย, ๒๕๕๓). หน้า ๑๐. ข้อความน้เี ปน็ เชงิ อรรถประเภทใด ก. อ้างองิ ๗. การเขยี นอา้ งองิ แบบแทรกในเนือ้ หานิยมเขยี นแบบใด ง. เขยี นชอื่ ผู้แตง่ ปีท่พี ิมพ์ และเลขหนา้ ๘. ข้อใดไม่ใชจ่ ุดมุ่งหมายของการเขยี นเชงิ อรรถ ข. เพื่อแสดงภูมิปัญญาและตั้งใจจรงิ และการทำรายงาน ๙. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ข. เชิงอรรถอ้างองิ ทกุ รายการต้องเขยี นในบรรณานุกรมดว้ ย ๑๐. อัญพจน์ หมายถงึ อะไร ค. ข้อความที่คดั ลอกลงในรายงาน ๑๑. ขอ้ ใดเขียนบรรณานุกรมถูกตอ้ ง ก. จ้อย นันทิวัชรินทร์, ม.ล. แบบบรรณานุกรมและเชิงอรรถ. พระนคร : ไทยวัฒนาพาณิช, ๒๕๑๔, ๑๕๖ หน้า ข. หม่อมหลวงจอ้ ย นันทิวัชรินทร์, แบบบรรณานุกรมเชิงอรรถ, พระนคร : ไทยวัฒนาพาณิช ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้ ค. จ้อย นันทิวัชรินทร์, ม.ล. แบบบรรณานุกรมและเชิงอรรถ, พระนคร : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช, ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้ ง. จ้อย นันทวิ ัชรนิ ทร์, ม.ล. แบบบรรณานกุ รมและเชิงอรรถ. พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ พระนคร : ไทยวฒั นา พาณิช ๒๕๑๔, ๑๕๖ หนา้

๑๒. จงเรยี งลำดับรายช่อื ตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกต้องตามหลักการเขยี นบรรณานกุ รม ๑. ธาดาศกั ดิ์ วชริ าปรชี าพงษ์ ๒. อุดม บวั ผัน ๓. ยุพดี ทรงทอง ๔. สมจิตร พรหมเทพ ค. ๑ ๓ ๔ ๒ ๑๓. ข้อใดเรยี งรายละเอยี ดเกี่ยวกบั การพิมพถ์ ูกต้อง ๑. ครง้ั ท่ีพิมพ์ ๒. เมอื งที่พมิ พ์ ๓. สำนกั พิมพ์ ๔. ปีทพี่ ิมพ์ ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ๑๔. การเขยี นบรรณานกุ รมควรเรยี งลำดบั อยา่ งไร ค. ตามลำดับตวั อกั ษรตัวแรกของชอ่ื ผู้แต่ง ๑๕. ขอ้ ใดเขียนบรรณานุกรมจากวารสารได้ถกู ตอ้ ง ๑. ชอื่ ผู้เขียน ๒. ช่ือวารสาร ๓. ชือ่ บทความ ๔. เลขหนา้ ๕. ปที พ่ี ิมพ์ ข. ๑ ๓ ๒ ๕ ๔

ประเมนิ ผลการใช้หนว่ ยการเรียนรู้ หรอื เน้ือหาสาระการเรยี นรู้ โดยประเมนิ จากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หลงั เรยี น ของผูเ้ รียนหรอื ผรู้ บั บรกิ าร แบบทดสอบกอ่ นเรยี น / หลงั เรียน หนว่ ยท่ี 7 การเขียนโครงการ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำสัง่ จงทำเคร่อื งหมายกากบาท (X) หน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดคอื ความหมายของโครงการ ก. การรายงานผลการทำงานอยา่ งละเอยี ด ข. ข้นั ตอนการทำงานทม่ี รี ะบบ ค. งานทจี่ ะทำในอนาคตอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ง. การวางแผนการทำงาน ๒. ข้อใดไม่ตอ้ งเขยี นในโครงการ ก. ผลงานท่ีทำเสรจ็ แล้วตามวัตถุประสงค์ ข. ระยะเวลาเร่ิมตน้ และส้นิ สุดอยา่ งชัดเจน ค. จะทำอะไร เพอ่ื ใคร ง. สาเหตุในการจัดทำโครงการ ๓. ขอ้ ใดไม่ใช่วัตถุประสงคข์ องโครงการ ก. เพือ่ ประกอบการตัดสินใจของผู้บงั คับบญั ชา ข. เพ่อื แสดงภูมิรดู้ า้ นเทคนคิ การทำงานของผเู้ สนอโครงการ ค. เพื่อแกป้ ัญหาในการทำงาน ง. เพื่อพัฒนางานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ ๔. ข้อใดเปน็ โครงการท่ีเสนอโดยหน่วยงาน ก. วิทยาลยั เทคนิคพิจติ ร ข. นางอมรรัตน์ รกั สันติ วิทยาลัยเทคนคิ พิจิตร ค. แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ วทิ ยาลัยเทคนคิ พจิ ติ ร ง. ถกู ทุกขอ้ ๕. ข้อใดเปน็ ลักษณะสำคญั ของโครงการท่ีดี ก. สามารถนำไปปฏิบัติและเกดิ ผลสำเร็จ ข. มีส่วนประกอบของโครงการครบสมบูรณ์ ค. ใช้งบประมาณคอ่ นข้างสูง ง. ระบุข้ันตอนการดำเนนิ งานชัดเจน ๖. การตั้งชอื่ โครงการข้อใดชดั เจนและเหมาะสมทีส่ ดุ ก. โครงการสง่ เสริมการอ่าน ข. โครงการส่งเสรมิ นักเรยี นอา่ นหนงั สอื ภาษาไทย ค. โครงการภาษาไทย ง. โครงการอ่านหนังสอื ๗. ขอ้ ใดแสดงถงึ เหตผุ ลทต่ี อ้ งจดั ทำโครงการ ก. วัตถปุ ระสงค์ ข. วิธดี ำเนนิ งาน ค. ชอ่ื โครงการ ง. หลักการและเหตุผล ๘. “การแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งาน” ข้อความนค้ี วรเขียนไวใ้ นส่วนใดของโครงการ ก. หลกั การและเหตุผล ข. การตดิ ตามประเมินผล ค. วัตถุประสงค์ ง. วิธดี ำเนินการ ๙. “นักเรียนท่ีเขา้ อบรมอยา่ งนอ้ ย ๗๐ เปอรเ์ ซ็นต์ เขา้ ใจถึงโทษของยาเสพตดิ ” ข้อความน้ีควรเขียนไวใ้ น ส่วน ใดของโครงการ ก. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั ข. การตดิ ตามประเมินผล ค. เปา้ หมาย ง. วตั ถุประสงค์ ๑๐. “นักเรียนระดบั ปวส. จำนวน ๑๐๐ คน เข้ารับการอบรม” ข้อความนีค้ วรเขียนไวใ้ นส่วนใดของโครงการ ก. วธิ ดี ำเนนิ การ ข. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ค. เปา้ หมาย ง. วัตถปุ ระสงค์

๑๑. “การทดสอบความรู้ท้ังกอ่ นและหลงั การอบรม” ขัน้ ตอนนีค้ วรเขยี นไว้ในสว่ นใดของโครงการ ก. วธิ ีการดำเนนิ การ ข. การติดตามประเมนิ ผล ค. เปา้ หมาย ง. วิธดี ำเนนิ การ ๑๒. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของโครงการ ก. คา่ ใช้จา่ ย ข. รายงานผลการดำเนินงาน ค. เป้าหมาย ง. ระยะเวลา ๑๓. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง ก. โครงการทเ่ี สนอโดยหน่วยงานสำคญั กว่าเสนอโดยบคุ คล ข. งบประมาณมากชว่ ยใหก้ ารทำงานมีประสทิ ธิภาพ ค. กำหนดระยะเวลาเรมิ่ ต้นและสิน้ สุดตอ้ งชัดเจน ง. โครงการระยะยาวไดป้ ระโยชน์มากกวา่ ระยะส้ัน ๑๔. วธิ ีดำเนินการโครงการข้อใดเป็นอันดบั แรก ก. ประชุมปรึกษา ข. ดำเนินงาน ค. เสนอโครงการ ง. แต่งต้งั คำสั่ง ๑๕. ขอ้ ใดไมจ่ ำเป็นต้องคำนึงถึงในการเขียนโครงการ ก. มวี ิธดี ำเนินการอย่างไร ข. ทำไมตอ้ งทำโครงการนี้ ค. ผลประโยชน์เป็นของสว่ นรวมหรือไม่ ง. ผู้อนุมัติจะมีงบประมาณให้หรือไม่

เฉลยแบบประเมนิ ผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ หรือเนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ โดยประเมนิ จากผลการทำ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หลงั เรยี น ของผเู้ รยี นหรอื ผู้รับบรกิ าร เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน / หลงั เรียน หน่วยท่ี 7 การเขียนโครงการ -------------------------------------------------------------------------------------------- คำส่งั จงทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) หน้าข้อท่ีถูกต้องทสี่ ุด ๑. ข้อใดคือความหมายของโครงการ ง. การวางแผนการทำงาน ๒. ขอ้ ใดไม่ตอ้ งเขยี นในโครงการ ก. ผลงานที่ทำเสรจ็ แลว้ ตามวตั ถุประสงค์ ๓. ข้อใดไมใ่ ชว่ ตั ถุประสงค์ของโครงการ ข. เพ่ือแสดงภมู ิรู้ด้านเทคนิคการทำงานของผู้เสนอโครงการ ๔. ข้อใดเป็นโครงการทเี่ สนอโดยหนว่ ยงาน ก. วิทยาลัยเทคนิคพิจติ ร ๕. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะสำคัญของโครงการทดี่ ี ก. สามารถนำไปปฏบิ ตั ิและเกดิ ผลสำเรจ็ ๖. การตัง้ ชือ่ โครงการขอ้ ใดชดั เจนและเหมาะสมท่สี ดุ ก. โครงการส่งเสรมิ การอา่ น ๗. ขอ้ ใดแสดงถงึ เหตุผลทต่ี ้องจัดทำโครงการ ง. หลักการและเหตุผล ๘. “การแตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งาน” ขอ้ ความนีค้ วรเขียนไว้ในสว่ นใดของโครงการ ค. วัตถุประสงค์ ๙. “นกั เรียนทเ่ี ขา้ อบรมอย่างนอ้ ย ๗๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ เขา้ ใจถึงโทษของยาเสพตดิ ” ข้อความนีค้ วรเขยี นไว้ใน ส่วน ใดของโครงการ ก. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั ๑๐. “นกั เรยี นระดบั ปวส. จำนวน ๑๐๐ คน เข้ารับการอบรม” ขอ้ ความนี้ควรเขยี นไวใ้ นสว่ นใดของโครงการ ค. เป้าหมาย ๑๑. “การทดสอบความรู้ทัง้ ก่อนและหลังการอบรม” ขั้นตอนนี้ควรเขียนไว้ในส่วนใดของโครงการ ข. การตดิ ตามประเมนิ ผล ๑๒. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สว่ นประกอบของโครงการ ข. รายงานผลการดำเนินงาน ๑๓. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง ค. กำหนดระยะเวลาเรมิ่ ต้นและสิน้ สุดตอ้ งชดั เจน ๑๔. วิธดี ำเนินการโครงการขอ้ ใดเปน็ อนั ดบั แรก ค. เสนอโครงการ ๑๕. ข้อใดไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงในการเขียนโครงการ ง. ผู้อนมุ ตั ิจะมงี บประมาณให้หรือไม่

ตวั ช้วี ดั ท่ี 1.2.2. ข้อ 1 1.2.2 จัดทำแผนจดั การเรยี นรู้ /แผนการฝกึ อาชีพ /แผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP)/แผนการสอนรายบคุ คล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ์ ข้อ 1 วเิ คราะห์ผเู้ รียน หรือผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมเป็นรายบคุ คลหรอื เนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ แผนกสามญั สมั พนั ธ์ วทิ ยาลยั การอาชีพนิคมคาสรอ้ ย

แบบประเมินผู้เรียนรายบุคคลโดยการทดสอบกอ่ นเรยี น รหสั วิชา 20000-1101 วชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ชนั้ ปีท่ี 1 สาขาวิชาอตุ สาหกรรม / สาขาพาณชิ ยกรรม ประจำภาคเรียนที่ 1/2563 จดั ทำโดย นางสาวศิรวิ รรณ ศริ ิสวัสด์ิ ตำแหน่ง ครู แผนกวิชาสามญั สัมพันธ์ ฝา่ ยวชิ าการ วทิ ยาลยั การอาชพี นิคมคำสรอ้ ย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แบบทดสอบก่อนเรยี น รหสั วิชา 20000-1102 วชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน คำสัง่ จงทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) หน้าขอ้ ที่ถูกต้องที่สุด 1.ข้อใดอ่านออกเสียงถูกต้อง ก. กลวิธี อา่ นวา่ กน–ว–ิ ที ข. เสวก อา่ นวา่ เส–วะ–กะ ค. เจรจา อ่านวา่ เจ–ระ–จา ง. อุปกรณ์ อา่ นวา่ อุ–ปะ–กอน ๒. ข้อใดอา่ นออกเสียงผดิ ก. อุปโลกน์ อ่านวา่ อปุ –ปะ–โลก ข. สมรรถภาพ อ่านวา่ สะ–มดั –ถะ–พาบ ค. โลกทัศน์ อ่านว่า โลก–กะ–ทัด ง. รัฐสภา อา่ นว่า รดั –ถะ–สะ–พา ๓. ขอ้ ใดอา่ นออกเสียงได้มากกวา่ ๑ อยา่ ง ก. คุณภาพ ข. คณุ วิเศษ ค. คณุ โทษ ง. คณุ ค่า ๔. ข้อใดเขยี นถูกต้องทุกคำ ก. นิรมติ เดยี รดาษ เอก็ ซเรย์ เซน็ ช่อื ข. ไอศกรมี เชต๊ิ ค. หมายเหตุ โนต้ ปิกนิก ง. โบว์ โชว์ ๕. ข้อใดเขียนถกู ตอ้ งทุกคำ ก. ขมุกขะมอม กระเพรา ข. ขบฎ กระทดั รัด ค. กะทนั หัน ขโมย ง. เกษยี ณอายุ ขะมกั เขม้น ๖. ข้อใดเขยี นผดิ ทุกคำ ก. ประสปี ระสา กระตือรอื ร้น ข. ชะอุม่ ชะโลม ค. โลกาภวิ ตั น์ ทูลเกลา้ ฯ ง. ซาบซ้ึง ซาบซ่าน ๗. ขอ้ ใดเปน็ คำทมี่ ีความหมายตรงกนั ขา้ ม ก. จุติ – มรณะ ข. สุจริต – ทจุ รติ ค. เศรษฐี – เศรษฐกจิ ง. รโหฐาน – มโหฬาร 8. ขอ้ ใดไมไ่ ดส้ อ่ื ความหมายนยั ประหวัด ก. ทา่ ทางของเขาเหมือนราชสหี ์ ข. ยงั ไมท่ นั นกกระจอกกินนำ้ เขากแ็ พเ้ สียแล้ว ค. เดก็ เหมอื นผา้ สขี าว ง. เขาเป็นมือขวาของหวั หน้า 9. ข้อใดใชภ้ าษากึง่ แบบแผน ก. ผูป้ กครองมาหาอาจารย์ ข. คณุ คงไม่สมหวังอกี เชน่ เคย ค. คุณแมร่ บั ประทานอาหารหรือยังคะ ง. ฉนั ขอเชญิ เธอไปงานวนั เกดิ ทบ่ี า้ น 10. ขอ้ ใดใช้คำผิดระดบั ก. คณุ กินขา้ ว ข. คุณรบั ขา้ ว ค. คณุ ทานขา้ ว ง. คณุ หม่ำข้าว 11. ข้อใดหมายถึงพระอาทิตย์ ก. เอราวณั ข. อาภากร ค. อาชาไนย ง. อัศวะ 12. ข้อใดมีความหมายเชงิ อปุ มา ก. ฉนั ชอบปดิ ทองหลังพระ ข. ฉนั เปน็ ลูกเป็ดขเี้ หรแ่ ห่งวงการมายา ค. ฉันเปน็ ไอดอลของแฟนคลบั ง. ฉนั ไม่ไดเ้ ป็นก๊กิ กับเขานะ

13. การประชาสมั พนั ธข์ า่ วสารเร่ืองการระบาดของไข้เลือดออก จัดเป็นสารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโนม้ น้าวใจ ค. สารใหค้ วามบันเทงิ ง. สารใหค้ วามจรรโลงใจ 14 ข้อใดเป็นกระบวนการสดุ ทา้ ยของการฟังและการดู ก. ยอมรบั ข. ตคี วาม ค. เขา้ ใจ ง. นำไปใช้ 15. ข้อใดเป็นมารยาทที่ควรแสดงออกในการฟงั และการดเู มื่อมีความพึงพอใจ ก. หัวเราะและโหร่ อ้ งอย่างสะใจ ข. เปา่ ปากและตะโกนเชียรเ์ สยี งดงั ค. หัวเราะและปรบมอื ทกุ ครั้งทถี่ กู ใจ ง. โหร่ ้องและกระทืบเทา้ ดว้ ยความมัน 16..ขอ้ ใดเปน็ หลกั การฟงั และการดทู ่ีดี ก. ฟังเพราะผ้สู ง่ สารมบี คุ ลิกดี ข. ฟังเพราะผู้ส่งสารเป็นผมู้ ชี ่อื เสียง นา่ เชอื่ ถอื ค. ฟงั เพราะผู้สง่ สารมีความสนิทสนมเป็นการส่วนตัว ง. ฟังเพราะผู้สง่ สารส่งสารได้ตรงความสนใจของตน 17. ถา้ ฟงั แล้วบอกสาระสำคัญของเรื่องได้ แสดงว่ามคี วามสามารถในการฟงั ระดับใด ก. ขน้ั ได้ยิน ข. ข้ันเข้าใจ ค. ข้นั ตีความ ง. ข้นั ยอมรบั 18.“เคร่อื งทองจากกรพุ ระปรางค์วัดราชบรู ณะและวัดมหาธาตุ เปน็ หลักฐานทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ ถึงความเจริญ มัง่ คัง่ ของกรงุ ศรีอยธุ ยาและความเป็นเลิศในด้านฝีมอื การช่าง” ขอ้ ความข้างต้นจัดเปน็ สารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโนม้ น้าวใจ ค. สารให้ความบนั เทงิ ง. สารให้ความจรรโลงใจ 19. รายการโทรทศั น์เกี่ยวกับสารคดีชีวติ ของผู้ตกทุกข์ได้ยาก เชน่ ชวี ติ ของคนชราที่ลกู หลานทิ้งใหอ้ ยู่คนเดียว แลว้ เชิญชวนใหผ้ ู้ชมส่งเงินบรจิ าคเพื่อชว่ ยเหลือ จัดเป็นสารประเภทใด ก. สารใหค้ วามรู้ ข. สารโนม้ นา้ วใจ ค. สารให้ความบนั เทงิ ง. สารให้ความจรรโลงใจ 20. จากโจทย์ข้อ ๙ ผู้ทสี่ ่งเงนิ ไปบริจาค แสดงว่าผู้ดูรายการผ่านกระบวนการรบั สารขนั้ ใด ก. ขั้นยอมรับ ข. ขนั้ ตคี วาม ค. ขั้นเขา้ ใจ ง. ข้นั นำไปใช้ 21. “เขาจะพดู เรื่องอะไร ๆ ฉนั กไ็ มอ่ ยากฟัง” คำกล่าวนี้แสดงลกั ษณะใดของผพู้ ดู ก. ขาดความพร้อม ข. มคี วามรอบรู้ ค. ขาดสมาธิในการฟัง ง. มอี คติต่อผู้ส่งสาร 22. ข้อใดแสดงถึงการฟังเพอ่ื หาเหตผุ ล ก. ฟังหูไวห้ ู ข. ฟงั ความข้างเดียว ค. กำแพงมีหู ประตมู ชี อ่ ง ง. ฟังไมไ่ ดศ้ พั ท์ จบั ไปกระเดียด 23. ขอ้ ใดเปน็ จุดม่งุ หมายของการฟังท่ีตอบสนองชีวิตประจำวนั มากที่สุด ก. รับรู้เรอ่ื งราว ขา่ วสาร ข. สนกุ สนาน เพลิดเพลนิ ค. พัฒนาตนเองก้าวไกล ง. ซาบซึ้ง ศรทั ธา จิตใจดงี าม 24. ขอ้ ใดเปน็ ปัจจยั สำคัญในการพดู อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ก. มกี ารวิเคราะห์ผู้ฟงั ข. มีบคุ ลกิ ดนี ่าเช่อื ถอื ค. มคี วามรู้ในเรอ่ื งท่จี ะพดู ง. มีวัตถปุ ระสงค์ชัดเจน ๒5. ขอ้ ใดควรปฏบิ ัติเป็นส่งิ แรกในการทักทายปราศรัย ก. หน้าตายิม้ แย้มแจม่ ใส ข. กลา่ วคำสวสั ดี พรอ้ มยกมือไหว้ ค. กล่าวคำสวัสดี ง. ยกมอื ไหว้

26. ขอ้ ใดไมค่ วรใชเ้ ป็นหัวขอ้ ในการสนทนา ก. ขา่ วอาชญากรรม ข. การตายของเพือ่ นสนทิ ค. เหตุการณ์ท่วั ไป ง. การจัดงานวันเด็ก 27. การพูดข้อใดต้องมีการเตรียมตัวลว่ งหนา้ ก. การแนะนำผพู้ ูด ข. การทักทายปราศรยั ค. การสนทนา ง. การแนะนำตัว 28. มารยาทขอ้ ใดอาจไม่จำเป็นต้องระวังในการสนทนาระหว่างบคุ คล ก. หน้าตายิ้มแยม้ แจ่มใส ข.เคารพในความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื ค. แต่งกายใหส้ ภุ าพเรียบรอ้ ย ง. ควบคุมอารมณข์ ณะพูด 29. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องตามหลกั การแนะนำบคุ คล ก. เอย่ ชื่อผใู้ หญใ่ ห้ผ้นู อ้ ยรจู้ กั ก่อน ข.เอย่ ชื่อใครกอ่ นกไ็ ด้ถ้ามฐี านะเทา่ กนั ค. เอย่ ช่ือผหู้ ญิงให้ผู้ชายรู้จักก่อน ง. เอ่ยชื่อผ้ชู ายให้ผ้หู ญิงรู้จกั ก่อน 30. ข้อใดกล่าวแนะนำผ้พู ูดได้อยา่ งเหมาะสม ก. กลา่ วถงึ หน้าทีก่ ารงานในปัจจุบัน ข.กล่าวถงึ อำนาจวาสนาทีน่ ่าทึง่ ค. กลา่ วถึงประวัตสิ ่วนตัวอยา่ งละเอียด ง. กล่าวยกยอ่ งความสามารถเปน็ พิเศษ 31. ข้อใดไม่ตอ้ งกล่าวในการแนะนำบุคคล ก. สถานภาพ ข.ตำแหน่งหนา้ ท่ี ค. นามสกุล ง.อาชีพ 32. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลกั การตอบรบั และปฏิเสธ ก. เคารพในความร้สู กึ ของผู้ตอบและผ้ฟู ัง ข.ระยะเวลาท่ใี ช้พจิ ารณาหาคำตอบ ค. ตำแหน่งหน้าท่ีและสถานภาพทางสังคมของผ้ฟู ัง ง.แสดงความรสู้ ึกขณะตอบอย่างสภุ าพ 33. ข้อใดเป็นการปฏิเสธไม่ซ้ือสินคา้ ทเ่ี หมาะสมท่สี ดุ ก. สนิ ค้าของคุณดเี กินไป ฉันไม่มปี ัญญาซื้อหรอก ข. สินคา้ นีน้ ่าสนใจแต่ขอลดสกั 70%ได้ไหม ค. สนิ คา้ ยี่ห้อน้ฉี นั ไมใ่ ช้หรอกค่ะ ง. สนิ คา้ ราคาถกู คณุ ภาพกค็ งพอกบั ราคา 34. สง่ิ แรกทีค่ วรทำในการพดู กจิ ธรุ ะคอื อะไร ก. นดั หมาย วัน เวลา สถานทพ่ี ูด ข.แจง้ ให้ผทู้ จ่ี ะพดู กิจธรุ ะดว้ ยรับทราบ ค. เตรียมข้อมูลทจี่ ะพูดใหพ้ ร้อม ง.แนะนำตวั เองก่อนพดู กิจธรุ ะ 35. ข้อใดไมค่ วรปฏิบัตใิ นการพดู กจิ ธุระ ก. แต่งตวั ใหท้ ันสมยั ดดู ี ข.มาถึงสถานทน่ี ดั หมายช้าไปนดิ หน่อย ค. พดู ธุระแบบตรงไปตรงมา ง. แสดงความเคารพนอบนอ้ ม เพอ่ื ผลสำเรจ็ ของธรุ ะท่ตี อ้ งการ 36. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักท่ัวไปของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ก. ใชเ้ สยี งให้มีประสทิ ธภิ าพ ข.ใช้เวลาให้นานกว่ากำหนดเลก็ นอ้ ย ค. คำนงึ ถึงโอกาสท่พี ดู ง.เตรยี มเนอ้ื หาท่พี ูด 37. ข้อใดควรกลา่ วเปน็ อันดบั แรกของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ก. กลา่ วถงึ ความรู้สกึ ท่ไี ด้รบั เกยี รติให้เปน็ ผ้พู ูด ข. กล่าวถงึ ความดี ความสามารถของเจ้าของงาน ค. กล่าวถึงความสำคัญของงาน ง. กลา่ วถึงความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้พูดกับเจ้าของงาน ๓8. สถานการณ์ใดไมต่ อ้ งกลา่ วอวยพร ก. ไว้อาลัยคนตาย ข. กล่าวแนะนำผพู้ ดู ค. ต้อนรบั ผ้มู าเยอื น ง. ไว้อาลยั คนเปน็

39.ข้อใดไม่ควรกล่าวไว้อาลัยเพื่อนทยี่ ้ายไปทำงานที่อ่ืน ก. กล่าวถึงความสัมพันธท์ ี่มไี มตรจี ิตตอ่ กนั ข. กลา่ วถงึ หลักการทำงานที่ดีเพื่อเปน็ แนวทางในการปฏิบัตงิ าน ค. กลา่ วถงึ ความดที ี่เพ่ือนไดก้ ระทำขณะทำงานรว่ มกัน ง. กลา่ วอวยพรให้มีความสขุ สสู่ คุ ติ 40.ขอ้ ใดกลา่ วแนะนำผูพ้ ูดไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ก. กล่าวถึงหนา้ ท่กี ารงานในปัจจบุ ัน ข. กล่าวถงึ อำนาจวาสนาท่ีนา่ ท่งึ ค. กล่าวถงึ ประวัตสิ ว่ นตัวอย่างละเอยี ด ง. กล่าวยกยอ่ งความสามารถเป็นพเิ ศษ 41 การพูดขอ้ ใดควรมกี ารเตรียมต้นฉบับไว้ล่วงหน้า ก. ไว้อาลัยผ้เู สียชวี ิต ข. ไวอ้ าลัยผ้มู ชี ีวติ อยู่ ค. อวยพรวันเกดิ ง. อวยพรวนั สมรส 42.การกล่าวอวยพรงานมงคลสมรสขอ้ ใดเหมาะสมทสี่ ุด ก. ขอให้ท้ังคมู่ คี วามรัก มีความจรงิ ใจ และซื่อสัตย์ตอ่ กนั ตลอดไปอย่าไดเ้ ส่อื มคลาย ข. ขอให้มลี ูกเตม็ บา้ นหลานเตม็ เมือง มีลูกหวั ปีทา้ ยปเี พื่อสร้างพลเมอื งดีใหก้ ับสงั คม ค. ขอแสดงความยนิ ดีด้วยนะทีไ่ ดแ้ ตง่ งานเสียที รกั กนั มานานแล้ว ง. ขอแสดงความยนิ ดีกบั เจ้าสาวทีไ่ ดเ้ จา้ บ่าวรวยมากระดบั เศรษฐีพันล้าน 43. “ขออาราธนาสิ่งศักด์ิสิทธ์ิในสากลโลก จงอำนวยพรให้มีความสุขความเจรญิ อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของ ลกู หลาน อายุยืนยาวตลอดไป” ขอ้ ความน้ีควรใชอ้ วยพรในโอกาสใด ก. อวยพรวนั ปใี หม่ ข. อวยพรวนั ข้ึนบ้านใหม่ ค. อวยพรวนั เกดิ ง. อวยพรวนั มงคลสมรส 44. ขอ้ ใดไม่ต้องมกี ารกล่าวตอบ ก. แนะนำบคุ คล ข. อวยพรวันเกิด ค. ตอ้ นรับ ง. ไว้อาลัย 45. ขอ้ ใดไมต่ อ้ งมีการกลา่ วอวยพร ก. แนะนำผพู้ ดู ข. งานแต่งงาน ค. ต้อนรับ ง. ไว้อาลัย 46.ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง ก. การพดู แสดงความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ ต้องเลือกสรรถ้อยคำ ภาษาท่ไี พเราะสละสลวย ข. การพูดแสดงความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ ผพู้ ูดจะพดู ในนามของเจา้ ภาพ ค. การพูดแสดงความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ ต้องเรมิ่ ดว้ ยการทกั ทายผ้ฟู ัง ง. การพดู แสดงความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ ไม่ควรใชเ้ วลานาน 47. ขอ้ ใดไม่ตอ้ งกล่าวในการอวยพรวันเกิดผ้อู าวโุ ส ก. ขอใหส้ ขุ ภาพสมบรู ณ์ แข็งแรง ข. ขอให้มคี วามเจรญิ ในหน้าทกี่ ารงาน ค. ขอให้สงิ่ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิค้มุ ครอง ง. ขอให้อายยุ นื ยาว 48. การพดู แสดงความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ ไมค่ วรพดู ยาวเพราะอะไร ก. กำหนดการของแต่ละงานมีหลายรายการ ข. ผพู้ ดู จะได้ไม่ต้องเสยี เวลาในการเตรียมเร่อื งทจ่ี ะพูด ค. พูดยาว คนในงานอาจไมฟ่ ัง ง. เปดิ โอกาสใหแ้ ขกในงานได้พดู หลายคน 49. ขอ้ ใดไม่ตอ้ งกล่าวในการตอบรบั งานมงคลสมรส ก. นอ้ มรับข้อแนะนำของผมู้ เี กียรตเิ พ่ือนำไปสูก่ ารปฏบิ ัติ ข. น้อมรบั ขอ้ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการจดั งาน ค. แสดงความต้งั ใจจริงในการสรา้ งครอบครัวให้เป็นปึกแผน่ ง. ขอบคุณแขกทุกคนทเ่ี สยี สละเวลาอันมคี า่ มารว่ มงาน

50. ข้อใดควรกลา่ วเปน็ อนั ดบั แรกในการกลา่ วตอ้ นรับผู้มาเยือน ก. ประโยชนท์ ผี่ ู้มาเยือนจะไดร้ บั ข.ขอบคณุ ทใี่ ห้เกียรติมาเย่ยี มเยอื น ค. แสดงความยนิ ดีทม่ี โี อกาสไดต้ ้อนรับ ง.กล่าวถงึ ความสัมพันธอ์ นั ดีท่ีมีตอ่ กนั 5๑.ขอ้ ใดหมายถงึ การอธิบายความ ก. นำความรู้มาเรียบเรียงให้มีความหมายสมบรู ณ์ ข. นำพลความมาขยายให้มคี วามหมายเท่าใจความ ค. นำใจความสำคญั มาเรียบเรียงใหม่ ง. นำใจความเดิมมาขยายความเพิ่มเตมิ 5๒.การเตรียมเร่ืองและเตรียมภาษาใหเ้ หมาะสมกับผู้รบั สารตรงกบั หลักการอธบิ ายข้อใด ก. เตรียมขอ้ มลู ท่ีจะอธบิ าย ข. อธบิ ายตามลำดับขัน้ ตอน ค. กำหนดจุดประสงค์ ง. วิเคราะห์ผู้รบั สาร 5๓.ถ้าผ้อู ธิบายไม่แนใ่ จในความร้ทู ่ีจะอธบิ ายควรทำอย่างไร ก. ทำความเข้าใจเรือ่ งน้นั ให้ดีก่อน ข. อธิบายเท่าที่ทราบ สว่ นท่ีไม่ทราบให้ผูร้ บั สารคน้ คว้าเพมิ่ เติม ค. ใหผ้ ูม้ ีความรอู้ ธบิ ายแทน ง. เปลย่ี นหวั ขอ้ เร่ืองทจี่ ะอธบิ าย 5๔.ข้อใดกล่าวถึงการอธบิ ายความไม่ถูกต้อง ก. การอธบิ ายควรตดั ประเด็นทีไ่ ม่เก่ยี วข้องออกไป ข. การอธบิ ายควรใช้ศัพท์เฉพาะทเี่ ปน็ ทางการเท่านน้ั ค. การอธบิ ายควรใช้วธิ กี ารหลาย ๆ อย่าง ง. การอธบิ ายมงุ่ ใหค้ วามรแู้ ละข้อเท็จจริงท่ีถกู ต้อง 5๕.การเสนอแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันโดยไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง จดั เปน็ การพดู แบบใด ก. เพื่อแสดงความรสู้ กึ ข. เพื่อแสดงความคิดเหน็ ค. เพื่อใหค้ วามรู้ ง. เพื่อใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร 5๖.การอธิบายเนอื้ หาสาระตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายหน้าชน้ั เรยี น เป็นการอธบิ ายด้วยจดุ ประสงค์ใด ก. เพ่ือใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ ข. เพือ่ แสดงความคดิ เห็น ค. เพอ่ื ให้ความรู้ ง. เพอ่ื โนม้ น้าวใจ 5๗.การอธบิ ายโดยใหค้ วามหมายหรือใหค้ ำนิยาม เปน็ การอธบิ ายโดยวิธใี ด ก. อธบิ ายดว้ ยการขยายความ ข. อธิบายดว้ ยการยกตัวอยา่ ง ค. อธบิ ายดว้ ยคำจำกดั ความ ง. อธบิ ายด้วยการเปรียบเทยี บ 5๘.การอธิบายวธิ ีการใช้คอมพวิ เตอร์ ควรอธบิ ายดว้ ยวธิ ีใด ก. อธบิ ายด้วยการเปรียบเทียบ ข. อธิบายด้วยการขยายความ ค. อธิบายตามลำดับข้ัน ง. อธิบายดว้ ยการยกตัวอย่าง 5๙.การอธิบายถึงสิง่ ของหรอื เรอื่ งท่ีผู้รับสารไมเ่ คยเห็นมากอ่ น ควรอธิบายด้วยวิธีใด ก. อธบิ ายด้วยการชีแ้ จงเหตุและผล ข. อธบิ ายด้วยการเปรียบเทียบกับสิ่งทีร่ จู้ กั ค. อธิบายการใหค้ ำนิยาม ง. อธิบายดว้ ยการยกตวั อยา่ ง 60. ขอ้ ใดไมค่ วรปฏบิ ัติในการรายงานหน้าชนั้ เรียน ก. อ่านเนื้อหาให้ละเอยี ดชัดเจน ข. ใชเ้ วลาให้เกินกว่าที่กำหนดเล็กน้อย ค. ขณะพูดควรกวาดสายตาดผู ฟู้ ังใหท้ ัว่ ถงึ ง. เปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั ซักถาม

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน รหสั วชิ า 20000-1102 วิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน คำสงั่ จงทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) หน้าข้อทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุด 1.ข้อใดอ่านออกเสยี งถกู ต้อง ก. กลวิธี อ่านวา่ กน–ว–ิ ที ข. เสวก อ่านว่า เส–วะ–กะ ค. เจรจา อา่ นวา่ เจ–ระ–จา ง. อปุ กรณ์ อา่ นวา่ อุ–ปะ–กอน ๒. ขอ้ ใดอา่ นออกเสยี งผิด ก. อุปโลกน์ อ่านวา่ อุป–ปะ–โลก ข. สมรรถภาพ อ่านว่า สะ–มดั –ถะ–พาบ ค. โลกทศั น์ อ่านว่า โลก–กะ–ทดั ง. รฐั สภา อ่านวา่ รดั –ถะ–สะ–พา ๓. ขอ้ ใดอ่านออกเสียงไดม้ ากกว่า ๑ อยา่ ง ก. คุณภาพ ข. คณุ วเิ ศษ ค. คณุ โทษ ง. คุณคา่ ๔. ข้อใดเขียนถกู ตอ้ งทุกคำ ก. นิรมิต เดยี รดาษ เอก็ ซเรย์ เซ็นชอื่ ข. ไอศกรีม เชต๊ิ ค. หมายเหตุ โนต้ ปกิ นิก ง. โบว์ โชว์ ๕. ข้อใดเขยี นถกู ต้องทกุ คำ ก. ขมกุ ขะมอม กระเพรา ข. ขบฎ กระทัดรดั ค. กะทันหัน ขโมย ง. เกษียณอายุ ขะมักเขม้น ๖. ข้อใดเขียนผดิ ทกุ คำ ก. ประสปี ระสา กระตือรอื ร้น ข. ชะอุ่ม ชะโลม ค. โลกาภวิ ตั น์ ทูลเกล้าฯ ง. ซาบซ้ึง ซาบซ่าน ๗. ข้อใดเปน็ คำทม่ี คี วามหมายตรงกนั ข้าม ก. จตุ ิ – มรณะ ข. สจุ ริต – ทุจรติ ค. เศรษฐี – เศรษฐกจิ ง. รโหฐาน – มโหฬาร 8. ขอ้ ใดไม่ไดส้ ่ือความหมายนยั ประหวดั ก. ท่าทางของเขาเหมือนราชสหี ์ ข. ยังไมท่ นั นกกระจอกกนิ นำ้ เขากแ็ พ้เสยี แลว้ ค. เดก็ เหมือนผ้าสีขาว ง. เขาเปน็ มอื ขวาของหัวหน้า 9. ข้อใดใช้ภาษาก่งึ แบบแผน ก. ผปู้ กครองมาหาอาจารย์ ข. คณุ คงไม่สมหวังอกี เช่นเคย ค. คุณแมร่ ับประทานอาหารหรือยังคะ ง. ฉันขอเชญิ เธอไปงานวันเกิดท่บี า้ น 10. ข้อใดใช้คำผดิ ระดบั ก. คุณกนิ ข้าว ข. คณุ รับข้าว ค. คุณทานขา้ ว ง. คุณหมำ่ ข้าว 11. ข้อใดหมายถงึ พระอาทิตย์ ก. เอราวณั ข. อาภากร ค. อาชาไนย ง. อัศวะ 12. ข้อใดมีความหมายเชิงอปุ มา ก. ฉันชอบปิดทองหลงั พระ ข. ฉนั เปน็ ลูกเป็ดขีเ้ หร่แหง่ วงการมายา ค. ฉันเปน็ ไอดอลของแฟนคลับ ง. ฉันไม่ไดเ้ ปน็ ก๊ิกกบั เขานะ

13. การประชาสัมพันธ์ขา่ วสารเรื่องการระบาดของไขเ้ ลอื ดออก จัดเปน็ สารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มนา้ วใจ ค. สารให้ความบันเทงิ ง. สารให้ความจรรโลงใจ 14 ข้อใดเปน็ กระบวนการสุดทา้ ยของการฟังและการดู ก. ยอมรบั ข. ตคี วาม ค. เขา้ ใจ ง. นำไปใช้ 15. ขอ้ ใดเป็นมารยาทท่ีควรแสดงออกในการฟังและการดูเมอื่ มีความพงึ พอใจ ก. หัวเราะและโห่รอ้ งอยา่ งสะใจ ข. เปา่ ปากและตะโกนเชียร์เสยี งดงั ค. หวั เราะและปรบมือทุกครั้งท่ีถูกใจ ง. โหร่ อ้ งและกระทืบเท้าดว้ ยความมัน 16..ขอ้ ใดเปน็ หลักการฟงั และการดูที่ดี ก. ฟังเพราะผูส้ ง่ สารมีบุคลิกดี ข. ฟงั เพราะผู้ส่งสารเป็นผูม้ ชี ่อื เสียง น่าเช่ือถอื ค. ฟังเพราะผู้ส่งสารมคี วามสนทิ สนมเปน็ การส่วนตวั ง. ฟังเพราะผู้สง่ สารสง่ สารได้ตรงความสนใจของตน 17. ถา้ ฟังแลว้ บอกสาระสำคญั ของเร่อื งได้ แสดงว่ามีความสามารถในการฟังระดบั ใด ก. ขน้ั ได้ยนิ ข. ขน้ั เขา้ ใจ ค. ข้ันตคี วาม ง. ขนั้ ยอมรบั 18.“เคร่ืองทองจากกรพุ ระปรางค์วัดราชบรู ณะและวัดมหาธาตุ เปน็ หลักฐานทส่ี ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความเจรญิ มั่งคั่งของกรงุ ศรอี ยธุ ยาและความเป็นเลิศในด้านฝีมอื การช่าง” ขอ้ ความขา้ งต้นจัดเปน็ สารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มนา้ วใจ ค. สารให้ความบนั เทงิ ง. สารให้ความจรรโลงใจ 19. รายการโทรทัศน์เก่ยี วกบั สารคดชี วี ิตของผ้ตู กทกุ ขไ์ ดย้ าก เชน่ ชีวติ ของคนชราท่ีลกู หลานท้ิงใหอ้ ย่คู นเดียว แลว้ เชิญชวนใหผ้ ู้ชมสง่ เงนิ บรจิ าคเพือ่ ช่วยเหลอื จัดเป็นสารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มน้าวใจ ค. สารให้ความบันเทงิ ง. สารให้ความจรรโลงใจ 20. จากโจทยข์ ้อ ๙ ผู้ทสี่ ง่ เงินไปบริจาค แสดงว่าผู้ดรู ายการผ่านกระบวนการรบั สารขั้นใด ก. ขน้ั ยอมรบั ข. ขนั้ ตีความ ค. ข้ันเข้าใจ ง. ขน้ั นำไปใช้ 21. “เขาจะพูดเรอ่ื งอะไร ๆ ฉันกไ็ ม่อยากฟัง” คำกล่าวน้แี สดงลกั ษณะใดของผู้พดู ก. ขาดความพร้อม ข. มคี วามรอบรู้ ค. ขาดสมาธใิ นการฟัง ง. มอี คตติ อ่ ผสู้ ่งสาร 22. ข้อใดแสดงถึงการฟังเพอื่ หาเหตผุ ล ก. ฟังหูไวห้ ู ข. ฟงั ความขา้ งเดยี ว ค. กำแพงมหี ู ประตูมชี อ่ ง ง. ฟังไม่ไดศ้ พั ท์ จับไปกระเดยี ด 23. ข้อใดเปน็ จุดมุง่ หมายของการฟงั ทต่ี อบสนองชีวติ ประจำวนั มากท่สี ุด ก. รับรเู้ รื่องราว ข่าวสาร ข. สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ ค. พฒั นาตนเองก้าวไกล ง. ซาบซ้งึ ศรทั ธา จติ ใจดีงาม 24. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญในการพดู อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ก. มีการวิเคราะหผ์ ้ฟู ัง ข. มบี คุ ลิกดนี ่าเช่ือถือ ค. มคี วามรใู้ นเรอื่ งท่ีจะพดู ง. มวี ตั ถุประสงค์ชัดเจน ๒5. ข้อใดควรปฏิบัตเิ ปน็ สงิ่ แรกในการทักทายปราศรัย ก. หนา้ ตายมิ้ แยม้ แจม่ ใส ข. กลา่ วคำสวสั ดี พร้อมยกมอื ไหว้ ค. กลา่ วคำสวสั ดี ง. ยกมือไหว้

26. ขอ้ ใดไม่ควรใชเ้ ป็นหัวข้อในการสนทนา ก. ข่าวอาชญากรรม ข. การตายของเพอ่ื นสนทิ ค. เหตุการณ์ทวั่ ไป ง. การจดั งานวันเด็ก 27. การพูดข้อใดต้องมีการเตรยี มตวั ล่วงหนา้ ก. การแนะนำผพู้ ูด ข. การทักทายปราศรัย ค. การสนทนา ง. การแนะนำตวั 28. มารยาทขอ้ ใดอาจไม่จำเป็นต้องระวงั ในการสนทนาระหว่างบุคคล ก. หนา้ ตายมิ้ แย้มแจ่มใส ข.เคารพในความคดิ เห็นของผ้อู ืน่ ค. แต่งกายใหส้ ภุ าพเรียบร้อย ง. ควบคมุ อารมณข์ ณะพดู 29. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องตามหลักการแนะนำบคุ คล ก. เอย่ ช่อื ผู้ใหญใ่ หผ้ ูน้ ้อยรจู้ กั กอ่ น ข.เอย่ ช่อื ใครกอ่ นก็ได้ถา้ มฐี านะเท่ากนั ค. เอย่ ชื่อผหู้ ญงิ ให้ผ้ชู ายรู้จกั ก่อน ง.เอย่ ชือ่ ผ้ชู ายให้ผ้หู ญงิ รจู้ กั กอ่ น 30. ข้อใดกลา่ วแนะนำผู้พดู ได้อย่างเหมาะสม ก. กลา่ วถึงหน้าท่ีการงานในปจั จบุ นั ข.กลา่ วถงึ อำนาจวาสนาท่ีน่าท่งึ ค. กล่าวถงึ ประวัติสว่ นตัวอย่างละเอียด ง. กลา่ วยกยอ่ งความสามารถเป็นพเิ ศษ 31. ข้อใดไมต่ ้องกล่าวในการแนะนำบุคคล ก. สถานภาพ ข.ตำแหน่งหน้าที่ ค. นามสกุล ง.อาชพี 32. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักการตอบรับและปฏเิ สธ ก. เคารพในความรสู้ กึ ของผตู้ อบและผ้ฟู ัง ข.ระยะเวลาทีใ่ ช้พจิ ารณาหาคำตอบ ค. ตำแหน่งหน้าท่แี ละสถานภาพทางสงั คมของผู้ฟงั ง.แสดงความร้สู กึ ขณะตอบอยา่ งสภุ าพ 33. ข้อใดเป็นการปฏิเสธไม่ซือ้ สินค้าท่ีเหมาะสมทสี่ ุด ก. สินคา้ ของคุณดีเกนิ ไป ฉันไมม่ ปี ญั ญาซอ้ื หรอก ข. สินคา้ นี้นา่ สนใจแตข่ อลดสัก 70%ไดไ้ หม ค. สนิ ค้ายี่หอ้ นีฉ้ นั ไม่ใชห้ รอกค่ะ ง. สนิ คา้ ราคาถูก คณุ ภาพกค็ งพอกบั ราคา 34. ส่ิงแรกทคี่ วรทำในการพดู กจิ ธุระคอื อะไร ก. นดั หมาย วนั เวลา สถานทพี่ ูด ข.แจ้งให้ผู้ที่จะพูดกจิ ธรุ ะด้วยรบั ทราบ ค. เตรยี มขอ้ มูลทีจ่ ะพูดให้พร้อม ง.แนะนำตัวเองกอ่ นพดู กจิ ธรุ ะ 35. ข้อใดไมค่ วรปฏิบัติในการพดู กิจธรุ ะ ก. แตง่ ตัวให้ทันสมยั ดูดี ข.มาถึงสถานทนี่ ัดหมายช้าไปนดิ หน่อย ค. พดู ธุระแบบตรงไปตรงมา ง. แสดงความเคารพนอบน้อม เพ่ือผลสำเรจ็ ของธรุ ะทีต่ อ้ งการ 36. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ ลักทั่วไปของการพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ก. ใชเ้ สียงใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ข.ใช้เวลาใหน้ านกว่ากำหนดเล็กน้อย ค. คำนึงถงึ โอกาสทพี่ ูด ง.เตรยี มเนอื้ หาท่พี ูด 37. ข้อใดควรกลา่ วเปน็ อนั ดับแรกของการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ก. กล่าวถึงความร้สู ึกท่ีได้รับเกยี รติใหเ้ ป็นผพู้ ูด ข. กล่าวถึงความดี ความสามารถของเจ้าของงาน ค. กลา่ วถงึ ความสำคัญของงาน ง. กลา่ วถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งผู้พูดกบั เจา้ ของงาน ๓8. สถานการณ์ใดไมต่ อ้ งกล่าวอวยพร ก. ไว้อาลัยคนตาย ข. กล่าวแนะนำผพู้ ูด ค. ต้อนรบั ผูม้ าเยือน ง. ไวอ้ าลยั คนเป็น

39.ขอ้ ใดไม่ควรกล่าวไว้อาลยั เพ่อื นที่ยา้ ยไปทำงานที่อน่ื ก. กล่าวถงึ ความสมั พนั ธท์ ี่มีไมตรจี ิตต่อกนั ข. กลา่ วถึงหลกั การทำงานท่ดี เี พ่ือเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน ค. กล่าวถึงความดที ี่เพ่ือนไดก้ ระทำขณะทำงานร่วมกัน ง. กลา่ วอวยพรให้มคี วามสขุ สสู่ ุคติ 40.ข้อใดกลา่ วแนะนำผู้พูดไดอ้ ย่างเหมาะสม ก. กล่าวถงึ หนา้ ทีก่ ารงานในปัจจุบัน ข. กล่าวถงึ อำนาจวาสนาท่ีนา่ ท่งึ ค. กลา่ วถึงประวตั สิ ่วนตวั อยา่ งละเอียด ง. กล่าวยกยอ่ งความสามารถเป็นพเิ ศษ 41 การพูดขอ้ ใดควรมกี ารเตรยี มต้นฉบบั ไวล้ ่วงหน้า ก. ไว้อาลยั ผู้เสยี ชวี ติ ข. ไว้อาลยั ผู้มีชีวติ อยู่ ค. อวยพรวนั เกดิ ง. อวยพรวันสมรส 42.การกล่าวอวยพรงานมงคลสมรสขอ้ ใดเหมาะสมทสี่ ุด ก. ขอให้ท้ังคู่มีความรัก มีความจรงิ ใจ และซ่อื สัตย์ตอ่ กันตลอดไปอยา่ ได้เสอ่ื มคลาย ข. ขอให้มีลูกเต็มบ้านหลานเตม็ เมือง มีลกู หวั ปีทา้ ยปีเพอ่ื สร้างพลเมอื งดีให้กบั สังคม ค. ขอแสดงความยินดดี ว้ ยนะท่ีไดแ้ ตง่ งานเสยี ที รักกันมานานแลว้ ง. ขอแสดงความยินดกี ับเจา้ สาวทีไ่ ด้เจา้ บ่าวรวยมากระดบั เศรษฐพี ันล้าน 43. “ขออาราธนาส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในสากลโลก จงอำนวยพรให้มีความสุขความเจรญิ อยู่เป็นร่มโพธ์ิร่มไทรของ ลูกหลาน อายยุ ืนยาวตลอดไป” ข้อความนี้ควรใช้อวยพรในโอกาสใด ก. อวยพรวนั ปีใหม่ ข. อวยพรวนั ขน้ึ บ้านใหม่ ค. อวยพรวนั เกดิ ง. อวยพรวนั มงคลสมรส 44. ขอ้ ใดไม่ตอ้ งมกี ารกลา่ วตอบ ก. แนะนำบุคคล ข. อวยพรวันเกดิ ค. ตอ้ นรับ ง. ไวอ้ าลยั 45. ขอ้ ใดไม่ตอ้ งมกี ารกลา่ วอวยพร ก. แนะนำผ้พู ูด ข. งานแต่งงาน ค. ต้อนรบั ง. ไว้อาลยั 46.ข้อใดไมถ่ ูกต้อง ก. การพูดแสดงความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ ตอ้ งเลือกสรรถ้อยคำ ภาษาทไ่ี พเราะสละสลวย ข. การพดู แสดงความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ ผ้พู ูดจะพดู ในนามของเจ้าภาพ ค. การพูดแสดงความรูส้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ ตอ้ งเรม่ิ ดว้ ยการทักทายผ้ฟู งั ง. การพดู แสดงความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ ไมค่ วรใช้เวลานาน 47. ขอ้ ใดไม่ต้องกลา่ วในการอวยพรวนั เกดิ ผูอ้ าวโุ ส ก. ขอให้สขุ ภาพสมบรู ณ์ แข็งแรง ข. ขอให้มีความเจริญในหน้าทก่ี ารงาน ค. ขอใหส้ ่งิ ศักดส์ิ ิทธิ์คมุ้ ครอง ง. ขอใหอ้ ายยุ นื ยาว 48. การพูดแสดงความรูส้ ึกในโอกาสต่าง ๆ ไมค่ วรพูดยาวเพราะอะไร ก. กำหนดการของแต่ละงานมีหลายรายการ ข. ผูพ้ ดู จะได้ไมต่ อ้ งเสียเวลาในการเตรียมเรื่องที่จะพูด ค. พูดยาว คนในงานอาจไม่ฟงั ง. เปดิ โอกาสใหแ้ ขกในงานไดพ้ ูดหลายคน 49. ข้อใดไมต่ ้องกลา่ วในการตอบรบั งานมงคลสมรส ก. น้อมรบั ข้อแนะนำของผู้มเี กยี รติเพอ่ื นำไปสู่การปฏบิ ตั ิ ข. น้อมรับขอ้ ผดิ พลาดทอี่ าจเกิดขึ้นในการจดั งาน ค. แสดงความตัง้ ใจจริงในการสรา้ งครอบครวั ใหเ้ ป็นปึกแผ่น ง. ขอบคณุ แขกทกุ คนทเี่ สียสละเวลาอนั มคี า่ มาร่วมงาน

50. ข้อใดควรกล่าวเปน็ อันดับแรกในการกลา่ วตอ้ นรับผมู้ าเยือน ก. ประโยชนท์ ีผ่ ูม้ าเยือนจะได้รับ ข.ขอบคณุ ทใ่ี หเ้ กียรตมิ าเยีย่ มเยอื น ค. แสดงความยินดีทม่ี ีโอกาสไดต้ อ้ นรับ ง.กล่าวถงึ ความสัมพนั ธ์อนั ดีทม่ี ีต่อกนั 5๑.ขอ้ ใดหมายถงึ การอธบิ ายความ ก. นำความร้มู าเรยี บเรียงใหม้ ีความหมายสมบรู ณ์ ข. นำพลความมาขยายใหม้ ีความหมายเท่าใจความ ค. นำใจความสำคัญมาเรียบเรยี งใหม่ ง. นำใจความเดมิ มาขยายความเพิม่ เตมิ 5๒.การเตรยี มเร่ืองและเตรยี มภาษาใหเ้ หมาะสมกบั ผ้รู บั สารตรงกบั หลักการอธิบายข้อใด ก. เตรยี มขอ้ มลู ทจ่ี ะอธบิ าย ข. อธบิ ายตามลำดบั ขั้นตอน ค. กำหนดจุดประสงค์ ง. วเิ คราะหผ์ รู้ บั สาร 5๓.ถ้าผูอ้ ธบิ ายไม่แนใ่ จในความรทู้ ่ีจะอธิบายควรทำอยา่ งไร ก. ทำความเข้าใจเร่อื งนัน้ ให้ดีก่อน ข. อธิบายเทา่ ท่ที ราบ ส่วนทไี่ มท่ ราบให้ผู้รบั สารค้นคว้าเพ่ิมเติม ค. ให้ผมู้ ีความรู้อธบิ ายแทน ง. เปลย่ี นหวั ข้อเรือ่ งท่จี ะอธิบาย 5๔.ข้อใดกลา่ วถึงการอธิบายความไม่ถกู ต้อง ก. การอธบิ ายควรตดั ประเดน็ ที่ไมเ่ กยี่ วข้องออกไป ข. การอธบิ ายควรใชศ้ ัพท์เฉพาะที่เป็นทางการเทา่ นั้น ค. การอธิบายควรใช้วิธกี ารหลาย ๆ อย่าง ง. การอธิบายมุ่งใหค้ วามรู้และข้อเท็จจรงิ ที่ถูกตอ้ ง 5๕.การเสนอแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันโดยไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง จดั เปน็ การพูดแบบใด ก. เพื่อแสดงความร้สู กึ ข. เพื่อแสดงความคดิ เหน็ ค. เพ่อื ให้ความรู้ ง. เพอื่ ใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร 5๖.การอธิบายเน้ือหาสาระตามท่ไี ด้รบั มอบหมายหนา้ ชั้นเรียน เป็นการอธิบายดว้ ยจดุ ประสงค์ใด ก. เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจ ข. เพือ่ แสดงความคดิ เหน็ ค. เพ่อื ให้ความรู้ ง. เพอ่ื โนม้ น้าวใจ 5๗.การอธบิ ายโดยให้ความหมายหรือใหค้ ำนิยาม เปน็ การอธิบายโดยวธิ ใี ด ก. อธิบายด้วยการขยายความ ข. อธิบายด้วยการยกตวั อย่าง ค. อธิบายด้วยคำจำกัดความ ง. อธิบายดว้ ยการเปรียบเทียบ 5๘.การอธิบายวิธกี ารใช้คอมพวิ เตอร์ ควรอธิบายด้วยวิธใี ด ก. อธบิ ายดว้ ยการเปรียบเทยี บ ข. อธิบายด้วยการขยายความ ค. อธิบายตามลำดบั ขน้ั ง. อธบิ ายด้วยการยกตวั อย่าง 5๙.การอธิบายถงึ สิง่ ของหรอื เรอื่ งท่ีผ้รู บั สารไม่เคยเห็นมากอ่ น ควรอธบิ ายดว้ ยวิธีใด ก. อธบิ ายดว้ ยการชแี้ จงเหตุและผล ข. อธิบายดว้ ยการเปรยี บเทยี บกบั สงิ่ ทร่ี ้จู กั ค. อธิบายการให้คำนิยาม ง. อธิบายดว้ ยการยกตวั อยา่ ง 60. ขอ้ ใดไม่ควรปฏบิ ัติในการรายงานหน้าชน้ั เรยี น ข. ใชเ้ วลาใหเ้ กินกว่าท่กี ำหนดเลก็ นอ้ ย ก. อา่ นเนื้อหาให้ละเอียดชัดเจน ง. เปิดโอกาสใหผ้ ้ฟู ังซกั ถาม ค. ขณะพูดควรกวาดสายตาดูผฟู้ งั ให้ทั่วถึง

ตารางสรุปแบบประเมินผเู้ รียนรายบคุ คลโดยการทดสอบก่อนเรยี น รหัสวชิ า 20000-1102 วิชาภาษาไทยพนื้ ฐาน ชอ่ื -สกลุ คะแนนสอบก่อนเรียน ระดับเกง่ ระดบั ปานกลาง ระดบั ออ่ น (60 คะแนน) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30 หมายเหตุ แบง่ ระดับผู้เรียนแบบวธิ กี ารองิ กลมุ่ หลักเกณฑก์ ารจดั ระดับผู้เรียน 1. ระดบั 41 - 60 คะแนน จดั อยู่ในระดับเกง่ 2. ระดับ 21 - 40 คะแนน จดั อยู่ในระดับปานกลาง 3. ระดับ 0 – 20 คะแนน จดั อยู่ในระดบั ปานกลาง ลงชอ่ื ......................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวศิรวิ รรณ ศริ สิ วัสด)์ิ ตำแหน่ง ครู ประจำแผนกสามญั สมั พนั ธ์

ตัวชี้วดั ที่ 1.2.2. ข้อ 2 1.2.2 จดั ทำแผนจดั การเรยี นรู้ /แผนการฝึกอาชีพ /แผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/แผนการสอนรายบคุ คล (IIP) / แผนการจดั ประสบการณ์ ข้อ 2 จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้หรือแผนการฝึกอาชีพ สอดคล้อง กบั การออกแบบหน่วยการเรียนรูธ้ รรมชาติของผู้เรียน แผนกสามญั สมั พันธ์ วทิ ยาลยั การอาชีพนคิ มคำสร้อย

ใบประเมนิ ผลปฏบิ ตั งิ านด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ชือ่ ชิน้ งาน......................................................................... ท่ี หัวข้อการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 การตรงตอ่ เวลา 2 การแต่งกาย 3 การใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบตั งิ าน 4 ความพรอ้ มในการทำงาน 5. ทัศนคติในการทำงาน 5.1 ความรบั ผิดชอบ 5.2 การทำความสะอาด/ ความปลอดภัย 5.3.การจดั เกบ็ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ รวมคะแนน รวมคะแนนทงั้ หมด หลกั เกณฑ์ใหค้ ะแนน ได้ 10 คะแนน ดีมาก ได้ 7 คะแนน ได้ 5 คะแนน ดี ได้ 3 คะแนน พอใช้ ได้ 0 คะแนน ปรบั ปรงุ ไมม่ ีงานส่ง ลงช่ือ...............................................ครูผ้ปู ระเมิน (นางสาวศริ ิวรรณ ศิริสวัสดิ์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนและการปฏบิ ัตงิ าน คำชแ้ี จง ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / และหากนักเรยี นมีพฤตกิ รรมนน้ั ลงในช่องรายการ พฤตกิ รรม รวม ที่ ชอ่ื -สกุล ความสนใจ การแสดง การตั้งใจ ทำงานตาม การใหค้ วาม ความคิดเห็น ทำงาน ทมี อบหมาย รว่ มมือ 4321432 1 43214321432 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดับคุณภาพของแตล่ ะพฤตกิ รรมดงั น้ี ดีมาก = 4 ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 90 – 100 % หรอื ปฏบิ ัติบอ่ ยครั้ง ดี = 3 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70 – 79 % หรอื ปฏบิ ตั บิ างคร้ัง ปานกลาง= 2 ประสทิ ธภิ าพอยูใ่ นเกณฑ์ 50 – 59 % หรอื ปฏบิ ัตคิ รั้งเดยี ว ปรบั ปรุง = 1 ประสทิ ธิภาพอยใู่ นเกณฑ์ 50 % หรือไม่ปฏบิ ัติเลย ลงชอ่ื ...............................................ผสู้ งั เกต (นางสาวศริ ิวรรณ ศิรสิ วัสดิ์ ............/.................../................

ตวั ชี้วดั ที่ 1.2.2. ขอ้ 4 1.2.2 จดั ทำแผนจดั การเรียนรู้ /แผนการฝกึ อาชพี /แผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/แผนการสอนรายบคุ คล (IIP) / แผนการจดั ประสบการณ์ ข้อ 4 มบี นั ทึกหลังการสอนหรอื หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ท่ีสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ แผนกสามญั สัมพันธ์ วทิ ยาลยั การอาชีพนคิ มคำสร้อย

บนั ทกึ หลงั สอน รหสั วิชา 20000-1101 วชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) ชั้นปที ี่ 1 สาขาวิชาอตุ สาหกรรม / สาขาพาณชิ ยกรรม ประจำภาคเรยี นที่ 1/2563 จดั ทำโดย นางสาวศริ วิ รรณ ศิรสิ วสั ด์ิ ตำแหน่ง ครู แผนกวิชาสามัญสมั พันธ์ ฝา่ ยวชิ าการ วิทยาลยั การอาชีพนิคมคำสร้อย สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ตวั ชี้วัดท่ี 1.2.2. ขอ้ 5 1.2.2 จัดทำแผนจดั การเรียนรู้ /แผนการฝกึ อาชพี /แผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/แผนการสอนรายบคุ คล (IIP) / แผนการจดั ประสบการณ์ ข้อ 5 เปน็ แบบอย่างท่ีดแี ละใหค้ ำแนะนำดา้ นการจดั ทำแผนจดั การเรยี นรู้ แผนกสามัญสัมพนั ธ์ วิทยาลยั การอาชีพนคิ มคำสร้อย

ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.2.3 ขอ้ 1 1.2.3 กลยทุ ธก์ ารจัดการเรยี นรู้ ขอ้ 1 จดั การเรยี นรู้โดยใช้รปู แบบ เทคนิค และวิธกี ารทีเ่ น้นวิธี การปฏิบตั ิ มีความหลากหลาย ใช้ส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยีการจัด การเรียนรู้การวัดผลและประเมนิ ผลตามแผนการจดั การเรียนรหู้ รือ แผนการฝกึ อาชพี ท่ีสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะประจำ หน่วยหรอื สมรรถนะของหลกั สตู ร และสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของผเู้ รยี น หรือผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมและเนอื้ หาสาระการเรียนรู้ แผนกสามญั สัมพนั ธ์ วิทยาลยั การอาชีพนคิ มคำสร้อย

ตวั ชว้ี ัดท่ี 1.2.3 ข้อ 2 1.2.3 กลยทุ ธก์ ารจัดการเรยี นรู้ ขอ้ 2 ประเมนิ ผลการใช้กลยทุ ธ์ในการจัดการเรยี นรูแ้ ละนำผล การประเมนิ มาปรับปรงุ พฒั นาใหม้ คี ณุ ภาพสูงขึ้น แผนกสามญั สมั พนั ธ์ วทิ ยาลยั การอาชพี นคิ มคำสร้อย

ตัวชี้วดั ที่ 1.2.3 ขอ้ 3 1.2.3 กลยุทธก์ ารจัดการเรยี นรู้ ข้อ 3 นิเทศการจัดการเรียนรู้ในสถานศกึ ษา แผนกสามญั สัมพันธ์ วทิ ยาลยั การอาชีพนคิ มคำสร้อย

ตวั ช้วี ดั ท่ี 1.2.4 1.2.4 คุณภาพผเู้ รยี น จำนวนผ้เู รยี นหรอื ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 65 มผี ลการพฒั นาคุณภาพเปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายที่สถานศึกษากำหนด แผนกสามญั สัมพันธ์ วิทยาลัยการอาชีพนิคมคำสร้อย