Internal audit โดยท ม จร.9 เสม อนการตรวจจร ง

๕. การคำนวณ เปน็ เครอื่ งพิสูจนค์ วามถกู ตอ้ งของตัวเลข ซึ่งถือเปน็ หลกั ฐานทเี่ ชอ่ื ถือได้มากทีส่ ุด ควร

มีการทดสอบตัวเลขทุกครั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าถูกต้อง มีข้อจำกัดพิสูจน์ได้เฉพาะผลลัพธ์ แต่ไม่สามารถพิสูจน์ที่มี ของตวั เลข

๖. การตรวจสอบการผ่านรายการ (Posting) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของการ ผ่านรายการจากสมุดบันทึกขั้นต้นไปยังสมุดบันทึกรายการข้ันปลาย ข้อจำกัดการผ่านรายการครบถ้วนไม่ได้ พิสจู น์ความถูกตอ้ งของรายการ

๗. การตรวจสอบบัญชีย่อยและทะเบยี น เปน็ การตรวจว่ายอดคงเหลือในบัญชีย่อยสัมพนั ธก์ ับบัญชีคุม หรือไม่ ข้อจำกดั พสิ ูจน์ได้/แต่เพียงความถกู ต้อง ควรใช้รว่ มกบั เทคนิคการตรวจสอบอน่ื

คมู่ ือการปฏิบัติงาน : การตรวจสอบภายใน

หนา้ | 11

๘. การตรวจทานรายการผดิ ปกติ เป็นการตรวจจากรายการทผ่ี ิดปกติ อาจพบข้อผิดพลาดท่สี ำคัญท้ังนี้ ต้องอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์ของผู้ตรวจสอบ ข้อจำกัดรายการผิดปกติมิใช่หลักฐานแต่ เป็นเคร่อื งชใ้ี หท้ ราบถงึ ความจำเปน็ ต้องใชเ้ ทคนิคอืน่ มาประกอบ

๙. การตรวจสอบความสมั พันธ์ของข้อมูล เปน็ การตรวจสอบรายการทีเ่ กย่ี วข้องสัมพนั ธก์ นั ผู้ตรวจสอบ จงึ ควรตรวจสอบรายการท่มี ีความสมั พนั ธก์ ันควบคูก่ นั

๑๐. การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบ เปน็ การศกึ ษาและเปรียบเทยี บความสัมพนั ธแ์ ละความเปลี่ยนแปลง ของข้อมูลต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามท่คี าดหมาย การวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบระหว่างขอ้ มูลปีปัจจบุ ันและขอ้ มูลปีก่อน หรอื เปรียบเทียบข้อมูลปัจจุบันกบั ข้อมลู ประมาณการ

๑๑. การสอบถาม อาจทำเป็นลายลักษณ์อักษรหรือด้วยวาจา โดยใช้แบบสอบถาม โดยใหต้ อบว่าใช่ หรือไม่ใช่ การสอบถามด้วยวาจาต้องอาศัยศิลปะอย่างมากในการท่ีจะสอบถามให้ได้ข้อเท็จจริง ข้อจำกัด คำตอบเปน็ เพยี งหลักฐานประกอบการตรวจสอบ จะตอ้ งใชเ้ ทคนคิ อื่นประกอบ

๑๒. การสังเกตการณ์ เป็นการสังเกตให้เห็นด้วยตาในส่ิงท่ีต้องการทราบอย่างระมัดระวังใช้ วิจารณญาณพิจารณาส่ิงท่ีเหน็ และบนั ทกึ เหตุการณ์ต่าง ๆ ไว้ ถ้าจะให้ความเห็นเกีย่ วกับการตรวจสอบนัน้ เป็น สว่ นรวมจะต้องหาหลกั ