เฉลย แบบฝึกหัด การบัญชี ชั้น สูง 1 บทที่ 3

แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ

วิชาการบัญชีช้ันสงู 1 รหสั 30201 – 2005
(ทฤษฎี 2 ปฏิบตั ิ 2 หนว่ ยกิต 3)

หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู พุทธศักราช 2563
ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกจิ สาขาวชิ าการบญั ชี
สาขางานการบัญชี

จัดทาโดย
นางประไพศรี วงศป์ รีดี

วทิ ยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคาขออนุมตั ใิ ชแ้ ผนการจดั การเรียนรูม้ งุ่ เน้นสมรรถนะ

แผนการจัดการเรยี นรู้มุง่ เน้นสมรรถนะและบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/คณุ ลักษณะ 3 D
รายวชิ าการบัญชชี ้ันสงู 1 รหสั วิชา 30201– 2005 2-2-3

ลงช่อื ..................................
(นางประไพศรี วงศป์ รดี ี)

ครู อนั ดบั คศ. 2 วิทยฐานะครูชาํ นาญการ
ผู้จัดทาํ

ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชาการบญั ชี ความเห็นหวั หน้างานพัฒนาหลักสูตรฯ
………………………………….. ………………………………………….

(นางประไพศรี วงศป์ รดี ี) ( นายคมุ ดวง พรมอินทร)์
หัวหน้าแผนกวิชาการบัญชี หัวหนา้ งานพฒั นาหลักสูตรฯ

ความเห็นรองผอู้ าํ นวยการฝา่ ยวชิ าการ
…………………………………………

(นายทินกร พรหมอนิ ทร)์
รองผูอ้ ํานวยการฝา่ ยวชิ าการ

ความเหน็ ผ้อู านวยการวิทยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน

O อนุมตั ิ O ไม่อนุมัติ

......................................
(นางวรรณภา พ่วงกุล)
ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดนิ

คานา

แผนการสอนวชิ า “การบญั ชีช้ันสงู 1” รหัสวชิ า 30201– 2005 จดั ทาํ ขึน้ เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทาง
ในการจดั การเรยี นการสอน วิชา การบัญชชี ั้นสูง 1 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง(ปวส.)
พทุ ธศักราช 2563 ของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจดั การเรียนการสอนทงั้ หมด
18 สปั ดาห์ สปั ดาห์ละ 4 ชว่ั โมง เน้อื หาภายในแบ่งออกเปน็ 5 หน่วย ประกอบดว้ ยเนื้อหาเกยี่ วกบั
การบัญชเี กีย่ วกบั กจิ การรว่ มคา้ , การบญั ชกี ารฝากขาย, การบญั ชเี กีย่ วกับการขายตามสัญญาผอ่ นชาํ ระและการ
เชา่ ซอ้ื , ดอกเบยี้ ท่เี กิดจากการเช่าซือ้ และการขายผอ่ นชําระและระบบบัญชที ไ่ี มส่ มบูรณ์แบบ

สําหรับแผนการสอนรายวิชาน้ี ผู้จัดทําได้ทุ่มเทกําลังกาย กําลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
เพอ่ื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพต่อการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
แบบพอเพยี ง

ทา้ ยที่สุดน้ี ผจู้ ดั ทําขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหลง่ ความรู้ และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ซึ่งเปน็ ส่วนสําคัญที่ทํา
ให้แผนการสอนวิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วน เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผู้ใช้พบข้อบกพร่องหรือมี
ข้อเสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผูจ้ ัดทําทราบดว้ ย จกั ขอบคุณย่งิ

ลงชื่อ.......................................
(นางประไพศรี วงศป์ รดี )ี

สารบัญ ง

ปก หน้า
แบบคําขออนมุ ตั ิ ก
คาํ นํา ข
สารบญั ค
หลักสตู รรายวชิ า ง
กําหนดการเรยี นรู้ ฉ
ตารางวิเคราะหร์ ะดบั พุทธิพสิ ยั ทักษะพิสยั จิตพสิ ัย ช
หน่วยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาํ หน่วย ซ
แผนการเรยี นรู้ ฌ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 การบญั ชเี กยี่ วกับกิจการร่วมค้า 1
ใบความรู้ 5
ใบทดสอบ 9
ใบเฉลยแบบทดสอบ 12
ใบมอบหมายงาน 13
14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การบญั ชีการฝากขาย 18
ใบความรู้ 31
ใบทดสอบ 35
ใบเฉลยแบบทดสอบ 37
ใบมอบหมายงาน 38
42
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การบญั ชีเกีย่ วกับการขายตามสัญญาผอ่ นชาํ ระและการเช่าซอื้ 78
ใบความรู้ 81
ใบทดสอบ 83
ใบเฉลยแบบทดสอบ
ใบมอบหมายงาน

สารบญั (ต่อ) จ

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 ดอกเบยี้ ท่ีเกดิ จากการเช่าซ้อื และการขายผ่อนชําระ หนา้
ใบความรู้ 84
ใบทดสอบ 88
ใบเฉลยแบบทดสอบ 98
ใบมอบหมายงาน 100
101
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 ระบบบญั ชีท่ไี ม่สมบูรณแ์ บบ 102
ใบความรู้ 106
ใบทดสอบ 141
ใบเฉลยแบบทดสอบ 143
ใบมอบหมายงาน 145

ภาคผนวก 146

หลักสตู รรายวชิ า

วชิ าการบญั ชีชนั้ สูง 1 (Advanced Accounting 1) รหัส 30201 – 2005
ทฤษฎี 2 ปฏบิ ัติ 2 หนว่ ยกิต 3

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง พทุ ธศักราช 2563
สาขาวิชาการบญั ชี สาขางานการบัญชี

วชิ าบงั คับก่อน : หลกั การบัญชเี บื้องต้น 2
จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้

1. เขา้ ใจเก่ยี วกบั หลักการบัญชขี องกจิ การร่วมคา้ ฝากขาย ขายผ่อนชาํ ระและเช่าซอ้ื และ
การจัดทาํ งบการเงินจากรายการท่ีบันทกึ ไวไ้ ม่สมบูรณ์

2. มที ักษะในการบนั ทกึ บัญชี และจดั ทาํ งบการเงนิ ของกจิ การรว่ มค้า ฝากขาย ขายผอ่ นชาํ ระและเช่าซอ้ื
ตามมาตรฐานการบญั ชี

3. มคี ุณลักษณะนสิ ัยทพี่ งึ ประสงค์ และมเี จตคตทิ ด่ี ี ในการประกอบอาชีพ
สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั หลกั การบญั ชขี องกิจการร่วมคา้ ฝากขาย ขายผอ่ นชาํ ระและเชา่ ซื้อ และ
การจดั ทํางบการเงนิ จากรายการที่บนั ทึกไวไ้ มส่ มบรู ณ์

2. ปฏบิ ัตงิ านตามกระบวนการบญั ชขี องกิจการร่วมค้า ฝากขาย ขายผ่อนชาํ ระและเชา่ ซ้อื และ
การจัดทาํ งบการเงินจากรายการทีบ่ นั ทกึ ไว้ไมส่ มบูรณ์ ตามมาตรฐานการบญั ชี
คาอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาและปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั การบัญชกี จิ การรว่ มคา้ ฝากขาย ขายผอ่ นชาํ ระและเช่าซ้อื และการจัดทาํ งบ
การเงนิ จากรายการบันทึกบญั ชีทไี่ ม่สมบรู ณ์

กาหนดการเรยี นรู้

หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ จํานวนชว่ั โมง สัปดาห์ท่ี
4 1
1 การบญั ชเี กย่ี วกบั กจิ การรว่ มค้า 4 2
4 3
2 การบัญชกี ารฝากขาย 4 4
4 5
3 การบญั ชีเก่ียวกบั การขายตามสัญญาผอ่ นชาํ ระ 4 6
และการเช่าซือ้ 4 7
4 8
4 ดอกเบยี้ ทเ่ี กดิ จากการเช่าซ้อื และการขายผอ่ นชําระ 4 9
4 10
5 ระบบบัญชีที่ไม่สมบูรณแ์ บบ 4 11
4 12
รวม 4 13
4 14
4 15
4 16
4 17
4 18
72

ตารางวเิ คราะห์ระดบั พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะพิสัย จติ พสิ ยั ช

รหัสวชิ า 30201– 2005 ชอ่ื วิชา หลักการบญั ชีช้นั สูง 1 ท-ป-น 2-2-3

หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สงู ประเภทวิชา บรหิ ารธรุ กิจ

สาขาวชิ า การบัญชี สาขางาน การบญั ชี

ระดบั พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์

หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ พุทธิพิสัย ทกั ษะพสิ ัย จติ พิสยั เวลา
ที่ 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 (ชม.)

1 การบัญชเี กี่ยวกบั กิจการ     12
รว่ มคา้     16

2 การบญั ชีการฝากขาย    16

3 การบญั ชีเกยี่ วกับการขาย 
ตามสัญญาผอ่ นชาํ ระ

และการเช่าซอื้

4 ดอกเบย้ี ทเ่ี กดิ จากการเชา่     12
ซอ้ื และการขายผ่อนชาํ ระ

5 ระบบบัญชีทไ่ี ม่สมบูรณ์แบบ        16

พุทธิพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย จติ พิสยั
1 = ความรู้ 1 = เลยี นแบบ 1 = รบั รู้
2 = ความเข้าใจ
3 = การนาํ ไปใช้ 2 = ทําไดต้ ามแบบ 2 = ตอบสนอง
4 = การวเิ คราะห์ 3 = ทาํ ได้ถกู ต้องแม่นยํา 3 = เหน็ คณุ ค่า
5 = การสงั เคราะห์ 4 = ทําไดต้ อ่ เนื่องประสานกัน 4 = จดั ระบบคุณคา่
6 = การประเมินค่า 5 = ทาํ ไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ 5 = พฒั นาเป็นลักษณะนิสยั

น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ัติ

หน่วยกา

รหัสวิชา 30201-2005 ชอ่ื วิชา ก
หลักสูตรประก
สาขาว

ชอ่ื หนว่ ย ความรู้

1. การบญั ชีเกย่ี วกับกิจการรว่ มค้า 1. อธิบายความหมาย และควา
1.1 ความรเู้ กีย่ วกบั กจิ การร่วมค้า กิจการร่วมค้าได้
1.2 ประเภทของธุรกิจทีด่ ําเนินธรุ กจิ ร่วมคา้
1.3 สาเหตทุ ีม่ กี ารทําธุรกิจแบบร่วมค้า 2. บอกประเภทของธุรกจิ ท่ดี าํ
1.4 การบนั ทกึ บญั ชขี องกิจการรว่ มคา้ 3. บอกสาเหตุที่มีการทาํ ธุรกิจ
1.5 การแสดงสิทธิส่วนไดเ้ สยี และกําไรขาดทนุ 4. อธบิ ายหลกั วธิ กี ารบันทกึ บ
จากกจิ การรว่ มค้าในงบการเงนิ ของผรู้ ่วมค้า
ร่วมค้าและบอกศพั ทบ์ ญั ชีไ

2. การบญั ชกี ารฝากขาย 1. บอกความหมายและความส
2.1 ความหมายและความสําคญั ของการฝากขาย การฝากขายได้
2.2 ลกั ษณะของการฝากขาย
2.3 วธิ ีการดําเนินการฝากขาย 2. บอกสิทธิของผู้รบั ฝากขายไ
2.4 สทิ ธิของผรู้ ับฝากขาย 3. บอกหน้าทขี่ องผู้รับฝากขาย
2.5 หน้าท่ีของผรู้ บั ฝากขาย 4. บอกการจัดทํารายงานผลก

จากการฝากขายได้

ารเรียนรู้และสมรรถนะประจําหนว่ ย

การบญั ชชี ั้นสงู 1 หนว่ ยกิต 3 (ท-ป-น 2-2-3 72 ชว่ั โมง)
กาศนยี บตั รวชิ าชพี ประเภทวิชา การบญั ชี
วิชา การบัญชี สาขางาน การบญั ชี

ามสาํ คัญของ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะท่ีพง่ึ ประสงค์

าเนินธุรกจิ ร่วมค้าได้ ทักษะ มีความกระตือรือรน้ สนใจใฝร่ ู้
จแบบรว่ มค้าได้ รับผิดชอบในการปฏิบตั ิงาน มี
บัญชขี องกิจการ 1. บันทึกบัญชีของกิจการรว่ มคา้ ได้ ความซื่อสัตย์ รอบคอบ เช่ือมน่ั ใจ
ได้ ทง้ั วิธีไม่เปดิ สมุดบญั ชชี ุดร่วมค้า ตนเอง ตระหนกั ในคุณค่าและมี
ต่างหากอีกชุดหน่งึ และเปิด เจตคตทิ ดี่ ตี อ่ วิชาชีพการบัญชี
สําคญั ของ สมุดบัญชชี ดุ รว่ มค้าต่างหากอีก
ชุดหนึง่ ไมว่ ่าจะมีผูร้ ว่ มคา้ 2 มีความกระตอื รือรน้ สนใจใฝร่ ู้
ได้ คนหรือมากกว่า รับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั งิ าน มี
ยได้ ความซอื่ สัตย์ รอบคอบ เชื่อม่ันใจ
กาํ ไรขาดทนุ 2. แสดงสิทธสิ ว่ นได้เสีย และกาํ ไร ตนเอง ตระหนกั ในคุณคา่ และมี
ขาดทนุ จากกจิ การร่วมคา้ เจตคติทดี่ ีตอ่ วชิ าชพี การบัญชี
ในงบการเงินของผรู้ ่วมค้าได้

จดั ทาํ รายงานผลกาํ ไรขาดทนุ จาก
การฝากขายได้

หนว่ ยกา

รหสั วิชา 30201-2005 ช่อื วชิ า ก
หลกั สตู รประก
สาขาว

ชือ่ หน่วย ความร

2.6 การบญั ชีเก่ียวกบั การฝากขาย 1. บอกความหมายและความส
2.7 สินค้าคงเหลือของผ้ฝู ากขาย ตามสญั ญาผ่อนชาํ ระและส
2.8 เงินลว่ งหนา้ จากผรู้ บั ฝากขาย
2.9 การสง่ คืนสินคา้ ฝากขายท่ีขายไม่ได้ 2. คํานวณสินคา้ รบั แลกเปล่ยี น
2.10 การขายสินคา้ ฝากขายเป็นเงนิ เช่ือ 3. บอกการผดิ นัดชาํ ระหนี้และ
2.11 การจดั ทํารายงานผลกาํ ไรขาดทุน

จากการฝากขาย
3. การบัญชีเกยี่ วกบั การขายตามสญั ญาผ่อนชาํ ระ

และการเชา่ ซือ้
3.1 ความหมายและความสําคัญของการขาย

ตามสัญญาผอ่ นชาํ ระและสัญญาเชา่ ซอ้ื
3.2 การบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกับการขายตามสญั ญา

ผอ่ นชาํ ระและสญั ญาเช่าซ้อื
3.3 การบันทึกบญั ชีกรณกี ิจการใชว้ ิธบี ันทึก

บญั ชสี ินค้าแบบต่อเนอื่ ง

.

ารเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาํ หนว่ ย
การบัญชชี น้ั สูง 1 หนว่ ยกิต 3 (ท-ป-น 2-2-3 72 ชว่ั โมง)
กาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวิชา การบญั ชี
วชิ า การบญั ชี สาขางาน การบญั ชี

สมรรถนะ
รู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะท่ีพ่ึงประสงค์

สาํ คัญของการขาย บันทกึ บญั ชเี กีย่ วกบั การขายตาม มีความกระตอื รือรน้ สนใจใฝ่รู้
สัญญาเช่าซือ้ ได้ สัญญาผอ่ นชาํ ระและสญั ญาเช่า รบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิงาน มี
นได้ ซือ้ ได้ ความซือ่ สัตย์ รอบคอบ เช่ือมัน่ ใจ
ะการยดึ สนิ ค้าคืนได้ ตนเอง ตระหนกั ในคุณคา่ และมี
เจตคตทิ ่ดี ตี อ่ วชิ าชพี การบัญชี

หนว่ ยกา

รหัสวิชา 30201-2005 ชื่อวิชา ก
หลักสูตรประก
สาขาว

ชอ่ื หนว่ ย ความร

3.4 การบนั ทึกรายการปิดบญั ชี กรณกี จิ การใชว้ ิธี 1. บอกความหมายของดอกเบ
บนั ทึกสินคา้ แบบต่อเนื่อง และดอกเบย้ี ตามสัญญาเช่า

3.5 การบนั ทึกรายการปิดบัญชี กรณกี ิจการ 2. คาํ นวณดอกเบยี้ ได้
ใช้วิธีบนั ทกึ สินคา้ เมือ่ ส้นิ งวด 3. บนั ทกึ รายการเก่ียวกับการข

3.6 สินคา้ รบั แลกเปล่ียน ผ่อนชาํ ระและการขายตาม
3.7 การผดิ นดั ชาํ ระหนี้และการยดึ สนิ คา้ คืน
4. ดอกเบีย้ ทีเ่ กดิ จากการเช่าซอ้ื และการขายผ่อนชาํ ระ
4.1 ความหมายของดอกเบย้ี ตามสญั ญาผอ่ นชําระ

และดอกเบี้ยตามสญั ญาเชา่ ซื้อ
4.2 การคาํ นวณดอกเบี้ย
4.3 การบันทกึ รายการเก่ียวกับการขายตามสญั ญา

ผอ่ นชาํ ระ
4.4 การบันทึกรายการเกี่ยวกบั การขายตาม

สญั ญาเชา่ ซื้อ
4.5 การเปดิ เผยข้อมูลในงบการเงนิ

ารเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะประจาํ หน่วย

การบญั ชีชัน้ สูง 1 หน่วยกิต 3 (ท-ป-น 2-2-3 72 ชั่วโมง)
กาศนียบตั รวชิ าชพี ประเภทวิชา การบัญชี
วิชา การบัญชี สาขางาน การบัญชี

สมรรถนะ
รู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะที่พงึ่ ประสงค์

บย้ี ตามสญั ญาผ่อนชําระ จัดทํางบกาํ ไรขาดทนุ งบดลุ และ มีความกระตอื รือรน้ สนใจใฝร่ ู้
าซ้อื ได้ ปิดบญั ชีตามเกณฑ์การขายตาม รับผิดชอบในการปฏิบตั งิ าน มี
สัญญาผ่อนชาํ ระได้ ความซ่อื สตั ย์ รอบคอบ เชื่อมัน่ ใจ
ขายตามสญั ญา ตนเอง ตระหนกั ในคณุ คา่ และมี
มสัญญาเช่าซื้อได้ เจตคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาชพี การบัญชี


หน่วยกา

รหัสวิชา 30201-2005 ชอ่ื วชิ า ก
หลกั สูตรประก
สาขาว

ช่ือหน่วย ความร

5. ระบบบญั ชที ี่ไม่สมบูรณแ์ บบ 1. บอกความหมายและความส
5.1 ความหมายของระบบบญั ชที ไ่ี มส่ มบูรณแ์ บบ ท่ีไมส่ มบรู ณ์แบบได้
5.2 ความสําคัญของระบบบัญชีท่ไี ม่สมบูรณแ์ บบ
5.3 การคํานวณกําไรขาดทุนโดยการเปรียบเทียบทุน 2. คาํ นวณกาํ ไรขาดทุนโดย ก
5.4 การคาํ นวณกาํ ไรขาดทุนโดยการวิเคราะห์ 3. คํานวณกําไรขาดทุนโดยกา
รายละเอียดประกอบงบกาํ ไรขาดทุน
5.5 การเปลยี่ นวธิ ีการบัญชจี ากระบบบญั ชที ่ี ประกอบงบกาํ ไรขาดทนุ ได
ไม่สมบรู ณแ์ บบมาเป็นระบบบญั ชีคู่

ารเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาํ หน่วย

การบัญชีช้ันสงู 1 หน่วยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 72 ช่ัวโมง)
กาศนยี บัตรวิชาชพี ประเภทวิชา การบัญชี
วชิ า การบัญชี สาขางาน การบญั ชี

รู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะท่พี ึง่ ประสงค์

สําคัญของระบบบัญชี ทกั ษะ มีความกระตอื รือร้น สนใจใฝ่รู้
รบั ผิดชอบในการปฏบิ ตั งิ าน มี
การเปรยี บเทียบทุนได้ บันทกึ บัญชีเม่อื เปลี่ยนจาก ความซ่อื สัตย์ รอบคอบ เชอ่ื มั่นใจ
ารวิเคราะหร์ ายละเอียด วิธกี ารบัญชีจากระบบบัญชีทไี่ ม่ ตนเอง ตระหนักในคุณคา่ และมี
ด้ สมบรู ณ์แบบมาเปน็ ระบบบัญชคี ู่ เจตคตทิ ี่ดีต่อวชิ าชพี การบัญชี
ได้

13

แผนการจัดการเรยี นรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 1

ชื่อหนว่ ย การบญั ชีเกยี่ วกับกิจการร่วมค้า รวม 12 ช่วั โมง
สอนครงั้ ท่ี 1-3

เร่ือง การบญั ชีเกี่ยวกบั กจิ การร่วมค้า จํานวน 12 ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ

กิจการร่วมคา้ เปน็ วิธกี ารท่ีธรุ กจิ ใชใ้ นการระดมทรัพยากรทุน เพอื่ การจัดการธุรกจิ ทมี่ ขี นาดใหญ่
ใชเ้ งนิ ลงทนุ มากเกินกว่าท่ีกจิ การเพยี งแหง่ เดยี วจะสามารถดาํ เนินการได้เพยี งลาํ พงั การมีกิจการเกนิ กว่า
1 แห่งข้ึนไปมาร่วมดาํ เนนิ กิจการเพื่อแสวงหากาํ ไรร่วมกนั จงึ มีกระบวนการทางบญั ชที ีแ่ ตกตา่ งจากปกติ
การสรา้ งความเขา้ ใจในวธิ กี ารบัญชี และงบการเงินเก่ียวกบั การร่วมค้าตลอดจนการบนั ทกึ บญั ชีของกิจการ
รว่ มค้า จึงเป็นส่งิ จําเปน็ สาํ หรับการปฏิบัติงานทางบัญชีของกจิ การ

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

บันทกึ บญั ชีของกิจการร่วมค้าได้ทงั้ วธิ ีไมเ่ ปดิ สมุดบัญชชี ุดร่วมคา้ ตา่ งหากอีกชุดหนึ่งและเปดิ สมดุ
บญั ชีชุดรว่ มค้าตา่ งหากอีกชุดหน่งึ ไม่วา่ จะมีผูร้ ่วมคา้ 2 คนหรอื มากกว่า

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรียนร้)ู

3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1 อธิบายความหมาย และความสาํ คัญของกิจการร่วมคา้ ได้
3.1.2 บอกประเภทของธุรกจิ ท่ดี าํ เนินธุรกจิ ร่วมค้าได้
3.1.3 บอกสาเหตทุ ่ีมกี ารทําธุรกจิ แบบร่วมคา้ ได้
3.1.4 อธบิ ายหลกั วธิ กี ารบันทกึ บญั ชขี องกิจการรว่ มค้า และบอกศัพท์บัญชีได้

3.2 ด้านทักษะ
3.2.1 บนั ทึกบัญชขี องกิจการรว่ มค้าไดท้ ้งั วธิ ไี ม่เปิดสมุดบญั ชชี ุดร่วมคา้ ตา่ งหากอกี ชดุ หนง่ึ

และเปิดสมดุ บญั ชชี ดุ ร่วมค้าต่างหากอีกชุดหนง่ึ ไมว่ ่าจะมีผรู้ ่วมคา้ 2 คนหรือมากกว่า
3.2.2 แสดงสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี และกําไรขาดทุนจากกจิ การร่วมคา้ ในงบการเงนิ ของผรู้ ว่ มค้าได้

3.3 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
3.3.1 นกั ศึกษาเห็นความสาํ คญั และเข้าใจถึงเหตผุ ลของการทาํ บัญชี
3.3.2 นกั ศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี

3.4 การประยุกต์ 3D และนอ้ มนําหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.4.1 ผเู้ รียนมีการทําเปน็ ขัน้ ตอน การทาํ ตามลาํ ดบั ขน้ั
3.4.2 ผู้เรยี นมีวนิ ัย มคี วามประหยดั
3.4.3 ผู้สอนสอดแทรกปรัชญาเก่ียวกับความประหยัดอดออม

14

แผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 1

ชื่อหน่วย การบญั ชเี กี่ยวกบั กิจการร่วมค้า รวม 12 ชว่ั โมง
สอนคร้ังที่ 1-3

เรื่อง การบญั ชีเกยี่ วกับกิจการร่วมคา้ จาํ นวน 12 ชว่ั โมง

4. เน้ือหาสาระการเรยี นรู้

4.1 ความหมาย และความสําคัญของกิจการร่วมคา้
4.2 ประเภทของธุรกิจทีด่ ําเนนิ ธุรกจิ ร่วมค้า
4.3 สาเหตุท่ีมกี ารทาํ ธรุ กิจแบบร่วมค้า
4.4 วิธีการบันทึกบญั ชีของกจิ การรว่ มคา้
4.5 การแสดงสทิ ธิสว่ นได้เสยี และกําไรหรอื ขาดทุนจากกิจการร่วมคา้ ในงบการเงนิ ของผรู้ ว่ มคา้
4.6 ศพั ท์บญั ชี

5 กจิ กรรมการเรยี นการสอน

5.1 ขั้นนาํ เข้าสูบ่ ทเรียน(M)
นําเขา้ สู่บทเรยี นโดยกล่าวถึงวงจรการดาํ เนินธรุ กิจ

5.2 ขนั้ การจัดเรยี นรู(้ I)
5.2.1 ทาํ แบบประเมินผลกอ่ นการเรยี น
5.2.2 ผสู้ อนและผ้เู รยี นร่วมกนั อภิปรายเรือ่ งเก่ยี วกับวงจรการดาํ เนินธุรกิจ
5.2.3 ผเู้ รยี นศกึ ษาใบความรู้

5.3 ขัน้ สรุป(A)
5.3.1 แบ่งกลุ่มผเู้ รยี นมารายงานหนา้ ชน้ั เรียน

15

แผนการจดั การเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1

ชอื่ หน่วย การบัญชเี กีย่ วกับกิจการรว่ มค้า รวม 12 ช่วั โมง
สอนครงั้ ที่ 1-3

เรอ่ื ง การบัญชเี กยี่ วกับกิจการร่วมคา้ จํานวน 12 ชว่ั โมง

5.4 การวดั ผลและประเมินผล(P)

5.4.1 การสงั เกต

 ความต้งั ใจและสนใจของผเู้ รยี น

 ความร่วมมือในการอภิปราย

 การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตผุ ล

5.4.2 การตรวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิ

 กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ

 แบบทดสอบเพ่ือประเมนิ ผลหลังการเรยี นรู้

5.4.3 การทดสอบด้วยวาจาและข้อเขยี น

 ตรวจแบบทดสอบ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60

 ตัง้ คาํ ถามให้ตอบและอธิบาย ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

6. สือ่ การการเรียนร้/ู แหล่งการเรียนรู้

6.1 ส่อื สงิ่ พมิ พ์

หนังสอื เรยี นวิชา : ของสํานกั พิมพ์เอมพนั ธ์

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 ใบความรู้

7.2 ใบทดสอบ

7.3 ใบสงั่ งาน

8. การบรู ณาการ/ความสัมพันธก์ ับวิชาอืน่

8.1 วชิ าภาษาไทย เกยี่ วกับการใช้ภาษาด้านการพูด การอ่าน และการเขียน

8.2 วิชาคณติ ศาสตร์ เกย่ี วกบั การคาํ นวณ

8.3 วชิ าภาษาองั กฤษ ดา้ นคําศพั ท์ทางบัญชี

16

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1

ชือ่ หนว่ ย การบญั ชเี กย่ี วกบั กิจการรว่ มค้า รวม 12 ชว่ั โมง
สอนครง้ั ท่ี 1-3

เร่ือง การบญั ชีเกย่ี วกับกิจการรว่ มคา้ จาํ นวน 12 ชั่วโมง

9. การวัดผลและประเมินผล

9.1 วิธีการ ดาํ เนินการวดั ผลในชว่ งเวลา

(1) ก่อนเรยี น โดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

(2) ระหว่างเรียน โดยการถามตอบและการสงั เกตการณป์ ฏบิ ัตงิ าน

(3) หลังเสรจ็ สิ้นการเรียน โดยทาํ แบบทดสอบ

9.2 เกณฑก์ ารประเมนิ

(1) ผู้เรยี นมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

(2) ผ้เู รยี นมีคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียนรอ้ ยละ 80

(3) ผูเ้ รยี นบนั ทกึ บัญชกี ารซือ้ ขายสนิ ค้าสมบรู ณ์และถกู ต้องทุกครงั้

10. บันทึกหลงั การเรยี นรู้

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

1. เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

2. สามารถนําไปใช้ปฏบิ ัตกิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน

3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี

10.2 ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน

1. นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่มคี วามสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในบทเรยี นรว่ มกัน อภปิ ราย ตอบคําถาม

ในกลุ่ม และร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็

2. นกั ศึกษากระตือรอื รน้ และรับผิดชอบในการทาํ งานกลมุ่ เพ่ือใหง้ านสาํ เร็จทันเวลา

ทีก่ ําหนด

10.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้

1. สอนเน้ือหาได้ครบตามหลกั สตู ร

2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลมุ เนือ้ หาการสอนทาํ ให้ผ้สู อนสอนไดอ้ ย่างม่ันใจ

3. สอนไดท้ ันตามเวลาท่กี ําหนด

………………………………………………
ผ้บู ันทกึ การสอน

17

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ท่ี 1/4 5
ช่อื วชิ า : การบญั ชีชั้นสงู 1 รหัสวิชา 30201 - 2005

งาน : การบญั ชีเกีย่ วกับกิจการรว่ มค้า

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

1. อธบิ ายความหมาย และความสําคญั ของกจิ การร่วมคา้ ได้
2. บอกประเภทของธรุ กจิ ทด่ี ําเนินธุรกจิ ร่วมค้าได้
3. บอกสาเหตทุ ่ีมีการทาํ ธุรกิจแบบรว่ มคา้ ได้
4. บันทึกบัญชีของกิจการร่วมค้าได้ทัง้ วิธไี ม่เปิดสมุดบัญชีชดุ ร่วมคา้ ต่างหากอีกชุดหนงึ่ และเปดิ สมุดบญั ชีชดุ รว่ มค้า

ตา่ งหากอีกชุดหน่งึ ไมว่ า่ จะมผี ้รู ว่ มค้า 2 คนหรอื มากกวา่
5. แสดงสทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี และกาํ ไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้าในงบการเงินของผ้รู ่วมค้าได้
6. อธบิ ายหลกั วธิ ีการบนั ทึกบัญชีของกิจการรว่ มค้า และบอกศพั ทบ์ ัญชีได้

เน้อื หาสาระ
1. ความหมายและความสาคญั ของกิจการร่วมคา้

สภาวชิ าชีพบญั ชี ในพระราชูปถมั ภ์ ให้ความหมายของการร่วมคา้ วา่ คือการประกอบกิจการร่วมกัน โดยบคุ คลตั้งแต่
สองคนข้ึนไป ซึ่งแตกตา่ งไปจากกจิ การห้างหุน้ ส่วน โดยที่การรว่ มค้าจะเกยี่ วกบั การคา้ ขายสินค้า หรือประกอบกจิ การ
โครงการหนงึ่ โครงการใด โดยเฉพาะเมื่อธุรกจิ สาํ เร็จลลุ ว่ งแลว้ การรว่ มค้ากจ็ ะเลิกไป

มาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ใหค้ วามหมายไวว้ ่า คือกิจการท่ดี าํ เนนิ การรว่ มกันเปน็ ทางการค้าหรือหากาํ ไร
ระหว่างบริษัทกับบรษิ ัท บริษทั กับห้างหนุ้ สว่ นนติ ิบุคคล หา้ งหุ้นสว่ นนติ บิ คุ คลกับห้างหนุ้ สว่ นนติ ิบุคคล หรือระหวา่ ง
บริษัทและ/หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ ิบุคคลกบั บุคคลธรรมดา คณะบคุ คลทไ่ี มใ่ ช่นิตบิ คุ คล ห้างหุ้นส่วนสามญั หรือนิติบคุ คลอ่นื

จึงสรุปได้ว่า การร่วมค้า หมายถงึ การประกอบกิจกรรมทางธรุ กิจ เพือ่ แสวงหากําไรของบุคคลหรอื กิจการตง้ั แต่สอง
รายขน้ึ ไป ซงึ่ มีอํานาจในการตดั สินใจร่วมกันตามทต่ี กลงไวใ้ นสัญญา และจะเลิกกันเมือ่ กิจการน้ันสําเรจ็ ลุล่วงแลว้

ในปัจจบุ นั มกั จะไมพ่ บเห็นการประกอบกจิ การลกั ษณะการรว่ มคา้ นอกจากจะเป็นบรษิ ทั ขา้ มชาติขนาดใหญ่ท่ีไป
แสวงหางานในต่างประเทศ เชน่ การประมูลรว่ มกันกับบริษัทของท้องถ่ินเพือ่ ทาํ งานแตล่ ะโครงการ ซงึ่ APB Opinion
NO. 18 ระบุไว้ดังน้ี

บริษัทร่วมคา้ (Corporate Joint Venture) คือ บริษทั ที่มีกลุ่มบริษัทเลก็ เป็นเจา้ ของรว่ มกนั บรษิ ัทร่วมค้าเป็น
บรษิ ทั แยกออกมาต่างหากเพือ่ ประกอบกิจการเฉพาะเรื่อง หรอื โครงการเฉพาะอยา่ งเพ่อื ประโยชนท์ ่ีจะร่วมกนั ในสมาชิก
ของกลุ่ม ภาครัฐบาลอาจจะมสี ่วนเปน็ สมาชกิ รว่ มอยู่ในกลมุ่ ด้วย กไ็ ด้ ดังน้นั วัตถุประสงคข์ องบริษทั ร่วมคา้ มักจะเป็นการ
ร่วมกันรบั ความเสยี่ ง และรบั ผลประโยชนใ์ นการพัฒนาตลาด ของผลิตภัณฑ์ หรอื เทคโนโลยใี หมอ่ ย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรือ
เพ่ือรวมความรู้ทางเทคโนโลยีทส่ี ่งเสรมิ กัน หรือเปน็ การรวมทรพั ยากรที่มอี ยู่นําไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือสง่ิ อาํ นวยความ
สะดวกตา่ ง ๆ นอกจากน้ี

บรษิ ัทร่วมค้ายงั มักจะจัดใหผ้ ู้รว่ มค้าเข้ามีส่วนร่วม (โดยตรงหรอื โดยอ้อม) ในการจัดการบริษัทรว่ มคา้ ในสว่ นร่วม
ดงั นน้ั ผ้รู ว่ มค้าตา่ งก็จะมสี ว่ นไดเ้ สยี หรอื ความสัมพนั ธก์ ันนอกเหนือจากการเป็นผู้ลงทนุ เพยี งอยา่ งเดยี ว กิจการที่เป็น
บรษิ ัทยอ่ ยของผู้ร่วมค้าหนึง่ ไม่จัดเป็นบรษิ ัทร่วมค้าผู้เปน็ เจา้ ของในบรษิ ัทร่วมค้ามกั ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และหนุ้ ของ
บรษิ ัทร่วมคา้ มักจะไม่นาํ ออกขายต่อมหาชน อย่างไรก็ตาม

18

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าท่ี
ชื่อวชิ า : การบัญชีชน้ั สูง 1 รหัสวชิ า 30201 - 2005 แผ่นที่ 2/4 6
งาน : การบัญชเี กี่ยวกับกจิ การร่วมคา้

การท่มี ีเจา้ ของส่วนน้อยเปน็ สาธารณชน ไม่ได้หมายความวา่ การเปน็ บรษิ ัทรว่ มคา้ น้ันจะหมดสภาพไปซ่งึ
คณะกรรมการไดส้ รปุ ว่า การบันทึกบญั ชีเงินลงทุนควรจะใชว้ ธิ ีสว่ นได้เสีย(Equity Method) เพราะเปน็ วธิ ีทด่ี ีท่ีสดุ ท่จี ะทาํ
ให้ผู้ลงทุนในบริษทั ร่วมคา้ ไดท้ ราบถึงฐานะความเปน็ ไปของการเส่ยี งลงทุนในโครงการน้ัน ดังนัน้ ผู้ลงทุนจึงจะบันทกึ การ
ลงทนุ ในหุน้ สามัญในบรษิ ัทรว่ มคา้ โดยวิธีส่วนได้เสีย รวมทงั้ การจดั ทาํ งบการเงนิ รวม และในงบการเงินของบริษัทใหญท่ ่ี
จะนําเสนอตอ่ ผู้ถือหุน้

เม่อื ใชว้ ธิ ีส่วนไดเ้ สยี (Equity Method) บญั ชีเงนิ ลงทุนซ้อื หนุ้ สามญั ในบริษัทยอ่ ยจะแสดงในงบดุลของผู้ลงทุนคอื
บรษิ ทั ใหญด่ ้วยจาํ นวนเงินเดยี ว จํานวนเงินนีป้ ระกอบด้วยเงนิ ลงทุนตามราคาทนุ เดมิ ปรบั ปรุงดว้ ยผลกระทบจากสว่ นทม่ี ี
อยใู่ นกําไรสทุ ธิ และเงนิ ปนั ผลของบริษทั ยอ่ ย โดยนับจากวนั ท่ีลงทุน หรือซือ้ หนุ้ สามัญในบริษทั ย่อยจนถึงวันที่จัดทํางบ
การเงนิ รวม และตดั บญั ชีผลต่างระหวา่ งราคาทนุ ท่ลี งทุนกบั ส่วนไดเ้ สยี ในสนิ ทรัพยส์ ุทธิของบรษิ ัทรว่ มคา้ ณ วันที่ได้ลงทุน
หรอื ซ้อื หุ้น

สว่ นแบง่ ผลกําไรหรอื ขาดทนุ ของผู้ลงทุนในบรษิ ัทร่วมค้าจะแสดงในงบกําไรขาดทุนเป็นยอดเงนิ จํานวนเดยี ว
ยกเว้นรายการพิเศษ และการปรับปรงุ งวดก่อน รวมท้ังผลกระทบสะสมจากการเปล่ยี นแปลงหลกั การบัญชี และการ
ยกเลิกส่วนของกิจการ ใหแ้ ยกแสดงเป็นรายการต่างหากในงบกําไรขาดทนุ ทางดา้ นผ้ลู งทนุ สําหรบั สว่ นทเ่ี ปน็ รายการ
ปรบั ปรุงงวดกอ่ นให้แสดงเป็นรายการปรับปรุงกาํ ไรสะสมยกมาตน้ งวด

2. ประเภทของธุรกิจท่ีดาเนินธรุ กิจรว่ มค้า

รา้ น หา้ งหนุ้ ส่วน หรอื บริษัทสามารถทีจ่ ะดาํ เนนิ ธุรกิจไดห้ ลายประเภทด้วยกันไม่วา่ จะขายสินคา้ หรอื บริการ
ธรุ กจิ ร่วมค้า ซึ่งมีลักษณะคลา้ ยกบั ห้างหุน้ ส่วนเช่นเดยี วกนั สามารถประกอบธุรกิจขายสนิ ค้าหรอื บรกิ ารกไ็ ด้

2.1 ธรุ กจิ ขายสนิ คา้
ธรุ กิจแบบนีจ้ ะมผี ู้รว่ มค้าตงั้ แต่ 2 คนข้ึนไป โดยฝ่ายหนงึ่ จะทําหน้าท่ีจดั หาสนิ คา้ เพอ่ื ขาย และผรู้ ว่ มค้าอีก

ฝา่ ยหนึง่ จะทําหน้าทเี่ ป็นผู้จดั การขาย ซ่งึ ข้นึ อยู่กบั ผ้รู ่วมค้าจะตกลงกนั ร่วมทัง้ มีการตกลงเกี่ยวกบั การคดิ ค่านายหน้าใหก้ ับ
ผู้ซื้อสนิ คา้ มาขาย และผขู้ ายสินค้า เมอ่ื การรว่ มคา้ สิ้นสุดลงกจ็ ะแบง่ ผลกําไรตามอตั ราทตี่ กลงกัน

2.2 ธุรกิจการจัดสรรที่ดิน
ธุรกจิ แบบนี้จะมผี รู้ ว่ มค้าคนหน่งึ มกี รรมสทิ ธใ์ิ นท่ีดิน และนาํ ท่ีดนิ ดังกล่าวมาร่วมลงทนุ ในกจิ การรว่ มคา้

ส่วนผ้รู ่วมค้าคนอ่ืนจะนําเงินสดสินทรัพย์ หรอื แรงงานมาลงทนุ เพอื่ ปรบั ปรงุ ใหท้ ่ีดนิ มสี ภาพดขี ้นึ เพ่ือท่ีจะได้นาํ ทดี่ ินไป
ขายเมื่อขายไดแ้ ลว้ กจ็ ะนํากําไรมาแบ่งปันกันตามขอ้ ตกลงที่ให้ไว้แก่กนั

2.3 ธรุ กจิ การสร้าง และจดั จาหน่ายภาพยนตร์
ธุรกจิ แบบนี้จะมีผรู้ ่วมค้าหลายคน ประกอบไปด้วยผูท้ ี่ดําเนนิ การเกี่ยวกบั

การตดิ ต่อนกั ประพนั ธ์ การทําบทภาพยนตร์ การจดั หานักแสดง ผ้กู ํากับการแสดง ผู้อาํ นวยการสร้างรวมถงึ ผู้ใหเ้ งินทนุ
และผูจ้ ดั จําหนว่ ยภาพยนตร์ หลงั จาการฉายภาพยนตร์เสร็จส้นิ แล้ว ผรู้ ว่ มค้าก็จะนาํ กําไรมาแบง่ ปนั กันตามข้อตกลงทใ่ี ห้
ไวแ้ ก่กัน

นอกจากธุรกจิ ท่ียกตวั อย่างมาข้างต้นแล้วยงั มธี รุ กิจอ่นื ทดี่ ําเนนิ กจิ การแบบรว่ มคา้ เช่น การซอ้ื ขายหลักทรพั ย์
การขดุ หาบอ่ น้ํามนั การสรา้ งเขอื่ น สะพาน อาคาร จัดบริการนาํ เท่ยี ว เปน็ ตน้

19

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
ชอื่ วิชา : การบญั ชีชัน้ สงู 1 รหสั วชิ า 30201 - 2005 แผ่นที่ 3/4 7
งาน : การบัญชีเกย่ี วกับกจิ การร่วมค้า

3. สาเหตทุ มี่ กี ารทาธุรกิจแบบรว่ มคา้

3.1 การลดความเสยี่ งภยั
ในการลงทุนถา้ มีผูร้ ว่ มคา้ หลายคน ความรับผิดชอบไมไ่ ด้อยู่ทค่ี นๆ เดียว หรอื ถา้ การลงทุนรว่ มกนั หลาย

กจิ การ ความรับผิดชอบจะไมไ่ ด้อย่ทู ก่ี จิ การเดียวเหมือนกัน
3.2 เพื่อรวบรวมเงนิ ทุน
ในดาํ เนินกิจการยิง่ มผี ู้รว่ มลงทนุ มากเท่าใด ก็ย่งิ ทาํ ให้กิจการมที ุนมากขน้ึ โดยเฉพาะกิจการท่ตี อ้ งใช้เงนิ มาก
3.3 การรวบรวมความรู้ความสามารถจากบคุ คลต่าง ๆ
ธรุ กจิ ใดท่มี ผี ู้มีความรอบรู้ ความสามารถเฉพาะดา้ น จะทาํ ให้กจิ การน้ันประสบความสาํ เรจ็ ได้
3.4 การประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย
เมอ่ื กิจการไดม้ ีการรว่ มคา้ กันหลาย ๆ คน กจ็ ะทาํ ให้ประหยดั ค่าใช้จา่ ยได้ดีกว่าทําธุรกจิ เพยี งคนเดียวหรือ

กจิ การเดยี ว
3.5 ประโยชนท์ างกฎหมาย
ประเทศบางประเทศอาจมีกฎหมายบังคบั ไมใ่ หช้ าวต่างชาตดิ าํ เนินธุรกจิ ในประเทศเพยี งลําพัง เพ่ือ

ประโยชนท์ างกฎหมาย ถา้ ผลู้ งทนุ อยากจะลงทุนกส็ ามารถทําได้โดยทําธรุ กิจแบบร่วมค้า

4. วธิ กี ารบนั ทึกบญั ชขี องกจิ การรว่ มคา้

การบนั ทึกบญั ชขี องกิจการร่วมคา้ โดยท่วั ไปมี 2 วิธดี ้วยกัน ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของกจิ การที่จะนาํ ไปใช้
วธิ ีการบนั ทึกบญั ชีดงั กล่าวคือ

วธิ ที ี่ 1 ไมเ่ ปิดสมุดบญั ชีชดุ ร่วมคา้ อกี ชดุ หนึ่ง
วธิ นี ี้ผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะจดบันทึกรายการรว่ มคา้ ทง้ั ส้นิ ในสมุดบัญชีของตนเอง โดยไมเ่ ปิดสมุดบญั ชี

ชุดต่างหากอีกชดุ หนึ่ง เพราะรายการคา้ มจี ํานวนน้อย และระยะเวลาการดาํ เนนิ งานเปน็ ระยะสั้น
วธิ ีท่ี 2 เปดิ สมุดบญั ชีชดุ ร่วมคา้ อกี ชดุ หน่ึง
วิธีนผ้ี ู้ร่วมค้าแต่ละคนจะจดบันทึกรายการร่วมค้าเฉพาะที่เก่ียวกบั ตนเองเท่านน้ั สําหรับรายการคา้

อน่ื จะเปิดสมดุ บัญชีชดุ ต่างหากอกี ชดุ หนง่ึ เพราะรายการคา้ มจี าํ นวนมาก และระยะเวลาการดาํ เนินงานค่อนขา้ งยาวกวา่
วิธีแรก
5. การแสดงสทิ ธสิ ่วนไดเ้ สีย และกาไรหรอื ขาดทุนจากกิจการรว่ มคา้ ในงบการเงินของผู้ร่วมค้า

สิทธสิ ่วนไดเ้ สยี ในกิจการร่วมคา้ จะปรากฏในงบดุลทางดา้ นสนิ ทรพั ย์ แตอ่ าจจะมีลกั ษณะเป็นไปได้ทัง้ สินทรัพย์
หมุนเวียน หรอื สินทรัพย์อ่ืน ทง้ั นี้ขึ้นอยู่กบั ระยะเวลาทีค่ าดว่าจะไดร้ ับเงนิ จากกิจการรว่ มค้าหรอื อาจกลา่ วได้ว่าเมอ่ื การ
ร่วมค้าสน้ิ สดุ ลง และผู้รว่ มค้าชาํ ระเงนิ ทีต่ ิดคา้ งกนั เสรจ็ สิน้ แล้วไมว่ า่ จะใช้

20

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
ช่ือวิชา : การบญั ชีชน้ั สงู 1 รหสั วิชา 30201 - 2005 แผ่นท่ี 4/4 8
งาน : การบัญชเี กยี่ วกับกิจการรว่ มค้า

วธิ กี ารบนั ทึกบญั ชใี ดกต็ าม จะไมป่ รากฏยอดเงินลงทุนในกจิ การรว่ มค้าในงบดลุ ของผ้รู ว่ มค้าแต่ละคน แตใ่ นกรณีท่ี

การร่วมคา้ ยังไม่สน้ิ สดุ ลง หรอื ผรู้ ว่ มค้ายังมิไดช้ ําระเงนิ ทีต่ ิดค้างใหเ้ สร็จส้นิ ในงบดุลของผู้รว่ มคา้ แตล่ ะคนที่จะทาํ ขน้ึ จะ

ปรากฏยอดเงนิ ลงทนุ ในกิจการรว่ มคา้ ในสมดุ บญั ชขี องตนเอง ผู้ร่วมค้าแตล่ ะคนจะแสดงยอดเงนิ ลงทุนในกจิ การร่วมคา้ ใน

งบดลุ เป็นสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน

ตัวอย่าง

สินทรพั ย์หมุนเวียน

เงนิ สด XX

ลกู หนี้ XX

เงินลงทนุ ในกิจการรว่ มคา้ 20,000.-

สําหรับกําไรขาดทุนจากกจิ การรว่ มคา้ จะแสดงไวใ้ นงบกําไรขาดทุนภายใต้หวั ข้อรายได้ และคา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ๆ

6. ศัพทบ์ ญั ชี

Corporate Joint Venture = บริษทั รว่ มค้า

Equity Method = วธิ ีสว่ นได้เสีย

Investment Account = บัญชเี งนิ ลงทนุ

Joint Adventures = การเสีย่ งภยั ร่วม

Joint Venture = การรว่ มคา้

Periodic Inventory System = วิธกี ารตรวจนับสนิ คา้ เม่อื สน้ิ งวด

Perpetual Inventory System = วธิ ีบันทกึ สนิ ค้าแบบต่อเนอ่ื ง

Single Venture = การดําเนินธุรกิจทก่ี ระทําโดยบคุ คลคนเดียวกิจการเดียว

21

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
ช่ือวิชา : การบญั ชีชน้ั สงู 1 รหสั วิชา 30201 - 2005 แผ่นท่ี 4/4 8
งาน : การบัญชเี กี่ยวกับกิจการรว่ มค้า

วธิ กี ารบนั ทึกบญั ชใี ดกต็ าม จะไม่ปรากฏยอดเงินลงทุนในกจิ การรว่ มค้าในงบดลุ ของผ้รู ว่ มค้าแต่ละคน แตใ่ นกรณีท่ี

การร่วมคา้ ยังไม่สน้ิ สดุ ลง หรอื ผรู้ ว่ มคา้ ยังมิไดช้ ําระเงนิ ทีต่ ิดค้างใหเ้ สร็จส้นิ ในงบดุลของผู้รว่ มคา้ แตล่ ะคนที่จะทาํ ขน้ึ จะ

ปรากฏยอดเงนิ ลงทนุ ในกิจการรว่ มคา้ ในสมดุ บญั ชขี องตนเอง ผู้ร่วมค้าแตล่ ะคนจะแสดงยอดเงนิ ลงทุนในกจิ การร่วมคา้ ใน

งบดลุ เป็นสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน

ตัวอย่าง

สินทรพั ย์หมุนเวียน

เงนิ สด XX

ลกู หนี้ XX

เงินลงทนุ ในกิจการรว่ มคา้ 20,000.-

สําหรับกําไรขาดทุนจากกจิ การรว่ มคา้ จะแสดงไวใ้ นงบกําไรขาดทุนภายใต้หวั ข้อรายได้ และคา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ๆ

6. ศัพทบ์ ญั ชี

Corporate Joint Venture = บริษทั รว่ มค้า

Equity Method = วธิ ีสว่ นได้เสีย

Investment Account = บัญชเี งนิ ลงทนุ

Joint Adventures = การเสีย่ งภยั ร่วม

Joint Venture = การรว่ มคา้

Periodic Inventory System = วิธกี ารตรวจนับสนิ คา้ เมือ่ สน้ิ งวด

Perpetual Inventory System = วธิ ีบันทกึ สนิ ค้าแบบต่อเนอ่ื ง

Single Venture = การดําเนินธุรกิจทก่ี ระทําโดยบคุ คลคนเดียวกิจการเดียว

22

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ที่
ชอื่ วชิ า : การบญั ชีชนั้ สงู 1 รหสั วิชา 30201 - 2005 แผน่ ท่ี 1/6 9
งาน : การบญั ชีเกย่ี วกบั กิจการรว่ มค้า

คําช้ีแจง จงเลือกคาํ ตอบท่ถี ูกต้องท่ีสุดเพียงคาํ ตอบเดียว

1. ข้อใดคอื ความหมายของกิจการร่วมค้า

ก. มบี ุคคลตงั้ แต่ 2 คนข้นึ ไป ข. ทํากจิ การในระยะเวลาสน้ั ๆ และเปน็ การช่วั คราว

ค. หวังผลกําไร และนาํ มาแบง่ กนั ง. มขี อบเขตจาํ กัด

จ. ถกู ทุกข้อ

2. คณะอนุกรรมการบัญญัตศิ พั ทบ์ ัญชขี องสมาคมนักบัญชี และผู้สอบบญั ชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทยไดใ้ ห้ความหมาย

ของการรว่ มค้า หมายถึงข้อใด

ก. การประกอบกิจการร่วมกนั โดยบคุ คลตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไป โครงการรว่ มคา้ จะ

ดาํ เนนิ ตอ่ เน่ืองตลอดไป

ข. ทาํ การประกอบกิจการร่วมกนั โดยบคุ คลตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไป โดยการรว่ มคา้ จะยุตลิ ง

เมอ่ื การร่วมคา้ น้ันเสร็จส้ิน

ค. การประกอบกิจการร่วมกันโดยบคุ คลตัง้ แต่ 7 คนขนึ้ ไป โครงการร่วมค้าจะดําเนิน

ต่อเนือ่ งตลอดไป

ง. การประกอบกจิ การรว่ มกนั โดยบคุ คลต้ังแต่ 7 คนขน้ึ ไป โดยการรว่ มค้าจะยตุ ิลง

เมอ่ื การรว่ มคา้ นั้นเสรจ็ ส้ิน

จ. การประกอบกจิ การร่วมคา้ กนั โดยบคุ คลตัง้ แต่ 15 คนข้ึนไป โดยการร่วมคา้ จะดําเนนิ

ต่อเนือ่ งตลอดไป

3. สาเหตขุ องการทําธรุ กจิ รว่ มค้าคอื อะไร

ก. ลดการเสีย่ งภัย ข. รวบรวมเงินทุน และบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ

ค. ประหยัดค่าใช้จ่าย ง. ประโยชน์ทางกฎหมาย

จ. ถกู ทุกข้อ

4. กจิ การร่วมค้ามกี ารนํากฎหมายชนดิ ใดมาบังคบั ใชใ้ นการดําเนินงาน

ก. กฎหมายบริษัท จํากดั ข. กฎหมายหา้ งหุ้นสว่ น

ค. กฎหมายแพ่ง และพาณชิ ย์ ง. กฎหมายอาญา

จ. กฎหมายสหกรณ์

5. การบนั ทึกบัญชกี ารร่วมคา้ โดยไมเ่ ปดิ สมุดบัญชีร่วมค้าแยกตา่ งหาก ถา้ ผู้ร่วมค้าสง่ เงินไปให้ผู้รว่ มค้าอกี คน เพื่อมไี ว้จ่าย

