ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ppt

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดทาง รัฐประศาสนศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดทาง รัฐประศาสนศาสตร์

2 ยุคก่อน WW II ยุคหลัง WW II ถึง 1970 ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน

3 วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก
ค.ศ สมัยทฤษฎีดั้งเดิม ยุคคลาสสิค การบริหารแยกออกจากการเมือง / ระบบราชการ /วิทยาศาสตร์การจัดการ / หลักการบริหาร ยุคการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ การบริหาร คือ การเมือง / ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ / มนุษยสัมพันธ์ / ศาสตร์การบริหาร ค.ศ สมัยทฤษฎีท้าทาย หรือวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งแรก ค.ศ สมัยวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งที่ 2 ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ / รปศ.ในความหมายใหม่ ค.ศ ปัจจุบัน สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมัยใหม่ ยุคการบริหารสมัยใหม่ นโยบายสาธารณะ / ทางเลือกสาธารณะ / เศรษฐศาสตร์การเมืองความสัมพันธ์ระหว่างองค์การ / การออกแบบองค์การสมัยใหม่

4 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร
Woodrow Wilson - การบริหารแยกจากการเมืองเด็ดขาด - สามารถสร้างหลักการบริหารที่ดี ที่นำไปใช้กับทุกรัฐบาลได้ (one rule of good administration for all government alike) - ประเทศเจริญก้าวหน้า จะมีระบบราชการที่มีประสิทธิภาพและมีเหตุผล Frank Goodnow - หน้าที่ทางการเมืองแยกจากหน้าที่ทางการบริหารได้ - การเมืองไม่ควรเข้ามาแทรกแซงการบริหาร Leonard D. White

5 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจัดการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Management)
Frederick Taylor เสนอ “หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)” ประกอบไปด้วย - ค้นหาหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ได้ จากการทดลองหาวิธีที่ดีที่สุด (one best way) - การคัดเลือกคนทำงานตามกฎเกณฑ์วิทยาศาสตร์ - การพัฒนาคนทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ - ให้ความสำคัญต่อการสร้างความร่วมมือในการ ทำงาน (friendly cooperation) ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง

6 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดหลักการบริหาร
Gulick & Urwick - การประสานงานโดยกลไกการควบคุมภายใน - การจัดโครงสร้างภายในองค์การ - หน้าที่ของฝ่ายบริหาร : POSDCORB - การประสานงานของหน่วยงานย่อย - การประสานงานโดยการผูกมัดทางใจ Mary Parker Follet - การมองความขัดแย้งในแง่ดี - การออกคำสั่งอย่างมีศิลปะ - เรื่องขององค์กรเป็นความรับผิดชอบของทุกฝ่าย - หลักการประสานงาน Mooney & Reiley - หลักการประสานงาน - หลักลำดับขั้นการบังคับบัญชา - หลักการแบ่งงานตามหน้าที่ - หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Line & Staff

7 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการบริหารคือการเมือง
Avery Leiserson - การบริหารงานของภาครัฐอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ Paul Henson Appleby - การบริหารงานของรัฐ แท้จริงเป็นเรื่องของการเมือง - นักบริหารภาครัฐจะต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง - ให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาแข่งขันในการกำหนดนโยบายสาธารณะ (Administrative Pluralism) - นักบริหารภาครัฐจะต้องมีจรรยาบรรณ (Administrative Platonism) Norton E. Long - การบริหาร คือ การเมือง

8 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ
Robert Merton การยึดกฎระเบียบราชการ -- > ไร้ประสิทธิภาพ การยึดถือกฎระเบียบทําให้พฤติกรรมของข้าราชการขาดความยืดหยุ่น การที่ระบบราชการพยายามเน้นให้ข้าราชการอยู่ในกรอบของกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ทําให้ข้าราชการเผลอหรือจงใจยึดถือกฎระเบียบว่าเป็นเป้าหมายขององค์การ การทํางานราชการกลับไปให้ความสําคัญต่อกฎระเบียบที่เป็นทางการ แทนที่จะให้ความสําคัญต่อการให้บริการที่ดีต่อลูกค้าที่มารับบริการ ผลคือ ระบบราชการทั้งหมดเสื่อมลงไร้ประสิทธิภาพ Alvin N. Gouldner บทบาทขององค์การไม่เป็นทางการ - ศึกษากระบวนการทําให้เป็นระบบราชการ(bureaucratization)ในโรงงานผลิตยิปซัม - ความสัมพันธ์ส่วนตัวและรูปแบบองค์การแบบไม่เป็นทางการที่ปรากฏซ่อนอยู่ในโครงสร้างทางการนั้นมีความสําคัญมากในการที่เราจะเข้าใจเรื่องกลไกการทํางานขององค์การต่าง ๆ ในทางปฏิบัติ Robert Michels ผู้นำมีแนวโน้มที่จะสร้างกลไกที่จะรักษาอํานาจและความยิ่งใหญ่ของตน - องค์การหันเป็นทิศทางที่บ่ายเบี่ยงจากเป้าหมายเดิมขององค์การ(goal displacement)กระบวนการที่เป้าหมายขององค์การบ่ายเบี่ยงไปจากการสถาปนาระบบประชาธิปไตยในตอนแรกไปสู่ระบบการปกครองแบบเผด็จการในตอนหลังนี้ Michels เรียกว่า " Iron Law of the Oligarchy" Phillip Selznick grass-roots democracy + Cooptation บริหารแบบประชาธิปไตยชาวบ้าน (grass-roots democracy) คือ เน้นให้คนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารงานหน่วยงานของรัฐ + "สร้างศัตรูให้เป็นมิตร" (Cooptation) คือ การดึงเอาฝ่ายต่อต้านการเปลี่ยนแปลงหรือกลุ่มอนุรักษ์นิยมเข้ามาเป็นผู้นําเสียเองในการควบคุมการทํางานของหน่วยงานเป็นวิธีที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาได้

9 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดศาสตร์การบริหาร
The Functions of the Executives(1938) - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร(Executives) ในฐานะผู้นําองค์การที่จะสร้างระบบความร่วมมือที่ดี - ฝ่ายบริหารจะต้องตัองตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายในกรอบศีลธรรม Chester I. Barnard - ต้องการพัฒนาและวางรากฐานของทฤษฎีทาง รปศ. โดยเริ่มต้นจากแนวความคิด การตัดสินใจ มีความคิดสอดคล้องกับ Chester I. Barnard เช่น มนุษย์ที่มีชีวิตจิตใจไม่ใช่หุ่นยนต์ ไม่ใช้คนเศรษฐกิจเท่านั้น ความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง - เสนอแนวทางพัฒนาทฤษฎีการบริหาร เช่น แนวคิดเรื่องการตัดสินใจของผู้บริหาร นำมาซึ่งประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ข้อจำกัดต่าง ๆในการตัดสินใจ สนับสนุนหาเครื่องมือ หรือ ตัววัด ความสำเร็จขององค์การ - เห็นว่าแนวคิดหลักการบริหาร มีความขัดแย้งกัน หลักการตัดสินใจแบบมีเหตุผล - หัวใจสำคัญที่สุดของการบริหาร คือ การตัดสินใจ - นักบริหารบางครั้งไม่สามารถตัดสินใจอยู่บนความมีเหตุผลสูงสุด (maximize) ได้ แต่จะต้องตัดสินใจอยู่บนข้อจำกัด ทำให้การตัดสินใจจะต้องอยู่บนเกณฑ์ความพอใจ (satisficing) Herbert A. Simon

10 - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม Elton Mayo ได้จากการศึกษาที่เรียกว่า Hawthorne Study ซึ่งมีข้อสรุปของการศึกษา ดังนี้ - ปัจจัยทางสังคม - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม - ผู้นำกลุ่มอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ

11 นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจูงใจและความพอใจในงาน
Abraham A. Maslow Hierarchy of Needs Theory การยึดถือกฎระเบียบทําให้พฤติกรรมของข้าราชการขาดความยืดหยุ่น การที่ระบบราชการพยายามเน้นให้ข้าราชการอยู่ในกรอบของกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ทําให้ข้าราชการเผลอหรือจงใจยึดถือกฎระเบียบว่าเป็นเป้าหมายขององค์การ การทํางานราชการกลับไปให้ความสําคัญต่อกฎระเบียบที่เป็นทางการ แทนที่จะให้ความสําคัญต่อการให้บริการที่ดีต่อลูกค้าที่มารับบริการ ผลคือ ระบบราชการทั้งหมดเสื่อมลงไร้ประสิทธิภาพ Frederick Herzberg Motivator-Hygiene Theory - ศึกษากระบวนการทําให้เป็นระบบราชการ(bureaucratization)ในโรงงานผลิตยิปซัม - ความสัมพันธ์ส่วนตัวและรูปแบบองค์การแบบไม่เป็นทางการที่ปรากฏซ่อนอยู่ในโครงสร้างทางการนั้นมีความสําคัญมากในการที่เราจะเข้าใจเรื่องกลไกการทํางานขององค์การต่าง ๆ ในทางปฏิบัติ Douglas McGregor Theory X and Theory Y - องค์การหันเป็นทิศทางที่บ่ายเบี่ยงจากเป้าหมายเดิมขององค์การ(goal displacement)กระบวนการที่เป้าหมายขององค์การบ่ายเบี่ยงไปจากการสถาปนาระบบประชาธิปไตยในตอนแรกไปสู่ระบบการปกครองแบบเผด็จการในตอนหลังนี้ Michels เรียกว่า " Iron Law of the Oligarchy" Chris Argyris โครงสร้างองค์กรแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาของคน เสนอให้มีการส่งเสริมประชาธิปไตยในองค์กร

12 John Rehfuss Allen Schick
นักคิด / นักวิชาการที่สนับสนุน รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ การประชุมที่ Minnowbrook - Dwight Waldo: PA in Time of Turbulence - Frank Marini: Toward a New PA ความเชื่อ 3 ประการ 1) การบริหารภาครัฐจำเป็นต้องยึดถือหลักความยุติธรรมในสังคม (social equity) 2) องค์การจะต้องให้ความสำคัญต่อประชาชน และจะต้องให้ประชาชนประเมินผลองค์การด้วย 3) นักบริหารยุคใหม่จะต้องเป็น Proactive Administrator John Rehfuss หลัก 4 ประการของรัฐประศาสนศาสตร์ 1) จะต้องศึกษาปัญหาในโลกความเป็นจริง 2) จะต้องใช้ค่านิยมช่วยเหลือผู้เสียเปรียบในสังคม 3) จะต้องสนับสนุนความยุติธรรมทางสังคมให้เกิดขึ้น 4) จะต้องสนับสนุนให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อป้องกันมิให้กลุ่มใดผูกขาดอำนาจ Allen Schick

13 นักคิด / นักวิชาการที่ทำการศึกษา แนวคิดนโยบายสาธารณะ
ตัวแบบผู้นำ (Elite Model) ตัวแบบกลุ่ม (Group Model) ตัวแบบสถาบัน (Institutional Model) ตัวแบบระบบ (System Model) ตัวแบบกระบวนการ (Process Model) – กำหนดปัญหา เสนอแนะทางเลือกนโยบาย เลือกนโยบาย นำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินผลนโยบาย ตัวแบบเหตุผล (Rational Model) ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Model) ตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ Thomas R Dye 1) Van Meter & Van Horn ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วย มาตรฐาน ทรัพยากร การสื่อสาร การบังคับใช้ สมรรถนะของหน่วยงาน การเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความจริงจังของผู้ปฏิบัติ 2) Nakamura & Smallwood เห็นว่าในแต่ละขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ จะประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อม เวทีการแสดงออก และผู้แสดง ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ

14 นักคิด / นักวิชาการที่ทำการศึกษา แนวคิดทางเลือกสาธารณะ(Public Choice)
Vincent Ostrom - ทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย (Democratic Administration) - การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองมาใช้ - การนำเอาปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย - ใช้ทฤษฎี Positive Constitutional Law ที่ให้รัฐธรรมนูญกำหนดขอบเขตและอำนาจการปกครองของผู้ปกครองประเทศ

15 นักคิด / นักวิชาการที่ศึกษา ทฤษฎีระบบ
Simon & March - องค์กรเป็นที่รวมของระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนออกไปสู่สภาพแวดล้อม - ระบบปิด ระบบเปิด Katz and Kahn - เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกำหนดโครงสร้างองค์การ James D. Thompson

16 นักคิด / นักวิชาการที่ศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ
Ferrel Heady - การวิเคราะห์ระบบราชการภายใต้การปกครอง Fred W Riggs - รูปแบบ Prismatic-Sala Weberian Model - ศึกษาระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber ศึกษาการทำหน้าที่ของระบบราชการ 3 ประการ คือ หน้าที่รักษาและปรับระบบ หน้าที่ออกกฎระเบียบ แสวงหาทรัพยากรและจัดสรร ทรัพยากร และหน้าที่ในการแปรปัจจัยนำเข้าให้ออกมาเป็นปัจจัยนำออก Almond Powell Model การบริหารการพัฒนา (Development Administration)