ค่าใชจ้ า่ ยของกจิ การรว่ มค้า การบนั ทกึ รายการบญั ชีในสมุดบญั ชผี ู้ส่งเงินจะบนั ทกึ บัญชีอย่างไร

ก. เดบติ บญั ชรี ่วมค้าท่ีรับเงิน เครดติ บญั ชีรว่ มคา้

ข. เดบติ บญั ชรี ่วมค้า เครดิต บัญชรี ว่ มคา้ ท่ีส่งเงนิ

ค. เดบติ บัญชีเงินสด เครดิต บญั ชีร่วมคา้ ทีส่ ่งเงนิ

ง. เดบิต บญั ชรี ่วมคา้ ท่ีรับเงนิ เครดิต บญั ชเี งนิ สด

จ. เดบิต บญั ชีร่วมคา้ เครดิต บญั ชเี งนิ สด

23

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบทดสอบ หน้าท่ี
ชื่อวชิ า : การบญั ชีช้นั สูง 1 รหสั วชิ า 30201 - 2005 แผน่ ท่ี 1/6 10
งาน : การบญั ชีเกย่ี วกบั กิจการร่วมคา้

6. การบันทึกบญั ชีการร่วมค้าโดยไมเ่ ปิดสมุดบัญชรี ่วมค้าแยกต่างหาก ถ้าผูร้ ว่ มค้ามีการซ้ือสนิ คา้ เป็นเงนิ สดการบนั ทกึ

บญั ชีในสมุดบัญชขี องผ้รู ่วมค้าที่เป็นผ้รู ่วมค้าจะบันทึกบัญชอี ย่างไร

ก. เดบิต บัญชรี ว่ มคา้ เครดิต บัญชีเจา้ หน้ี

ข. เดบติ บญั ชรี ่วมคา้ เครดิต บญั ชเี งินสด

ค. เดบติ บัญชีร่วมค้า เครดิต บัญชีผรู้ ว่ มคา้ ที่ซอ้ื สินคา้

ง. เดบิต บัญชีผู้ร่วมค้าทซ่ี ้อื สินค้า เครดิต บัญชีเงนิ สด

จ. เดบิต บัญชผี ู้รว่ มค้าทซ่ี ื้อสินค้า เครดิต บัญชเี จา้ หนี้

7. การรว่ มคา้ ท่มี ีการเปดิ สมดุ บัญชกี จิ การร่วมคา้ แยกตา่ งหาก ถ้าผรู้ ว่ มค้าสง่ เงนิ ไปใหก้ ับผูร้ ่วมค้าทท่ี าํ หน้าที่เป็นผู้จัดการ

เพ่อื มไี ว้ใชจ้ า่ ยสาํ หรบั กจิ การรว่ มคา้ การบันทึกบญั ชใี นสมุดบัญชขี องกจิ การรว่ มคา้ จะบันทกึ อย่างไร

ก. เดบิต บญั ชีเงินสด เครดติ บัญชผี ู้ร่วมค้าทส่ี ง่ เงนิ

ข. เดบิต บญั ชีเงินสด เครดิต บัญชีผู้ร่วมค้าทีร่ ับเงนิ

ค. เดบติ บัญชีผู้ร่วมคา้ ที่สง่ เงนิ เครดิต บญั ชีเงนิ สด

ง. เดบติ บญั ชีผู้ร่วมค้าที่รับเงิน เครดิต บญั ชเี งนิ สด

จ. เดบติ บัญชีร่วมคา้ เครดติ บัญชเี งนิ สด

8. การร่วมค้าที่มีการเปิดสมดุ บัญชีกิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก ถ้ากจิ การรว่ มคา้ มีการจ่ายค่าใชจ้ ่ายเปน็ เงินสด การบนั ทึก

บญั ชใี นสมุดบญั ชีของกจิ การรว่ มคา้ จะบันทกึ บัญชีอยา่ งไร

ก. เดบติ บัญชรี ว่ มค้า เครดติ บญั ชีเงินสด

ข. เดบติ บัญชีร่วมค้า เครดติ บัญชีค่าใช้จา่ ย

ค. เดบติ บัญชีค่าใช้จา่ ย เครดติ บญั ชสี นิ ค้า

ง. เดบิต บญั ชีค่าใช้จา่ ย เครดติ บญั ชเี งนิ สด

จ. เดบติ บัญชรี ่วมค้า เครดิต บัญชผี ู้รว่ มค้าทร่ี ับเงิน

9. การร่วมค้าท่มี กี ารเปิดสมดุ บัญชกี ิจการรว่ มค้าแยกตา่ งหาก ถ้ากจิ การร่วมค้ามกี ารตัดหนีส้ ูญ การบันทึกบญั ชีในสมดุ

บัญชขี องกิจการร่วมค้าจะบนั ทึกบัญชอี ยา่ งไร

ก. เดบติ บญั ชรี ว่ มคา้ เครดติ บัญชีลกู หน้ี

ข. เดบิต บญั ชีหนส้ี งสยั จะสญู เครดิต บญั ชีค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ

ค. เดบิต บญั ชีหนีส้ ญู เครดิต บญั ชลี กู หนี้

ง. เดบิต บญั ชีหน้ีสญู เครดติ บญั ชรี ว่ มค้า

จ. เดบิต บญั ชีร่วมค้า เครดติ บญั ชคี า่ เผอ่ื หนี้สงสยั จะสูญ

24

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบทดสอบ หน้าท่ี
ชื่อวิชา : การบัญชีช้นั สงู 1 รหสั วิชา 30201 - 2005 แผ่นที่ 1/6 11
งาน : การบญั ชีเกีย่ วกบั กจิ การรว่ มค้า

10. การร่วมคา้ ทีไ่ ม่เปดิ สมดุ บญั ชีรว่ มคา้ แยกต่างหาก สมมุติว่า นาย ก ผู้ร่วมคา้ จา่ ยคา่ โฆษณาเปน็ เงนิ สด 1,000 บาท

ภาษีมลู ค่าเพ่ิม 7% การบันทกึ บัญชขี องนาย ก จะบนั ทึกบัญชอี ยา่ งไร

ก. เดบิต บญั ชีร่วมค้า 1,000.-

บญั ชีภาษซี ือ้ 70.-

เครดิต บัญชเี งนิ สด 1,070.-

ข. เดบิต บัญชรี ว่ มค้า 1,070.-

เครดติ บัญชเี งนิ สด 1,000.-

บญั ชีภาษีซ้อื 70.-

ค. เดบิต บญั ชีเงนิ สด 1,070.-

เครดิต บัญชีร่วมค้า 1,000.-

บัญชีภาษซี ื้อ 70.-

ง. เดบติ บญั ชีร่วมค้า 1,000.-

บญั ชีภาษซี ้ือ 70.-

เครดติ บญั ชเี จ้าหน้ี 1,070.-

จ. เดบติ บัญชีคา่ โฆษณา 1,000.-

บัญชีภาษีซอื้ 70.-

เครดิต บญั ชเี งนิ สด 1,070.-

11. การแสดงรายการเงนิ ลงทนุ ในกจิ การร่วมคา้ และกาํ ไรขาดทุนจากกิจการรว่ มคา้ จะแสดงในงบการเงนิ ใด

ก. เงินลงทนุ ในกจิ การรว่ มค้าแสดงในงบกาํ ไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทนุ จากกจิ การร่วมค้าแสดงในงบดุล

ข. เงนิ ลงทุนในกจิ การรว่ มค้า และกําไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้าแสดงในงบกระแสเงินสด

ค. เงินลงทุนในกจิ การรว่ มคา้ และกาํ ไรขาดทุนจากกิจการรว่ มคา้ แสดงในงบกําไรขาดทนุ

ง. เงินลงทนุ ในกิจการร่วมค้า และกําไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้าแสดงในงบดลุ

จ. เงนิ ลงทนุ ในกิจการร่วมคา้ แสดงในงบดุล และกําไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้าแสดงในกําไรขาดทุน

25

สาขาวิชา : การบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
ช่ือวชิ า : การบัญชีช้นั สูง 1 รหัสวิชา 30201 - 2005 12
งาน : การบญั ชีเกีย่ วกับกิจการร่วมค้า แผ่นท่ี 1/6

คําชีแ้ จง จงเลอื กคําตอบทถี่ กู ต้องท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว

1. ข้อใดคอื ความหมายของกจิ การร่วมคา้

คาํ ตอบ : จ. ถกู ทกุ ข้อ

2. คณะอนกุ รรมการบญั ญัติศพั ท์บัญชขี องสมาคมนกั บญั ชี และผู้สอบบญั ชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทยได้ให้ความหมาย

ของการรว่ มคา้ หมายถึงขอ้ ใด

คาํ ตอบ : ข. ทาํ การประกอบกิจการรว่ มกันโดยบคุ คลตง้ั แต่ 2 คนขนึ้ ไป โดยการร่วมค้าจะยุตลิ ง เมอ่ื การรว่ มค้านน้ั เสร็จสิ้น

3. สาเหตขุ องการทาํ ธุรกจิ ร่วมค้าคอื อะไร

คําตอบ : จ. ถูกทุกขอ้

4. กิจการร่วมค้ามีการนํากฎหมายชนดิ ใดมาบงั คับใช้ในการดาํ เนินงาน

คําตอบ : ข. กฎหมายห้างหุน้ สว่ น

5. การบันทกึ บญั ชกี ารร่วมคา้ โดยไมเ่ ปิดสมุดบญั ชีรว่ มค้าแยกตา่ งหาก ถา้ ผู้ร่วมคา้ สง่ เงินไปใหผ้ รู้ ่วมคา้ อกี คน เพ่ือมีไวจ้ า่ ย

ค่าใช้จ่ายของกจิ การร่วมคา้ การบนั ทึกรายการบัญชีในสมดุ บญั ชผี ้สู ง่ เงนิ จะบันทึกบญั ชอี ย่างไร

คาํ ตอบ : ง. เดบติ บญั ชีรว่ มคา้ ท่รี ับเงิน เครดิต บญั ชเี งินสด

6. การบนั ทึกบญั ชีการร่วมคา้ โดยไมเ่ ปิดสมุดบญั ชรี ว่ มคา้ แยกตา่ งหาก ถ้าผ้รู ่วมค้ามกี ารซ้ือสินค้าเป็นเงินสดการบันทึก

บญั ชใี นสมดุ บญั ชขี องผรู้ ่วมคา้ ทเี่ ป็นผูร้ ว่ มคา้ จะบนั ทึกบัญชีอยา่ งไร

คาํ ตอบ : ค. เดบติ บัญชีร่วมคา้ เครดิต บัญชีผู้ร่วมค้าทซ่ี อื้ สนิ ค้า

7. การรว่ มค้าทมี่ ีการเปดิ สมุดบัญชกี ิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก ถ้าผู้รว่ มค้าส่งเงนิ ไปให้กับผู้ร่วมคา้ ท่ีทาํ หนา้ ท่ีเป็นผู้จัดการ

เพื่อมีไว้ใชจ้ า่ ยสําหรบั กจิ การร่วมค้า การบันทึกบัญชใี นสมดุ บญั ชีของกิจการร่วมค้าจะบันทึกอย่างไร

คําตอบ : ก. เดบิต บัญชเี งินสด เครดิต บญั ชีผรู้ ว่ มค้าที่ส่งเงนิ

8. การร่วมคา้ ทมี่ ีการเปดิ สมุดบัญชกี ิจการร่วมค้าแยกต่างหาก ถ้ากิจการร่วมค้ามีการจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเปน็ เงินสด การบันทกึ

บญั ชีในสมดุ บญั ชีของกิจการร่วมคา้ จะบันทกึ บัญชีอยา่ งไร

คําตอบ : ง. เดบิต บัญชีคา่ ใชจ้ า่ ย เครดิต บัญชเี งนิ สด

9. การรว่ มคา้ ทมี่ ีการเปิดสมดุ บัญชีกิจการรว่ มค้าแยกตา่ งหาก ถ้ากจิ การรว่ มคา้ มกี ารตัดหนี้สญู การบันทึกบัญชีในสมดุ

บญั ชีของกิจการรว่ มคา้ จะบนั ทกึ บญั ชอี ยา่ งไร

คาํ ตอบ : ค. เดบิต บญั ชีหนีส้ ญู เครดิต บัญชีลูกหน้ี

10. การรว่ มคา้ ท่ไี ม่เปดิ สมดุ บัญชีร่วมค้าแยกต่างหาก สมมุตวิ ่า นาย ก ผ้รู ว่ มคา้ จ่ายค่าโฆษณาเป็นเงนิ สด 1,000 บาท

ภาษมี ูลค่าเพิ่ม 7% การบันทกึ บัญชีของนาย ก จะบนั ทึกบญั ชีอยา่ งไร

คาํ ตอบ : ก. เดบิต บญั ชรี ่วมคา้ 1,000.-

บัญชภี าษซี ้ือ 70.-

เครดิต บญั ชีเงนิ สด 1,070.-

11. การแสดงรายการเงนิ ลงทุนในกิจการรว่ มคา้ และกําไรขาดทุนจากกจิ การร่วมคา้ จะแสดงในงบการเงินใด

คาํ ตอบ : จ. เงนิ ลงทุนในกิจการรว่ มคา้ แสดงในงบดลุ และกาํ ไรขาดทนุ จากกจิ การรว่ มค้าแสดงในกําไรขาดทุน

26

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบมอบหมายงาน หน้าท่ี
ชื่อวชิ า : การบัญชีช้นั สูง 1 รหสั วชิ า 30201 - 2005 13
งาน : การบัญชีเก่ียวกบั กจิ การรว่ มคา้ แผ่นที่ 1/6

จดุ ประสงคก์ ารมอบงาน
1. เพื่อให้ผเู้ รยี นมีความรบั ผิดชอบ
2. เพ่ือให้ผู้เรยี นใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์

แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน

ครูมอบหมายงาน นกั เรยี นค้นควา้ นกั เรยี นนําเสนอ นักเรียนส่ง
เป็นการบ้าน งานตนเอง ผลงาน
ครใู หค้ ะแนน
แหลง่ ค้นควา้
หนังสือเรียน ตําราเรยี น

คาถาม/ปญั หา
1. ในการคน้ คว้างานนกั เรยี นพบปัญหาอะไรบ้าง
2. นกั เรยี นแกป้ ญั หาอยา่ งไร
3. นกั เรยี นไดอ้ ะไรจากการไปคน้ ควา้ งาน

กาหนดเวลาสง่ งาน
ก่อนครูสอนคาบตอ่ ไป

27

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบทดสอบ หน้าท่ี
แผน่ ท่ี 1/8 1
ชื่อวิชา : การบญั ชีชั้นสงู 1 รหสั วิชา 30201– 2005

งาน : การบญั ชชี ้นั สูง 1

คาช้ีแจง จงเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครอ่ื งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดคอื ความหมายของกจิ การรว่ มคา้

ก. มีบคุ คลตั้งแต่ 2 คนขน้ึ ไป
ข. ทาํ กิจการในระยะเวลาส้ัน ๆ และเป็นการชว่ั คราว
ค. หวงั ผลกําไร และนาํ มาแบ่งกนั
ง. มีขอบเขตจํากัด
จ. ถูกทกุ ข้อ
2. คณะอนุกรรมการบญั ญตั ศิ ัพท์บญั ชขี องสมาคมนกั บญั ชี และผูส้ อบบัญชีรับอนญุ าตแหง่ ประเทศไทยได้ให้ความหมาย
ของการรว่ มค้า หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. การประกอบกิจการรว่ มกันโดยบคุ คลต้งั แต่ 2 คนขน้ึ ไป โครงการรว่ มคา้ จะดําเนนิ ต่อเนอื่ ง

ตลอดไป
ข. ทําการประกอบกจิ การรว่ มกนั โดยบุคคลตง้ั แต่ 2 คนขน้ึ ไป โดยการร่วมค้าจะยุตลิ ง

เมือ่ การรว่ มคา้ นนั้ เสรจ็ สนิ้
ค. การประกอบกิจการร่วมกันโดยบุคคลตงั้ แต่ 7 คนขน้ึ ไป โครงการรว่ มคา้ จะดําเนินต่อเนอื่ ง

ตลอดไป
ง. การประกอบกจิ การร่วมกันโดยบุคคลตงั้ แต่ 7 คนขึ้นไป โดยการร่วมค้าจะยตุ ลิ ง

เมือ่ การร่วมคา้ นั้นเสรจ็ ส้นิ
จ. การประกอบกจิ การร่วมค้ากัน โดยบคุ คลต้ังแต่ 15 คนขึ้นไป โดยการร่วมคา้ จะดําเนิน

ต่อเนอ่ื งตลอดไป
3. สาเหตุของการทาํ ธุรกจิ รว่ มคา้ คอื อะไร

ก. ลดการเสย่ี งภยั
ข. รวบรวมเงนิ ทนุ และบุคคลท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถ
ค. ประหยดั ค่าใช้จา่ ย
ง. ประโยชน์ทางกฎหมาย
จ. ถกู ทุกข้อ
4. กจิ การร่วมค้ามีการนาํ กฎหมายชนิดใดมาบังคับใช้ในการดาํ เนินงาน
ก. กฎหมายบริษทั จาํ กดั
ข. กฎหมายห้างหุ้นส่วน
ค. กฎหมายแพ่ง และพาณชิ ย์
ง. กฎหมายอาญา
จ. กฎหมายสหกรณ์

28

สาขาวิชา : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
แผ่นท่ี 1/8 1
ชือ่ วชิ า : การบัญชีชนั้ สงู 1 รหัสวิชา 30201– 2005

งาน : การบญั ชชี ั้นสงู 1

5. การบนั ทึกบัญชกี ารร่วมค้าโดยไมเ่ ปิดสมุดบัญชีรว่ มค้าแยกต่างหาก ถา้ ผู้ร่วมค้าส่งเงนิ ไปให้ผ้รู ่วมคา้ อีกคน เพื่อมีไวจ้ ่าย

ค่าใช้จ่ายของกจิ การรว่ มค้า การบนั ทกึ รายการบญั ชใี นสมุดบัญชีผสู้ ง่ เงินจะบันทกึ บญั ชอี ยา่ งไร

ก. เดบิต บัญชรี ว่ มค้าท่ีรบั เงิน เครดิต บญั ชรี ว่ มคา้

ข. เดบิต บญั ชรี ่วมคา้ เครดิต บญั ชรี ่วมค้าทส่ี ง่ เงิน

ค. เดบิต บญั ชีเงินสด เครดติ บญั ชรี ่วมค้าทสี่ ง่ เงิน

ง. เดบติ บัญชีร่วมค้าท่รี ับเงนิ เครดิต บญั ชีเงนิ สด

จ. เดบิต บัญชรี ่วมคา้ เครดิต บัญชเี งนิ สด

6. การบนั ทกึ บญั ชกี ารร่วมค้าโดยไม่เปดิ สมุดบัญชรี ่วมค้าแยกตา่ งหาก ถ้าผูร้ ่วมคา้ มกี ารซ้อื สนิ คา้ เป็นเงนิ สดการบันทกึ

บัญชีในสมุดบญั ชีของผรู้ ่วมคา้ ท่เี ป็นผู้ร่วมคา้ จะบนั ทึกบัญชอี ย่างไร

ก. เดบติ บญั ชรี ว่ มคา้ เครดิต บญั ชเี จา้ หน้ี

ข. เดบิต บญั ชีร่วมค้า เครดติ บญั ชีเงนิ สด

ค. เดบติ บญั ชรี ่วมค้า เครดติ บญั ชีผ้รู ่วมค้าที่ซอ้ื สนิ ค้า

ง. เดบติ บญั ชผี ู้รว่ มคา้ ที่ซอื้ สนิ ค้า เครดิต บญั ชเี งินสด

จ. เดบิต บญั ชีผู้รว่ มคา้ ทีซ่ อื้ สนิ ค้า เครดติ บญั ชีเจ้าหนี้

7. การร่วมค้าทีม่ กี ารเปดิ สมุดบัญชีกิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก ถ้าผู้รว่ มค้าส่งเงินไปใหก้ ับผู้ร่วมคา้ ท่ีทําหนา้ ทีเ่ ปน็

ผู้จดั การเพ่ือมไี ว้ใชจ้ ่ายสําหรบั กจิ การร่วมคา้ การบนั ทึกบญั ชีในสมุดบญั ชีของกจิ การรว่ มค้าจะบันทึกอย่างไร

ก. เดบติ บัญชีเงนิ สด เครดติ บญั ชผี ูร้ ่วมคา้ ท่สี ่งเงิน

ข. เดบิต บัญชเี งนิ สด เครดิต บัญชีผรู้ ่วมค้าท่รี ับเงิน

ค. เดบิต บญั ชีผู้ร่วมค้าทส่ี ่งเงนิ เครดิต บญั ชีเงนิ สด

ง. เดบิต บัญชีผู้ร่วมค้าทรี่ บั เงิน เครดิต บัญชเี งินสด

จ. เดบติ บัญชีร่วมค้า เครดิต บญั ชเี งินสด

8. การร่วมค้าท่ีมกี ารเปดิ สมุดบัญชกี ิจการรว่ มคา้ แยกตา่ งหาก ถ้ากจิ การรว่ มค้ามกี ารจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายเป็นเงินสด การบนั ทึก

บญั ชใี นสมดุ บัญชขี องกิจการรว่ มค้าจะบันทึกบัญชีอยา่ งไร

ก. เดบิต บัญชีร่วมคา้ เครดิต บญั ชเี งนิ สด

ข. เดบติ บัญชีร่วมคา้ เครดติ บัญชีคา่ ใชจ้ า่ ย

ค. เดบติ บญั ชีค่าใชจ้ า่ ย เครดติ บญั ชสี ินค้า

ง. เดบิต บญั ชีค่าใชจ้ า่ ย เครดิต บัญชีเงนิ สด

จ. เดบติ บัญชีร่วมค้า เครดติ บัญชีผรู้ ่วมคา้ ทีร่ ับเงิน

29

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 1/8 1
ชือ่ วิชา : การบญั ชชี ัน้ สูง 1 รหัสวชิ า 30201– 2005

งาน : การบัญชีช้นั สงู 1

9. การร่วมคา้ ท่ีมกี ารเปดิ สมุดบัญชกี ิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก ถ้ากิจการร่วมคา้ มีการตดั หนี้สูญ การบันทึกบัญชีในสมุด

บญั ชีของกิจการรว่ มค้าจะบนั ทึกบญั ชอี ย่างไร

ก. เดบิต บญั ชีร่วมคา้ เครดติ บญั ชีลกู หน้ี

ข. เดบติ บัญชหี นีส้ งสยั จะสญู เครดติ บัญชีค่าเผอ่ื หนสี้ งสยั จะสูญ

ค. เดบิต บัญชีหนี้สญู เครดิต บัญชลี กู หน้ี

ง. เดบิต บัญชีหนี้สญู เครดติ บญั ชรี ่วมคา้

จ. เดบติ บัญชรี ่วมค้า เครดิต บญั ชีคา่ เผอ่ื หนี้สงสยั จะสูญ

10. การร่วมค้าทไี่ มเ่ ปดิ สมดุ บญั ชรี ่วมค้าแยกตา่ งหาก สมมุตวิ ่า นาย ก ผ้รู ่วมคา้ จ่ายคา่ โฆษณาเปน็ เงินสด 1,000 บาท

ภาษมี ูลคา่ เพ่ิม 7% การบันทกึ บัญชขี องนาย ก จะบันทึกบัญชีอย่างไร

ก. เดบิต บญั ชรี ่วมคา้ 1,000.-

บญั ชีภาษีซอ้ื 70.-

เครดิต บัญชีเงนิ สด 1,070.-

ข. เดบิต บัญชีร่วมค้า 1,070.-

เครดติ บญั ชเี งนิ สด 1,000.-

บญั ชีภาษซี อ้ื 70.-

ค. เดบติ บญั ชเี งนิ สด 1,070.-

เครดติ บญั ชรี ่วมค้า 1,000.-

บญั ชภี าษซี ื้อ 70.-

ง. เดบิต บัญชรี ่วมค้า 1,000.-

บญั ชีภาษซี ้ือ 70.-

เครดิต บัญชีเจ้าหน้ี 1,070.-

จ. เดบิต บัญชีค่าโฆษณา 1,000.-

บญั ชภี าษีซื้อ 70.-

เครดิต บัญชีเงินสด 1,070.-

11. การแสดงรายการเงินลงทนุ ในกจิ การร่วมค้า และกาํ ไรขาดทุนจากกิจการร่วมคา้ จะแสดงในงบการเงนิ ใด

ก. เงินลงทุนในกจิ การรว่ มค้าแสดงในงบกาํ ไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทนุ จากกจิ การร่วมคา้ แสดงในงบดลุ

ข. เงนิ ลงทนุ ในกจิ การรว่ มค้า และกาํ ไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้าแสดงในงบกระแสเงนิ สด

ค. เงนิ ลงทุนในกจิ การรว่ มคา้ และกาํ ไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้าแสดงในงบกาํ ไรขาดทุน

ง. เงนิ ลงทุนในกิจการรว่ มคา้ และกําไรขาดทุนจากกิจการร่วมคา้ แสดงในงบดลุ

จ. เงินลงทนุ ในกิจการร่วมคา้ แสดงในงบดุล และกาํ ไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้าแสดงในกาํ ไรขาดทุน

30

สาขาวิชา : การบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 1/3 1
ชอ่ื วิชา : การบัญชีช้ันสงู 1 รหสั วิชา 30201– 2005

งาน : การบัญชชี นั้ สูง 1

คาช้ีแจง จงเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดคือความหมายของกจิ การร่วมคา้

ก. มบี คุ คลต้ังแต่ 2 คนขน้ึ ไป
ข. ทํากิจการในระยะเวลาสัน้ ๆ และเป็นการชวั่ คราว
ค. หวังผลกาํ ไร และนาํ มาแบ่งกนั
ง. มขี อบเขตจาํ กัด
จ. ถกู ทกุ ข้อ
2. คณะอนกุ รรมการบญั ญตั ิศัพทบ์ ัญชขี องสมาคมนักบญั ชี และผู้สอบบญั ชีรับอนุญาตแหง่ ประเทศไทยไดใ้ หค้ วามหมาย
ของการร่วมคา้ หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. การประกอบกิจการร่วมกนั โดยบคุ คลตั้งแต่ 2 คนข้นึ ไป โครงการร่วมค้าจะดาํ เนนิ ตอ่ เน่อื ง

ตลอดไป
ข. ทําการประกอบกจิ การร่วมกนั โดยบุคคลตัง้ แต่ 2 คนข้ึนไป โดยการรว่ มค้าจะยุติลง

เมื่อการร่วมค้านน้ั เสรจ็ สิ้น
ค. การประกอบกิจการร่วมกันโดยบุคคลต้งั แต่ 7 คนขน้ึ ไป โครงการรว่ มคา้ จะดําเนินต่อเนอื่ ง

ตลอดไป
ง. การประกอบกิจการร่วมกนั โดยบคุ คลต้ังแต่ 7 คนข้นึ ไป โดยการร่วมคา้ จะยุติลง

เมอื่ การรว่ มค้านนั้ เสร็จสิน้
จ. การประกอบกิจการรว่ มค้ากัน โดยบคุ คลตั้งแต่ 15 คนข้ึนไป โดยการร่วมค้าจะดําเนิน

ต่อเนอื่ งตลอดไป
3. สาเหตขุ องการทําธุรกจิ รว่ มค้าคอื อะไร

ก. ลดการเสยี่ งภัย
ข. รวบรวมเงนิ ทนุ และบุคคลทม่ี คี วามรู้ความสามารถ
ค. ประหยัดคา่ ใช้จ่าย
ง. ประโยชนท์ างกฎหมาย
จ. ถกู ทุกข้อ
4. กจิ การร่วมค้ามกี ารนํากฎหมายชนดิ ใดมาบงั คบั ใช้ในการดําเนินงาน
ก. กฎหมายบริษทั จาํ กดั
ข. กฎหมายห้างหุ้นส่วน
ค. กฎหมายแพง่ และพาณิชย์
ง. กฎหมายอาญา
จ. กฎหมายสหกรณ์

31

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 2/3 2
ช่อื วิชา : การบัญชชี ัน้ สงู 1 รหสั วชิ า 30201– 2005

งาน : การบัญชีชัน้ สูง 1

5. การบันทกึ บัญชีการรว่ มค้าโดยไม่เปดิ สมุดบัญชีร่วมค้าแยกตา่ งหาก ถา้ ผูร้ ่วมคา้ ส่งเงินไปให้ผ้รู ่วมค้าอีกคน เพอ่ื มไี วจ้ า่ ย

ค่าใชจ้ ่ายของกิจการรว่ มค้า การบันทกึ รายการบัญชีในสมุดบัญชผี ้สู ง่ เงนิ จะบันทกึ บญั ชอี ยา่ งไร

ก. เดบติ บญั ชรี ว่ มค้าทร่ี บั เงนิ เครดิต บัญชรี ว่ มค้า

ข. เดบติ บัญชีร่วมคา้ เครดติ บญั ชีรว่ มคา้ ทส่ี ง่ เงนิ

ค. เดบติ บญั ชเี งินสด เครดติ บัญชีรว่ มค้าท่ีสง่ เงิน

ง. เดบิต บญั ชรี ่วมคา้ ท่รี ับเงนิ เครดติ บญั ชีเงินสด

จ. เดบิต บัญชรี ่วมค้า เครดิต บัญชเี งินสด

6. การบันทึกบญั ชกี ารร่วมคา้ โดยไม่เปิดสมุดบัญชรี ว่ มค้าแยกต่างหาก ถา้ ผรู้ ่วมค้ามีการซ้ือสนิ คา้ เป็นเงินสดการบันทกึ

บัญชีในสมดุ บัญชีของผู้ร่วมคา้ ทเ่ี ปน็ ผู้รว่ มคา้ จะบนั ทกึ บัญชีอย่างไร

ก. เดบติ บัญชีร่วมค้า เครดิต บญั ชเี จ้าหน้ี

ข. เดบติ บญั ชรี ่วมค้า เครดติ บญั ชีเงนิ สด

ค. เดบิต บญั ชรี ่วมค้า เครดติ บญั ชผี ู้รว่ มคา้ ที่ซอื้ สนิ คา้

ง. เดบิต บัญชผี ู้รว่ มค้าทซี่ ือ้ สินค้า เครดิต บัญชเี งินสด

จ. เดบติ บญั ชีผู้ร่วมค้าท่ซี อ้ื สนิ ค้า เครดิต บัญชีเจา้ หนี้

7. การร่วมค้าทีม่ กี ารเปดิ สมุดบัญชกี จิ การรว่ มคา้ แยกต่างหาก ถ้าผรู้ ว่ มคา้ สง่ เงินไปใหก้ ับผู้ร่วมคา้ ที่ทําหน้าทเ่ี ปน็

ผู้จดั การเพ่อื มไี ว้ใชจ้ า่ ยสําหรับกิจการร่วมค้า การบนั ทกึ บญั ชใี นสมุดบัญชขี องกิจการร่วมคา้ จะบนั ทกึ อยา่ งไร

ก. เดบติ บญั ชีเงนิ สด เครดิต บัญชผี รู้ ่วมคา้ ที่สง่ เงิน

ข. เดบติ บัญชีเงนิ สด เครดิต บัญชผี รู้ ว่ มค้าที่รบั เงิน

ค. เดบติ บัญชผี ู้ร่วมค้าทส่ี ่งเงิน เครดิต บัญชเี งนิ สด

ง. เดบิต บัญชีผู้ร่วมคา้ ท่รี ับเงนิ เครดติ บัญชีเงินสด

จ. เดบติ บญั ชรี ่วมคา้ เครดิต บัญชเี งินสด

8. การร่วมคา้ ทีม่ ีการเปิดสมุดบัญชีกจิ การร่วมค้าแยกต่างหาก ถ้ากจิ การร่วมค้ามกี ารจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยเปน็ เงนิ สด การบันทึก

บญั ชใี นสมดุ บญั ชขี องกิจการรว่ มคา้ จะบนั ทกึ บัญชีอย่างไร

ก. เดบติ บัญชีรว่ มค้า เครดติ บญั ชเี งนิ สด

ข. เดบิต บัญชรี ่วมคา้ เครดติ บัญชีคา่ ใช้จา่ ย

ค. เดบติ บัญชคี ่าใชจ้ า่ ย เครดติ บัญชีสนิ คา้

ง. เดบิต บญั ชคี ่าใชจ้ า่ ย เครดติ บญั ชีเงินสด

จ. เดบติ บญั ชรี ่วมคา้ เครดติ บัญชผี รู้ ว่ มคา้ ท่รี ับเงนิ

32

สาขาวิชา : การบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หนา้ ท่ี
แผ่นท่ี 3/3 3
ชอื่ วิชา : การบญั ชีชัน้ สงู 1 รหัสวชิ า 30201– 2005

งาน : การบญั ชีชนั้ สูง 1

9. การร่วมคา้ ทม่ี กี ารเปิดสมดุ บัญชีกิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก ถ้ากจิ การรว่ มคา้ มกี ารตัดหนีส้ ูญ การบันทึกบัญชีในสมุด

บัญชขี องกิจการรว่ มค้าจะบันทึกบญั ชอี ยา่ งไร

ก. เดบิต บญั ชีรว่ มคา้ เครดติ บัญชลี กู หน้ี

ข. เดบิต บญั ชีหนี้สงสยั จะสูญ เครดิต บญั ชีคา่ เผื่อหน้สี งสัยจะสูญ

ค. เดบติ บัญชีหนี้สูญ เครดิต บัญชลี กู หนี้

ง. เดบติ บัญชีหนส้ี ูญ เครดิต บัญชีร่วมค้า

จ. เดบติ บัญชรี ่วมคา้ เครดิต บัญชคี า่ เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

10. การร่วมค้าท่ีไม่เปดิ สมดุ บญั ชรี ว่ มค้าแยกตา่ งหาก สมมตุ ิวา่ นาย ก ผรู้ ว่ มค้าจา่ ยคา่ โฆษณาเปน็ เงนิ สด 1,000 บาท

ภาษีมลู ค่าเพ่ิม 7% การบันทกึ บัญชีของนาย ก จะบันทึกบัญชอี ย่างไร

ก. เดบิต บญั ชรี ว่ มค้า 1,000.-

บญั ชภี าษีซื้อ 70.-

เครดิต บัญชเี งนิ สด 1,070.-

ข. เดบิต บัญชรี ่วมคา้ 1,070.-

เครดิต บญั ชีเงินสด 1,000.-

บัญชีภาษีซื้อ 70.-

ค. เดบติ บญั ชีเงนิ สด 1,070.-

เครดิต บัญชีร่วมคา้ 1,000.-

บญั ชีภาษซี อ้ื 70.-

ง. เดบติ บัญชีร่วมคา้ 1,000.-

บัญชภี าษซี ื้อ 70.-

เครดิต บัญชีเจา้ หนี้ 1,070.-

จ. เดบติ บัญชคี ่าโฆษณา 1,000.-

บัญชภี าษซี อื้ 70.-

เครดติ บญั ชีเงินสด 1,070.-

11. การแสดงรายการเงินลงทนุ ในกิจการร่วมคา้ และกาํ ไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้า จะแสดงในงบการเงินใด

ก. เงินลงทนุ ในกจิ การร่วมคา้ แสดงในงบกาํ ไรขาดทนุ และกาํ ไรขาดทนุ จากกจิ การรว่ มคา้ แสดงในงบดลุ

ข. เงนิ ลงทุนในกจิ การร่วมค้า และกําไรขาดทุนจากกจิ การรว่ มค้าแสดงในงบกระแสเงินสด

ค. เงนิ ลงทนุ ในกจิ การร่วมคา้ และกําไรขาดทุนจากกจิ การรว่ มค้าแสดงในงบกาํ ไรขาดทุน

ง. เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า และกาํ ไรขาดทนุ จากกิจการรว่ มค้าแสดงในงบดุล

จ. เงินลงทนุ ในกิจการร่วมค้าแสดงในงบดุล และกาํ ไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้าแสดงในกําไรขาดทุน

33

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
ชือ่ วชิ า : การบัญชชี ั้นสูง 1 รหัสวชิ า 30201 – 2005 แผน่ ท่ี 1/13 18
งาน : การบัญชีการฝากขาย

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธบิ ายความหมายและความสําคัญของการฝากขายได้
2. บอกลักษณะของการฝากขายวิธีการดําเนนิ การฝากขายสทิ ธิ และหนา้ ทีข่ องผู้รับฝากขายได้
3. บนั ทึกบัญชเี กย่ี วกับการฝากขายดา้ นผู้รบั ฝากขาย และดา้ นผู้ฝากขายได้
4. แสดงรายการสนิ ค้าคงเหลือในงบดลุ และบันทึกบญั ชเี พอ่ื ขายสนิ คา้ ฝากขายเปน็ เงินเชอื่ ได้
5. อธบิ ายรายงานยอดกาํ ไรจากการฝากขายได้ และบอกศัพท์บัญชีได้

เน้อื หาสาระ
1. ความหมายและความสาคญั ของการฝากขาย

1.1 ความหมายของคาวา่ “ฝากขาย”
การฝากขายสนิ ค้า คือ การทเ่ี จ้าของสินคา้ ฝ่ายหนึ่ง ซ่ึงเรียกว่า ผ้ฝู ากขาย (Consignor) นําสนิ คา้ ของตนไป
ฝากให้กบั อีกบคุ คลหน่งึ ซ่ึงเรียกวา่ ผรู้ ับฝากขาย (Consignee) เพื่อทาํ หนา้ ทเี่ ป็นตัวแทนในการขายสินค้าให้ โดย
อาจจะขายภายในประเทศ หรือต่างประเทศก็ไดแ้ ลว้ แต่กรณี สินคา้ ทนี่ าํ ไปฝากขายกบั อีกบคุ คลหนึง่ ยังไม่ได้มกี ารโอน
กรรมสทิ ธิใ์ นตัวสินคา้ ท่สี ง่ ไปฝากขายให้แกผ่ ู้รบั ฝาก ดังนัน้ กรรมสิทธใิ์ นตัวสินคา้ ยงั คงเป็นของผฝู้ ากขายอยู่ ลกั ษณะ
เช่นน้ี เราอาจกล่าวได้ว่าการฝากขายนนั้ ต่างกบั การขายสินค้า
1.2 ความสาคัญของการฝากขาย
การฝากขายมขี อ้ แตกตา่ งจาการขายสินคา้ ในเรอื่ งกรรมสิทธ์ใิ นตวั สินค้า กลา่ วคอื การฝากขายนัน้ กรรมสทิ ธ์ิใน
สนิ คา้ ยังไม่โอนไปยังผู้รบั ฝากขาย เพราะฉะนั้นสนิ ค้าคงเหลือทผี่ ู้รับฝากขายก็ยังเปน็ กรรมสิทธ์ิของผู้ฝากขายอยู่ สว่ นการ
ขายสินคา้ กรรมสิทธ์ใิ นตวั สินคา้ จะเปน็ ของผู้ซอื้ เม่ือผู้ขายไดข้ ายสนิ ค้าใหก้ บั ผู้ซื้อ
1.3 ความแตกต่างระหวา่ งการฝากขายกับการขายปกติมีดงั น้ี
การขายทั้งสองประเภทเปน็ ทน่ี ยิ มในทว่ั ไปในวงการธุรกจิ และสว่ นใหญใ่ นกิจการหนึ่ง ๆ มกั จะมีการขายทงั้ สอง
แบบอย่ดู ้วยกนั ประกอบกบั การฝากขาย และการขายปกตมิ ีวิธกี ารทางบญั ชที ่แี ตกต่างกัน จึงตอ้ งจาํ แนกให้ไดว้ ่าในการ
ขายคร้ังน้นั เป็นการขายประเภทใด เพื่อเลอื กวธิ ีการทางบัญชีไดถ้ กู ต้อง เหมาะสม ความแตกตา่ งของการฝากขายกบั การ
ขายปกตสิ ามารถสรุปเป็นตารางแสดงความแตกต่างไดด้ งั น้ี

รายการ การฝากขาย การขายปกติ

1. กรรมสทิ ธใ์ิ นสนิ ค้า เม่ือมีการส่งมอบสนิ คา้ ไปยังผรู้ ับฝาก เมอ่ื มกี ารส่งมอบสินคา้ กรรมสทิ ธโิ์ อน
ขาย กรรมสิทธ์ใิ นสินคา้ ยังเป็นของผู้ ไปยงั ผซู้ ้ือ
ฝากขาย และกรรมสิทธิจ์ ะโอนไปยัง
ผซู้ ้ือเม่ือผ้รู บั ฝากขายมกี ารส่งมอบ
สนิ คา้ ไปยงั ผู้ซอ้ื

สาขาวชิ า : การบญั ชี 34
ชอ่ื วิชา : การบัญชีชัน้ สูง 1 รหสั วชิ า 30201 – 2005
งาน : การบญั ชีการฝากขาย ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ท่ี 2/13 19

รายการ การฝากขาย การขายปกติ
2. การบนั ทึกรายได้จากการขาย
ผฝู้ ากขายไมม่ ีการบนั ทึกรายได้จาก ผขู้ ายจะบันทกึ รายได้จากการขาย
3. การเปน็ ลกู หน้ี
4. สนิ ค้าคงเหลอื การขายเม่อื มีการสง่ มอบสินคา้ ไปยัง ทันทที ี่มีการส่งมอบสินค้า

5. การคืนสินคา้ ผู้รบั ฝากขายแตจ่ ะบันทึกเมอื่ ได้รบั
6. การบันทึกบัญชีสินค้า
รายงานการขายจากผ้รู ับฝากขาย
7. การรบั ภาระคา่ ใชจ้ ่าย
ผ้รู บั ฝากขายไมใ่ ชล่ ูกหนถ้ี อื เปน็ ผูซ้ อ้ื สนิ คา้ ไปขายเปน็ เงินเชอื่ ถือ
8. การชาํ ระหน้ี
ตวั แทน เปน็ ลูกหน้ี

หากผู้รับฝากขายมสี ินค้าคงเหลือ ณ หากผ้ซู ้ือมีสนิ ค้าคงเหลือ ณ วนั สิ้น

วันสน้ิ งวด สินค้าคงเหลอื จะถกู งวด สินคา้ คงเหลือจะถกู บนั ทกึ

บนั ทึกรวมอยูใ่ นงบแสดงฐานะทาง รวมอยู่ในงบแสดงฐานะทางการเงิน

การเงนิ ของผ้ฝู ากขาย ของผู้ซอ้ื

ผู้รับฝากขายมีสิทธทิ ่จี ะขอคนื สินคา้ ผซู้ ือ้ ไม่อาจคนื สนิ ค้าไดห้ ากสินคา้ ที่

ไดท้ ุกเมอ่ื หากไมป่ ระสงคจ์ ะเป็น ซ้อื ไปอยู่ในสภาพปกติ และไม่มี

ตวั แทนในการขายแล้ว เงือ่ นไขอ่นื ระบุเกี่ยวกับการคืนสนิ คา้

ผรู้ บั ฝากขาย ใช้การบนั ทึกความจํา เมอื่ มีการสง่ มอบสินคา้ ผซู้ ้ือจะบนั ทึก

สาํ หรับสนิ ค้าฝากขาย และผู้ฝากขาย บัญชซี ื้อ/สินคา้ ทนั และผ้ขู ายจะ

ใช้การบันทึกบญั ชโี ดยเดบิตบัญชีฝาก บนั ทึกบัญชขี ายทันทีเช่นกัน

ขาย

ผฝู้ ากขายรบั ภาระคา่ ใชจ้ ่ายเกี่ยวกับ เมื่อมีการส่งมอบสินคา้ แลว้

สินคา้ ท่สี ง่ ไปฝากขายต้งั แต่วนั ส่ง ผซู้ อ้ื สนิ คา้ มาขายตอ้ งรับผดิ ชอบ

สินคา้ จนถึงวันท่ีขายสนิ ค้าได้ และ ค่าใชจ้ ่ายทัง้ หมด

ผู้รบั ฝากขายมีสิทธคิ ิดค่าใช้จา่ ยที่ได้

จา่ ยไปเกี่ยวกบั สินค้าท่รี บั ฝากคืน

จากผู้ขายได้

หากผูร้ บั ฝากขายล้มละลาย ผขู้ ายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เช่อื ตอ้ งคอยรบั

ไมส่ ามารถชาํ ระหนี้ได้ผฝู้ ากขายมี ส่วนแบ่งชําระหน้ผี ูซ้ ้ือรว่ มกับเจ้าหนี้

สิทธเิ รยี กสินค้าท่ีฝากขาย รายอน่ื ๆ

คนื มาโดยมิตอ้ งคอยรบั สว่ นแบง่

ชําระหน้ี

35

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
ชอื่ วิชา : การบญั ชชี ัน้ สงู 1 รหสั วชิ า 30201 – 2005 แผน่ ที่ 3/13 20
งาน : การบัญชกี ารฝากขาย

2. ลักษณะของการฝากขาย

ในทางกฎหมาย ผู้ฝากขาย และผูร้ ับฝากขายตา่ งฝ่ายก็มีความผูกพันตอ่ กนั ในลกั ษณะของตัวการ และตวั แทน โดย
ผรู้ บั ฝากขายมีสทิ ธิในการครอบครองในตวั สินค้าตามวตั ถปุ ระสงค์ของการขายสินค้านัน้ ซ่ึงเป็นการตกลงของทง้ั สองฝ่าย
และผรู้ ับฝากขายจะต้องดแู ลรกั ษาสินค้าระมดั ระวังในตัวสนิ ค้าที่อยใู่ นความครอบครองใหป้ ลอดภัยจนกว่าจะขายสินคา้ ท่ี
อยูใ่ นความครอบครองใหก้ ับผูซ้ ้ือต่อไป

จากวธิ ีการฝากขายท่ีกล่าวข้างตน้ นนั้ ผ้ฝู ากขายจะทาํ การบนั ทกึ รายการเก่ียวกับสินค้าท่สี ่งไปฝากขาย และรายได้
จากการขายสนิ ค้าน้ัน ๆ ดว้ ย สว่ นผรู้ บั ฝากขายไมต่ ้องบันทกึ เป็นสินค้าของตน เพราะกรรมสทิ ธิ์ในตวั สินค้ายงั เป็นของผู้
ฝากขาย และไม่ตอ้ งตั้งผฝู้ ากขายเป็นเจ้าหนเ้ี พราะไม่ได้มกี ารซ้อื ขายสนิ คา้ จาํ นวนนี้ แต่ผู้ฝากขายจะบนั ทกึ สินค้าทสี่ ง่ ไป
ฝากขายในราคาทนุ โดยบันทึกไวท้ างด้านเครดติ ของบญั ชสี ินค้าทสี่ ่งไปฝากขาย ถ้าใช้วธิ ตี รวจนบั สินคา้ เมื่อวนั สน้ิ งวด
(Periodic Inventory System) หรอื บัญชสี นิ ค้า ถ้าใช้วธิ บี นั ทึกสินค้าแบบต่อเนอ่ื ง (Perpetual Inventory System)
แล้วแตว่ ่าผฝู้ ากขายจะใช้การบนั ทกึ วธิ ีใด และเดบิต บัญชฝี ากขายสว่ นผรู้ บั ฝากขายใหบ้ นั ทึกความทรงจาํ สินคา้ ทร่ี ับมา
ขายแทนเท่านัน้ ว่ารับอะไรมาและเปน็ จํานวนเทา่ ใด

3. วิธกี ารดาเนินการฝากขาย

การฝากขายจะเกย่ี วข้องกับบคุ คล 2 ฝา่ ย คือ ผฝู้ ากขาย และผรู้ บั ฝากขาย ซึ่งไดต้ กลงทาํ สัญญากันในเร่อื งตอ่ ไปนี้
3.1 การกาํ หนดระยะเวลาของการชําระหน้ี โดยผรู้ ับฝากขายสามารถจะใหแ้ กผ่ ู้ซอ้ื หรือผบู้ ริโภค
3.2 ค่าใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ ที่ผรู้ บั ฝากจะได้รับคืนจากผฝู้ ากขาย เชน่ คา่ ระวาง คา่ ประกันภัย
3.3 คา่ ตอบแทน
3.4 การเก็บรกั ษา และการแยกไว้ตา่ งหากสําหรับสนิ ค้าทีฝ่ ากขาย
3.5 เงนิ ทไี่ ด้รบั จากการขายสนิ ค้า
3.6 การส่งเงิน และการหกั หนี้ระหว่างกัน
3.7 การทํารายงานเกี่ยวกับการรับสินคา้ ฝากขาย
3.8 สิทธิ และหน้าท่ขี องผู้รับฝากขาย

4. หน้าทขี่ องผูร้ ับฝากขาย

ในการรบั ฝากขายผรู้ ับฝากขายมีหนา้ ทใี่ นการรบั ผิดชอบในการรบั ฝากขายดังน้ี
4.1 ตอ้ งดูแลรักษาสินทรัพยข์ องผู้ฝากขาย ผูร้ บั ฝากขายจะตอ้ งระมัดระวงั ดแู ล และรักษาสินทรัพย์ของผฝู้ าก
ขายอยา่ งปลอดภัยเสมือนกบั เป็นของผรู้ ับฝากขายเอง ซึ่งวธิ ีการปฏิบตั ิ ดงั กล่าวอาจได้รบั คําแนะนาํ จากผู้ฝากขายกไ็ ด้
4.2 ในฐานะทีผ่ ู้รบั ฝากขายเปน็ ตัวแทนของผฝู้ ากขายมีสิทธใิ นการพจิ ารณาการใหเ้ ครดติ แกผ่ บู้ ริโภคหรอื ลกู ค้า
ผูร้ ับฝากขายกค็ วรท่จี ะระมัดระวงั ในเรอื่ งการพจิ ารณาการใหเ้ ครดิต และการเกบ็ หนด้ี ว้ ย มิฉะนั้นแล้วผรู้ ับฝากขาย
อาจจะต้องร่วมรับผิดชอบต่อผลขาดทนุ ทเี่ กิดขึ้น

36

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
ชอ่ื วชิ า : การบญั ชีชนั้ สูง 1 รหัสวชิ า 3201 – 2005 แผ่นที่ 4/13 21
งาน : การบญั ชกี ารฝากขาย

4.3 สินคา้ ท่ีผูร้ บั ฝากขายรบั มาควรแยกต่างหากจากสนิ ค้าของตน ซ่งึ แยกประเด็นทีส่ ําคญั ดงั น้ี
4.3.1 ผู้รบั ฝากขาย ควรแยกสินค้าฝากขายตา่ งหากจากของตนลักษณะเชน่ น้ไี ม่ใช่ความหมายวา่ ใน

ทางปฏิบตั ิจะตอ้ งทาํ การเกบ็ แยกสินค้าเหลา่ น้ีออกจากกันโดยเด็ดขาดแตอ่ ยา่ งนอ้ ยทส่ี ุดควรทําเครื่องหมายหรอื จดบนั ทึก
เพ่ือทาํ ให้ทราบวา่ เปน็ สนิ ทรพั ย์ของผฝู้ ากขายหรอื ของตนเอง

4.3.2 ลูกหนีท้ ่เี กดิ จากการขายสนิ คา้ รับฝากขาย ควรแยกลกู หน้ีการค้าของตนเอง จะได้ทราบวา่ เปน็ ของผู้
ฝากขายเทา่ ใด และเป็นของตนเองเทา่ ใด ในแง่กฎหมายเงนิ สดทีไ่ ด้รบั จากการขายสินคา้ ก็ใหป้ ฏิบัตเิ หมือนลกู หนเ้ี ชน่ กนั

4.3.3 ในบางกรณเี งนิ สดจากการขายสินค้าท่รี บั ฝากขาย มกั จะรวมเปน็ ยอดเดียวกับเงนิ สดของผู้รับฝาก
ขาย ถา้ มิไดต้ กลงกันไวจ้ นกว่าจะมกี ารส่งเงนิ สดไปให้ผู้ฝากขาย

4.3.4 จะต้องจัดทํารายงานขายแสดงรายละเอยี ดเก่ียวกบั สินค้าที่รับมาขายแทนผ้ฝู ากขาย ได้แก่ จํานวน
สนิ ค้า ราคาสนิ ค้าทง้ั หมดทีข่ ายได้ และหักค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ ทผ่ี ู้รบั ฝากขายจ่ายแทนไป รวมทง้ั ค่าปว่ ยการ และสทิ ธิเรยี ก
ชดเชย (ถ้ามี) เช่น เงนิ จ่ายล่วงหน้าส่งไปยงั ผ้ฝู ากขาย เหลอื สทิ ธิเทา่ ไรจงึ จะส่งเงนิ ไปให้ผฝู้ ากขายพร้อมรายงานขาย

ตัวอย่างรายงานขาย

รายงานขาย เลขที่ 620
บริษัท ขวญั ใจ จากดั
วนั ที่ 31 มนี าคม 2551
สินคา้ ฝากขายจาก บรษิ ทั ดวงเดือน จํากัด
สํานกั งานเลขที่ 69 หมู่ 1 ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี
ลักษณะสนิ คา้ พัดลม 1,000 เครอ่ื ง

วันท่ี รายการ จานวนสินคา้ จานวนเงิน
(เคร่ือง) (บาท)
มี.ค. 1 ยอดยกมา
- -
1-31 รบั 1,000 -
1,000 -
รวม 1,000 1,200.-

ขายพดั ลม 1,000 เครื่อง เคร่ืองละ 1,200 บาท

ค่าใช้จ่าย

ค่าขนส่ง 6,000.-

คา่ นายหน้า (20% x 1,200,000) 240,000.- 246,000.-
954,000.-
คงเหลอื 954,000.-

31 นําเงินสง่ พร้อมรายงานขาย -

ยอดยกไป

37

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าที่
ช่อื วชิ า : การบญั ชชี น้ั สงู 1 รหัสวิชา 30201 – 2005 แผ่นท่ี 5/13 22
งาน : การบญั ชกี ารฝากขาย

5. การบัญชเี กยี่ วกับการฝากขาย

การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกบั การฝากขายจะแยกออกเปน็ 2 ด้าน คือ 2. การบัญชีดา้ นผู้ฝากขาย

5.1 การบัญชีดา้ นผู้รบั ฝากขาย

5.1.1 กรณีเม่อื ไดร้ ับสนิ คา้ ฝากขาย

ผรู้ บั ฝากขายจะบนั ทึกความทรงจํา (Memorandum ใช้ตวั ยอ่ Memo) โดยแสดงรายละเอยี ดวา่

รับสินค้าจากบรษิ ทั ………………..………….. จาํ นวน ……………….….. (หน่วย)ราคาขายหนว่ ยละ……………… บาท

มาขายแทน การบนั ทึกความทรงจาํ รายการนจ้ี ะบันทึกในสมดุ รายรบั ทั่วไป และในบญั ชแี ยกประเภท

บญั ชีรับฝากขายบริษัท………………

Memo : รับสินค้าจากบรษิ ัท

จํานวน …….. (หนว่ ย) ราคาขาย

หน่วยละ……. (บาท) มาขายแทน

5.1.2 เมอื่ ผ้รู ับฝากขายจา่ ยค่าใช้จ่ายเก่ยี วกับการฝากขายให้ต้งั ผู้ฝากขายเป็นลูกหนี้โดย

Dr. รับฝากขาย – บรษิ ทั ……………….. XX

Cr. เงินสด XX

5.1.3 เมอ่ื รับฝากขายสนิ ค้าได้ ใหต้ ้งั ผู้ฝากขายเปน็ เจ้าหนโี้ ดย

Dr. เงนิ สด / ลกู หนี้รบั ฝากขาย XX

Cr. รบั ฝากขาย – บริษัท…………… XX

5.1.4 ผูร้ บั ฝากขายคดิ ค่านายหน้าจากคา่ ขาย ให้ตง้ั ผ้ฝู ากขายเปน็ ลกู หนี้ โดย

Dr. รบั ฝากขาย – บริษัท……………….. XX

Cr. รายได้คา่ นายหนา้ XX

5.1.5 ผู้รับฝากขายจ่ายเงินลว่ งหนใ้ี หผ้ ขู้ ายฝาก ให้ต้ังผู้ฝากขายเปน็ ลูกหนโี้ ดย

Dr. รบั ฝากขาย – บรษิ ทั ……………….. XX

Cr. เงนิ สด XX

5.1.6 ผูร้ บั ฝากขายจ่ายเงนิ หรือส่งเงนิ ชาระหนใี้ ห้กบั ผู้ฝากขายหลงั จากหกั ค่าใช้จ่ายตา่ ง ๆ ตาม

เงือ่ นไข ใหล้ ดยอดเจา้ หนี้ โดย

Dr. รบั ฝากขาย – บริษทั ……………….. XX

Cr. เงนิ สด XX

5.2 การบญั ชดี า้ นผู้ฝากขาย

การบัญชดี ้านผู้ฝากขายมี 2 วิธี ขึน้ อยกู่ ับวัตถุประสงคข์ องผฝู้ ากขาย

1. บนั ทกึ การฝากขายแยกจากการขายปกติ

2. บันทึกการฝากขายรวมกับการขายปกติ

38

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
ชือ่ วชิ า : การบัญชีช้ันสูง 1 รหสั วชิ า 30201 – 2005 แผ่นที่ 6/13 23
งาน : การบญั ชีการฝากขาย

ในการบันทกึ บัญชี ผฝู้ ากขายจะตอ้ งพิจารณาดว้ ยว่าผู้ฝากขายใช้วธิ กี ารบนั ทกึ บญั ชีสินคา้ แบบใด ซึ่งปกติวธิ ีการ

บันทกึ บญั ชีสินคา้ มี 2 วิธี คือ

ก. วิธีตรวจนบั สินค้าเมื่อวันสิ้นงวด (Periodic Inventory System)

ข. วธิ บี นั ทกึ สินคา้ แบบต่อเน่อื ง (Perpetual Inventory System)

1. บนั ทกึ การฝากขายแยกจากการขายปกติ

ในกรณนี ี้ผ้ฝู ากขายตอ้ งการบนั ทกึ การฝากขาย คาํ นวณผลกาํ ไรจากการฝากขายแยกออกต่างหากจากการ

ขายปกติ ซึง่ ทําให้ผ้รู บั ฝากขายสามารถทราบผลตอบแทนจากการรบั ฝากขายได้อยา่ งชัดเจน วธิ นี ี้ผฝู้ ากขายกจ็ ะเปิดบญั ชี

ฝากขาย (Consignment-out) เป็นบัญชสี ินค้าคงเหลือในมือของผูฝ้ ากขาย

ในกรณที ี่ผูฝ้ ากขายไดร้ ับรายงานขายจากผู้รับฝากขาย ผู้ฝากขายกจ็ ะบนั ทึกรายได้จากการขายสินคา้ สง่ ไปฝาก

ขายได้ 2 วิธี คอื

1. Gross Sale เปน็ การบันทกึ รายไดจ้ ากการขายสนิ คา้ ที่สง่ ไปฝากขายก่อนหักคา่ ใช้จา่ ย

2. Net Sale เปน็ การบนั ทกึ รายไดจ้ ากการขายสนิ คา้ ท่ีสง่ ไปฝากขายหลงั หักค่าใช้จ่าย

วธิ ีบันทกึ สินค้าแบบตอ่ เนอื่ ง วิธีตรวจนับสินค้าเมื่อวนั สิน้ งวด

(Perpetual Inventory System) (Periodic Inventory System)

1. เม่ือส่งสินคา้ ไปฝากขาย 1. เมอื่ ส่งสินคา้ ไปฝากขาย

Dr. ฝากขาย-บรษิ ทั ……. XX Dr. ฝากขาย-บริษทั ……. XX

Cr. สนิ คา้ XX Cr. สนิ ค้าสง่ ไปฝากขาย XX

2. จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายเก่ยี วกับการฝากขาย 2. จ่ายคา่ ใช้จา่ ยเกยี่ วกบั การฝากขาย

Dr. ฝากขาย-บรษิ ัท……. XX Dr. ฝากขาย-บริษทั ……. XX

Cr. เงนิ สด XX Cr. เงนิ สด XX

หรือค่าใชจ้ ่ายค้างจ่าย (ในกรณีค้างชาํ ระ) หรอื ค่าใชจ้ ่ายค้างจ่าย (ในกรณคี ้างชําระ) หรือ

หรือ คา่ ใช้จา่ ยน้ัน ๆ (ในกรณีท่ไี ดจ้ ่ายคา่ ใช้จา่ ย ค่าใช้จา่ ยน้ัน ๆ (ในกรณที ่ีไดจ้ ่ายคา่ ใช้จา่ ยใน

ในการฝากขายรวมไปกบั คา่ ใช้จา่ ยโดยปกตขิ องกิจการ) การฝากขายรวมไปกบั คา่ ใชจ้ ่ายโดยปกติของกจิ การ)

3. ได้รบั เงินล่วงหน้าจากการฝากขาย 3. ได้รับเงนิ ลว่ งหนา้ จาการฝากขาย

Dr. เงนิ สด XX Dr. เงนิ สด XX

Cr. ผู้รับฝากขาย XX Cr. ผู้รับฝากขาย XX

4. ไดร้ ับสินคา้ คนื จากผู้รบั ฝากขาย 4. ได้รบั สินค้าคนื จากผู้รับฝากขาย

Dr. เงินสด XX Dr. สนิ ค้าส่งไปฝากขาย XX

Cr. ฝากขาย-บรษิ ทั ….. XX Cr. ฝากขาย-บรษิ ัท… XX

5. จ่ายคา่ ใช้จ่ายเกีย่ วกับสินค้าทีร่ ับคนื 5. จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเก่ยี วกับสินคา้ ที่รบั คืน

Dr. ค่าใช้จา่ ยประเภทนนั้ ๆ XX Dr. คา่ ใช้จ่ายประเภทนน้ั ๆ XX

Cr. เงินสด XX Cr. เงินสด XX

สาขาวชิ า : การบญั ชี 39
ชอื่ วิชา : การบญั ชีชน้ั สงู 1 รหสั วชิ า 30201 – 2005
งาน : การบญั ชีการฝากขาย ใบความรู้ หน้าที่
แผน่ ที่ 7/13 24

วธิ ีบันทึกสินค้าแบบต่อเนอ่ื ง วธิ ีตรวจนับสนิ ค้าเมอ่ื วันสน้ิ งวด

(Perpetual Inventory System) (Periodic Inventory System)

6. เมอ่ื ได้รับเงนิ สดพรอ้ มรายงานขาย 6. เม่ือไดร้ ับเงนิ สดพร้อมรายงานขาย

ก. วธิ ี Gross Sale ก. วธิ ี Gross Sale

Dr. เงินสด XX Dr. เงินสด XX

ผูร้ ับฝากขาย XX ผูร้ ับฝากขาย XX

(เงนิ ล่วงหนา้ ) XX (เงินล่วงหน้า) XX

ฝากขาย-บริษทั …. XX ฝากขาย-บรษิ ทั …. XX

(ค่าใช้จา่ ยท่ีเป็นต้นทุน) XX (ค่าใชจ้ า่ ยท่ีเปน็ ตน้ ทุน) XX

คา่ ใชจ้ ่ายประเภทนั้น ๆ XX ค่าใช้จ่ายประเภทน้ัน ๆ XX

Cr. ขายโดยการฝากขาย XX Cr. ขายโดยการฝากขาย XX

ข. วธิ ี Net Sale ข. วธิ ี Net Sale

Dr. เงนิ สด XX Dr. เงินสด XX

ผรู้ บั ฝากขาย XX ผู้รับฝากขาย XX

Cr. ขายโดยการฝากขาย XX Cr. ขายโดยการฝากขาย XX

7. บันทกึ ต้นทนุ ขาย 7. บันทกึ ตน้ ทนุ ขาย

Dr. ต้นทุกขายโดยการฝากขาย XX Dr. ต้นทุกขายโดยการฝากขาย XX

(ในสว่ นที่ขายได้) (ในส่วนท่ีขายได้)

ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย XX คา่ ใชจ้ ่ายในการฝากขาย XX

(คา่ ใชจ้ ่ายในการฝากขายท่ีคิดเปน็ ต้นทนุ ) (คา่ ใชจ้ า่ ยในการฝากขายท่ีคิดเปน็ ตน้ ทุน)

Cr. ฝากขาย-บริษทั ...... XX Cr. ฝากขาย-บริษัท...... XX

8. ปดิ บัญชีสนิ คา้ ส่งไปฝากขายเขา้ กําไรขาดทุน

Dr. สินค้าส่งไปฝากขาย XX

Cr. กําไรขาดทุน XX

(ปิดบัญชีทัง้ หมดไมว่ า่ จะขายไดท้ ้ังหมดหรอื บางสว่ น

หรือขายไมไ่ ด้เลย)

40

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
ช่ือวิชา : การบญั ชชี นั้ สูง 1 รหัสวิชา 30201 – 2005 แผน่ ท่ี 8/13 25
งาน : การบัญชีการฝากขาย

6. สินค้าคงเหลือของผู้ฝากขาย (Consignor’s Inventory)

ในวนั ปิดบัญชี ถา้ ปรากฏวา่ มีสนิ ค้าคงเหลอื ซึ่งอยู่ในมอื ของผรู้ ับฝากขาย อันสืบเนือ่ งมาจากสนิ ค้าทสี่ ง่ ไปฝากขาย
แตข่ ายไมไ่ ด้ กจ็ ะต้องนาํ มาแสดงเป็นสนิ ค้าคงเหลอื ของผ้ฝู ากขาย และราคาทนุ ของสนิ คา้ คงเหลอื ในมอื ของผู้รบั ฝากขายควร
จะรวมถงึ ราคาทนุ ของสนิ ค้านน้ั บวกด้วยสว่ นเฉลี่ยคา่ ใช้จา่ ย ซงึ่ เป็นสว่ นทส่ี ินคา้ นั้นขายไม่ไดด้ ้วย เชน่ ค่าระวาง หรือคา่ ขนส่ง
ทจ่ี ่ายโดยผู้ฝากขายหรอื ผรู้ ับฝากขาย ส่วนค่านายหน้าจะไม่นํามาพจิ ารณาดว้ ย เพราะว่าค่าใชจ้ า่ ยประเภทน้ีโดยปกตกิ ็มิใช่
ค่าใชจ้ า่ ยที่เป็นตน้ ทนุ ของสนิ คา้ คงเหลือ แตใ่ ชต้ ัดจ่ายหมดไปในงวดน้ันโดยถอื เปน็ คา่ ใช้จ่ายที่เกดิ ข้ึนในงวดปจั จบุ นั ทง้ั จํานวน

ในกรณีทีม่ กี ารบนั ทึกบัญชเี ก่ยี วกบั การฝากขายแยกจากการขายปกติไม่ว่าจะเป็นบนั ทกึ สินคา้ แบบตอ่ เนื่อง หรือ
วิธีตรวจนับสนิ คา้ เมอื่ วนั ส้ินงวด ยอดคงเหลือในบญั ชฝี ากขายแต่ละรายถอื เปน็ บญั ชีคมุ ยอดกจ็ ะเป็นการแสดงยอดสินคา้
คงเหลือในมือของผู้รบั ฝากขาย เพราะวา่ บญั ชีฝากขายจะบนั ทึกบญั ชเี ดบิต ไวด้ ้วยราคาต้นทนุ สนิ ค้า และคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ท่ี
ถือเป็นราคาทนุ ของสนิ คา้ และยอดคงเหลอื ในบัญชฝี ากขายน้ัน จะนาํ ไปแสดงในงบดุลในหัวหน้าสินคา้ คงเหลอื (ถา้ จํานวนไม่

มากกไ็ มต่ ้องแสดงแยกออกจากกัน)เชน่

การแสดงรายการในงบดลุ

สนิ ค้าคงเหลือ :-

สินค้าคงเหลอื ในมือ 70,000.-

สินค้าคงเหลือในมือผู้รบั ฝากขาย 50,000.-

120,000.-

ส่วนในกรณีท่มี กี ารบนั ทึกบญั ชีเกย่ี วกบั การฝากขายรวมกับการขายปกติ บัญชีฝากขายจะบนั ทึกบัญชโี ดยเดบิต

ราคาต้นทุนของสนิ ค้าท่ีสง่ ไปฝากขายเท่าน้นั สว่ นค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ทเี่ กิดข้ึนกจ็ ะบนั ทกึ เขา้ บญั ชีคา่ ใช้จา่ ย ซ่ึงโดยปกตแิ ลว้

มักจะใช้วิธีการบนั ทกึ ความทรงจํา ค่าใชจ้ า่ ยที่เกิดข้นึ และเมอ่ื ถึงวนั ปดิ บญั ชี กจ็ ะโอนค่าใชจ้ า่ ยเหลา่ นเ้ี ข้าบญั ชี เฉพาะสว่ นที่

เป็นของสนิ คา้ ฝากขายท่ียังขายไมไ่ ดใ้ หต้ ดั ออกจากบญั ชคี ่าใชจ้ า่ ยที่เกี่ยวข้องไวใ้ นบญั ชคี ่าใช้จา่ ยในการฝากขายรอตัดบญั ชี

(Deferred Consignment Expense) ไปรวมกบั ราคาทนุ ของสนิ คา้ คงเหลอื ตามทีป่ รากฏในบญั ชีฝากขาย กรณีใช้วธิ ีบันทึก

สนิ คา้ แบบตอ่ เน่ือง เปน็ ราคาสนิ คา้ คงเหลือในมอื ของผู้ฝากขายแสดงเปน็ สนิ ทรัพย์หมุนเวยี นในงบดลุ และถ้าไมไ่ ด้บันทกึ

รายไดจ้ าการฝากขายแยกต่างหากจากการขายปกติ และกิจการใช้วธิ ีตรวจนบั สิน้าเมือ่ ส้นิ งวดแล้ว ทั้งบญั ชีฝากขาย และบญั ชี

สนิ ค้าสง่ ไปฝากขายจะใชว้ ิธีการบนั ทกึ ความทรงจํา แลว้ ทัง้ สองบญั ชกี ็จะไม่แสดงในงบการเงินด้วยข้อมลู ดงั กลา่ วเป็นขอ้ มูลที่

ช่วยเตอื นความทรงจาํ ผู้ทําบญั ชใี นการตรวจนบั สินค้าคงเหลือปรากฏในราคาทนุ

7. เงนิ ลว่ งหน้าจากผูร้ ับฝากขาย (Advance From Consignees)

ผู้ฝากขายอาจจะมีการทาํ สัญญาหรอื ตกลงกับผูร้ บั ฝากขาย โดยผ้รู บั ฝากขายจะจา่ ยเงนิ ล่วงหนา้ ใหก้ อ่ น

ซงึ่ คาดวา่ จะรบั ฝากขายจะขายสนิ ค้านน้ั ได้แนน่ อน โดยประมาณจากราคาขาย ณ วนั ท่ีทาํ สัญญาหรือตกลง

กนั และจํานวนเงนิ จะนาํ ไปเดบิตเงินสด เครดติ บญั ชผี ู้รบั ฝากขาย โดยตงั้ เป็นเจา้ หนไ้ี ว้ก่อนจนกวา่ จะมีการ

ขายสนิ คา้ และมกี ารชาํ ระหนร้ี ะหว่างกัน จงึ จะโอนปิดบญั ชนี ้ี (นาํ เงินล่วงหนา้ จากผู้รบั ฝากขาย หกั กับ

จํานวนทผ่ี ้รู ับฝากขายจะต้องจา่ ยใหผ้ ้ฝู ากขาย)

41

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
ชื่อวิชา : การบัญชชี ั้นสูง 1 รหัสวชิ า 30201 – 2005 แผ่นท่ี 9/13 26
งาน : การบญั ชีการฝากขาย

8. การส่งคืนสนิ ค้าฝากขายทขี่ ายไม่ได้ (Return of Unsold Consigned Goods)

ในบางกรณีสนิ คา้ ท่ผี ฝู้ ากขายส่งไปยงั ผู้รบั ฝากขายอาจชํารหุ รอื ขายไมไ่ ด้ ผู้รบั ฝากขายก็อาจจะสง่ คนื สินคา้ บางสว่ น
คนื ให้กับผฝู้ ากขาย ดงั นน้ั การตีราคาส่งคนื สินค้าฝากขายทีข่ ายไม่ได้ ให้ตีราคาทุนของสินค้าไม่รวมค่าขนสง่ ในการสง่
สินคา้ จากผรู้ ับฝากขายมายังผู้ฝากขาย และค่าใช้จ่ายตา่ ง ๆ เก่ยี วกับการส่งคนื สนิ คา้ ฝากขายทขี่ ายไมไ่ ด้ ไม่ว่าจะท่ีผู้ฝาก
ขายหรือผ้รู บั ฝากขายจา่ ยไป

การบันทึกบัญชีเกย่ี วกบั การสง่ คนื สนิ ค้าฝากขายท่ีขายไมไ่ ด้นี้ ผรู้ บั ฝากขายไม่ตอ้ งบันทกึ รายการเก่ยี วกบั ตัวสินคา้ แต่
อยา่ งใด เพยี งแต่บันทกึ ความทรงจาํ ไว้เทา่ น้ัน และบันทกึ รายการเฉพาะคา่ ขนส่งในการส่งสินค้าไปให้ผ้ฝู ากขาย โดยเดบิต
บัญชีรับฝากขาย และเครดิตบัญชีเงนิ สดหรอื คา่ ขนสง่

ทางดา้ นผู้ฝากขายจะบนั ทึกบญั ชโี ดยเดบติ สินค้า เมื่อใชว้ ธิ บี ันทกึ สนิ คา้ แบบตอ่ เน่อื งหรอื สนิ ค้าสง่ ไปฝากขาย เมอื่ ใช้
วธิ ตี รวจนบั สินค้าเมอ่ื วนั สน้ิ งวด และเครดติ บญั ชีฝากขายตามราคาตน้ ทนุ ของสนิ คา้ คนื นน้ั ถ้าสินคา้ ฝากขายได้รับคนื
ชาํ รดุ ก็ต้องตรี าคาสินคา้ รบั คืนน้ันต่าํ กว่าราคาต้นทุนในวนั ทบ่ี ันทึกบัญชี

ในกรณีทีม่ ีการสง่ สนิ ค้ากลับคืนไปยังผรู้ บั ฝากขายอกี ครั้งหนง่ึ น้นั จะถอื ว่าคา่ ใช้จ่ายในการส่งสนิ ค้าไปใหม่ และ
คา่ ใชจ้ ่ายในการขนสง่ สนิ ค้าโดยปกติ

9. การขายสนิ คา้ ฝากขายเป็นเงนิ เช่ือ
การฝากขายที่กล่าวมาขา้ งต้นนัน้ เป็นการฝากขายเป็นเงินสด แต่ในทางการค้าแลว้ ผู้รบั ฝากขายอาจ

ขายสนิ คา้ ฝากขายเป็นเงินเช่ือได้ ซง่ึ ในการขายสินคา้ ฝากขายเป็นเงินเชื่อน้ันมีวธิ ีการบันทกึ บัญชีได้ 2
กรณี คือ

1. ผ้รู บั ฝากขายยนิ ดียอมรับเป็นผ้รู ับผดิ ชอบในหนสี้ ญู ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการขายเชื่อต่อผู้ฝากขาย
เราเรยี กผ้รู ับฝากขายในกรณนี วี้ า่ ตวั แทนฐานประกัน ซ่งึ ผรู้ บั ฝากขายจะไดร้ ับค่านายหนา้ เพิม่ เปน็ พเิ ศษ
จากค่านายหน้าปกติ คา่ นายหนา้ นเี้ รยี กว่า ค่านายหน้าฐานประกนั รบั (Deleredere Commission)

2. ถ้าผฝู้ ากขายไม่ได้ทาํ หนา้ ที่เป็นตัวแทนฐานประกนั กจ็ ะไมไ่ ดร้ บั คา่ นายหน้าฐานประกนั
และหน้สี ูญท่เี กดิ ขน้ึ จะถอื เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยอย่างหน่งึ ของการฝากขายที่จะคดิ หักบัญชกี ับผู้ฝากขายเช่นเดียว
กบั คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน ๆ ทีผ่ รู้ ับฝากขายจา่ ยแทนผู้ฝากขายฝากขาย
10. การจัดทารายงานยอดกาไรจากการฝากขาย

งบการเงินเปน็ สว่ นท่ีกจิ การจัดทาํ ขนึ้ เพ่อื แสดงถึงสถานะของกิจการ ประกอบดว้ ยงบแสดงฐานะทางการเงนิ
และงบกาํ ไรขาดทุน ในกรณีของการฝากขาย จะแบ่งการแสดงรายการฝากขายในงบการเงนิ เป็น 2 วิธี ดงั น้ี

10.1 การแสดงรายการเก่ียวกบั การฝากขายในงบกาไรขาดทุน แมว้ ่ากจิ การจะสามารถเลือกวิธีบันทกึ บัญชี
เกีย่ วกับสินคา้ ฝากขายได้ 2 วธิ ี คอื การบันทกึ บญั ชีแยกจากการขายปกติ หรือการบันทกึ บญั ชีรวมกับการขายปกติก็ตาม
การแสดงกาํ ไรหรอื ขาดทนุ จากการขายฝาก ก็สามารถแสดงได้ 2 วิธตี ามวัตถุประสงค์ ดงั นี้

42

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
ช่อื วิชา : การบญั ชชี ้ันสงู 1 รหัสวชิ า 30201 – 2005 แผ่นที่ 10/13 27
งาน : การบัญชีการฝากขาย

10.1.1 เพ่ือนําเสนอตอ่ ผบู้ รหิ ารหรือบุคคลภายใน ผู้ฝากขายจะเลือกบนั ทกึ บัญชวี ธิ บี ันทกึ การฝาก
ขายแยกต่างหากจากการขายปกติเพือ่ จะได้ทราบยอดขาย ค่าใชจ้ ่าย และกําไรสุทธิจากการฝากขาย รูปแบบของการ
แสดงรายการ เป็นดงั นี้

งบกาไรขาดทุนบางส่วน กรณีบันทึกบญั ชีสินค้าแบบต่อเน่อื ง

กิจการ...................................

งบกาไรขาดทุน (บางส่วน)

สาหรบั ระยะเวลา.................สนิ้ สดุ วันท.่ี .....................

ขายโดยการฝากขาย ขายปกติ รวม

ขาย XX XX XX

หกั ตน้ ทุนขาย XX XX XX

กาํ ไรขั้นต้น XX XX XX

หกั ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร XX XX XX

กาํ ไรสทุ ธิ XX XX XX

งบกาไรขาดทนุ บางสว่ น กรณบี ันทกึ บัญชสี นิ ค้าเมื่อสิ้นงวด

กิจการ...................................

งบกาไรขาดทนุ (บางสว่ น)

สาหรบั ระยะเวลา.................ส้นิ สุดวันท่.ี .....................

ขายโดยการฝากขาย ขายปกติ รวม

ขาย XX XX XX
XX
หกั ตน้ ทุนขาย

สนิ ค้าตน้ ปี XX XX XX

บวก ซ้อื สทุ ธิ XX XX XX

สนิ คา้ มีไวเ้ พอื่ ขาย XX XX XX

หกั สนิ คา้ ส่งไปฝากขาย XX XX

XX

หกั สนิ ค้าปลายปี XX XX XX XX XX XX

กําไรขั้นตน้ XX XX

หกั ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร XX XX XX

กําไรสุทธิ XX XX XX

43

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
ช่ือวชิ า : การบญั ชีชั้นสูง 1 รหสั วิชา 30201 – 2005 แผน่ ที่ 11/13 28
งาน : การบญั ชีการฝากขาย

10.1.2 เพอื่ นาํ เสนอตอ่ ผถู้ ือหนุ้ หรือบคุ คลภายนอก จะต้องปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 1
(ปรับปรุง 2552) เร่อื ง การนําเสนองบการเงนิ จะแสดงยอดขาย และตน้ ทุนขายเป็นรายการเดยี วในแต่ละบรรทัด กรณมี ี
กาํ ไรขั้นตน้ จากการฝากขายมมี ลู ค่ามากอยา่ งมนี ัยสําคัญผฝู้ ากขายต้องทําหมายเหตุประกอบงบการเงนิ โดยแสดงเป็น
ยอดบวกเข้ากับกําไรขนั้ ต้นแลว้ วงเลบ็ หมายเหตไุ ว้อธบิ ายเพ่ิมเติมในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน รปู แบบของการแสดง
รายการเปน็ ดงั น้ี

งบกาไรขาดทนุ บางสว่ น กรณบี ันทกึ บญั ชีสนิ ค้าแบบตอ่ เน่อื ง

กจิ การ................................... XX
งบกาไรขาดทุน (บางสว่ น) XX
สาหรับระยะเวลา.................สิ้นสดุ วนั ท.่ี ..................... XX
ขาย
หกั ตน้ ทนุ ขาย
กําไรขั้นต้น
* หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
กาํ ไรขน้ั ต้น รวมถงึ กําไรจากการขายฝาก xxx บาท ด้วย

งบกาไรขาดทุนบางส่วน กรณบี ันทึกบญั ชีสินคา้ เมื่อส้นิ งวด

กิจการ...................................

งบกาไรขาดทนุ (บางส่วน)

สาหรับระยะเวลา.................ส้นิ สุดวนั ที่......................

ขาย XX

หกั ต้นทุนขาย

สินค้าตน้ ปี XX

บวก ซอ้ื สุทธิ XX

สินคา้ มีไวเ้ พอ่ื ขาย XX

หกั สนิ ค้าปลายปี XX XX

กาํ ไรขัน้ ต้น (หมายเหต)ุ XX

*หมายเหตุประกอบงบการเงิน

กาํ ไรขั้นตน้ รวมถึงกําไรจากการขายฝาก xxx บาท ด้วย

44

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าท่ี
ชือ่ วชิ า : การบญั ชชี นั้ สงู 1 รหัสวชิ า 30201 – 2005 แผน่ ท่ี 12/13 29
งาน : การบญั ชกี ารฝากขาย

10.2 การแสดงรายการเกี่ยวกบั การฝากขายในงบแสดงฐานะการเงนิ

10.2.1 ด้านผู้ฝากขาย สินค้ายังคงเป็นกรรมสิทธ์ิของผู้ฝากขาย จึงแสดงไว้ในบัญชีสินค้าคงเหลือ

ฝากขาย เม่ือถึงวันสิ้นงวดบัญชีแล้วยังมีสินค้าท่ีฝากขายเหลืออยู่ ยังขายไม่ได้อยู่ท่ีผู้รับฝากขาย ด้านผู้ฝากขายจะบันทึก

บญั ชีสนิ คา้ คงเหลือ (ไม่รวมค่าโฆษณา และคา่ ขนสง่ ) จากการขายฝากในบญั ชีฝากขาย ภายใต้รายการสินทรัพย์หมุนเวียน

สนิ คา้ คงเหลือ รูปแบบของการแสดงรายการ เปน็ ดังน้ี

กจิ การ.........................

งบแสดงฐานะทางการเงิน (บางส่วน)

ณ วนั ที.่ ..........................................

สนิ ทรพั ย์

สนิ ทรัพยห์ มุนเวียน

เงนิ สด XX

ลกู หน้ีการคา้ และต๋ัวเงนิ รบั XX

สินค้าคงเหลือ XX

สินค้าคงเหลือในมอื XX

สินค้าคงเหลอื ในมือผรู้ บั ฝากขาย XX XX

10.2.2 ด้านผู้รับฝากขาย จะแสดงบัญชีรบั ฝากขาย โดยเมอื่ ถึงวันส้นิ งวดบญั ชีในบัญชีรบั ฝากขาย

อาจจะมียอดคงเหลือได้ 2 กรณี คอื

(1) กรณบี ญั ชีรับฝากมยี อดคงเหลือด้านเดบติ จะเกิดขน้ึ เม่อื คา่ ใช้จา่ ยตา่ ง ๆ ที่ผรู้ ับฝาก

ขายจา่ ยไป และเงินทจ่ี ่ายล่วงหนา้ ให้ผฝู้ ากขายไปก่อน รวมถงึ คา่ นายหน้าทีพ่ ึงจะได้รับสูงกว่าคา่ ขายสินคา้ แสดงวา่ ผฝู้ าก

ขายเปน็ หนผ้ี ู้รับฝากขาย ยอดคงเหลือดงั กลา่ วจะแสดงภายใต้รายการสินทรพั ย์หมุนเวียน เงินค้างชําระจากผู้ฝากขาย

รูปแบบของการแสดงรายการเปน็ ดงั น้ี

กิจการ.........................

งบดลุ (บางส่วน)

ณ วนั ที.่ ..........................................

สนิ ทรัพย์

สินทรพั ย์หมุนเวียน

เงนิ สด XX

ลูกหนกี้ ารคา้ และต๋วั เงินรับ XX

เงินคา้ งชาระจากผู้ฝากขาย XX

45

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
ชอื่ วิชา : การบัญชีชัน้ สูง 1 รหสั วิชา 30201 – 2005 แผน่ ที่ 13/13 30
งาน : การบญั ชีการฝากขาย

(2) กรณีบัญชีรับฝากมียอดคงเหลือด้านเครดิต จะเกิดขึ้นเม่ือค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ท่ีผู้รับฝาก

ขายจ่ายไป และเงินท่ีจ่ายล่วงหน้าให้ผู้ฝากขายไปก่อนรวมถึงค่านายหน้าที่พึงจะได้รับตํ่ากว่าค่าขายสินค้า แสดงว่าผู้รับ

ฝากขายเป็นหนี้ผู้ฝากขาย ยอดคงเหลือดังกล่าวจะแสดง ภายใต้รายการหน้ีทรัพย์หมุนเวียน เงินค้างชําระแก่ผู้ฝากขาย

รปู แบบของการแสดงรายการ เปน็ ดงั นี้

กิจการ.........................

งบดลุ (บางสว่ น)

ณ วนั ท.ี่ ..........................................

หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ

หนี้สนิ หมุนเวียน

เจา้ หนี้ XX

เงินค้างชาระแก่ผูฝ้ ากขาย XX

11. ศัพทบ์ ัญชี

Advance From Consignees = เงินล่วงหน้าจากผรู้ บั ฝากขาย

Consignee = ผู้รับฝากขาย

Consignment – out = ฝากขาย

Consignor = ผฝู้ าขาย

Consignor’s Inventory = สนิ คา้ คงเหลอื ของผฝู้ ากขาย

Deleredere Agent = ผรู้ บั ฝากขายทรี่ บั ผดิ ชอบในการเก็บเงนิ จากลูกหนี้ และหนสี้ ญู

Deferred Consignment Expense = ค่าใช้จ่ายในการฝากขายรอตดั บัญชี

Deleredere Commission = คา่ นายหน้าฐานประกันรับ

Extra Compensation = คา่ ตอบแทนทีใ่ ห้พเิ ศษเพิ่มเติม

Gross Sale = การบันทึกบัญชีวิธีนํารายได้จากการขายสนิ คา้ กอ่ นหักค่าใชจ้ ่าย

Net Sale = การบันทึกบญั ชีวธิ นี ํารายได้จากการขายสินคา้ หลงั หกั ค่าใชจ้ ่าย

Return of Unsold Consigned Goods = การสง่ คนื สนิ คา้ ฝากขายทขี่ ายไม่ได้

46

สาขาวิชา : การบัญชี ใบทดสอบ หน้าท่ี
ช่ือวชิ า : การบัญชชี ัน้ สงู 1 รหสั วชิ า 30201 – 2005 แผ่นที่ 1/4 31
งาน : การบญั ชีการฝากขาย

คาช้ีแจง จงเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว (10 ขอ้ 10 คะแนน)
1. ขอ้ ใดหมายถงึ การฝากขาย

ก. การนําสนิ คา้ ไปฝากเกบ็ ไว้ที่โกดงั สนิ ค้า
ข. การนาํ สนิ ค้า
ค. การนําสนิ คา้ ไปฝากขายผูอ้ ่ืนขายโดยฝากเงนิ คา่ สนิ ค้าไวท้ ผ่ี ู้รับฝากขาย
ง. การนาํ สินคา้ ไปฝากธนาคาร
จ. การนาํ สนิ ค้าไปขายให้ผู้ซอื้
2. สิทธขิ องผู้รับฝากขายได้แก่อะไรบา้ ง
ก. สทิ ธิเรียกร้องคา่ ใชจ้ ่ายแทน
ข. สทิ ธใิ นการรับรองคุณภาพหรอื ประกนั สินค้าทตี่ นขายแทน
ค. สิทธใิ นการพิจารณาให้เครดติ หรือสิทธิในการขยายลกู หน้ี
ง. สิทธิในการรับคา่ ตอบแทน
จ. ถกู ทกุ ขอ้
3. ลักษณะสําคญั ประการหน่ึง ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ การฝากขายสินค้า คอื ขอ้ ใด
ก. ผู้ครอบครองสนิ คา้ ตอ้ งจ่ายคา่ สนิ คา้ ทันทีเมอ่ื ไดร้ ับสินค้า
ข. ผ้คู รอบครองสนิ ค้ามสี ิทธิจาํ หน่ายสนิ คา้ ท่คี รอบครองไว้อยา่ งไรก็ได้
ค. ผู้ครอบครองสนิ คา้ ไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธใ์ิ นสินคา้ น้ัน
ง. ผ้คู รอบครองสินค้า และเจ้าของสนิ ค้าเปน็ เจา้ ของกรรมสิทธ์ิในสินคา้ นั้น
จ. ผ้คู รอบครองสินค้าไมม่ ีสทิ ธิจําหนา่ ยสนิ คา้ ถ้าผฝู้ ากขายไมย่ ินยอม
4. หนา้ ท่ขี องผ้รู ับฝากขายไดแ้ ก่อะไรบา้ ง
ก. ดแู ลรกั ษาสินค้าของผูฝ้ ากขาย และแยกสนิ คา้ รบั ฝากขายออกจากสนิ คา้ ของตน
ข. พจิ ารณาการใหเ้ ครดติ แก่ลูกคา้
ค. ทาํ รายงานขาย
ง. สินค้าทีผ่ ู้รบั ฝากขายรับมาควรแยกต่างหากจากสนิ ค้าตนเอง
จ. ถกู ทกุ ขอ้
5. การฝากขายสินคา้ กรณีบนั ทกึ รายการเก่ยี วกับสนิ คา้ รับฝากขายแยกต่างหากจากการขายปกติ
ของกิจการเมื่อผู้รับฝากขาย ไดร้ ับสินค้าฝากขายจากผู้ฝากขายจะบันทึกบญั ชอี ยา่ งไร
ก. เดบติ บญั ชีสินค้าฝากขาย

เครดติ บญั ชรี บั ฝากขาย-ผ้ฝู ากขาย
ข. เดบิต บญั ชีรบั ฝากขาย-ผ้ฝู ากขาย

เครดติ บัญชสี นิ คา้ ฝากขาย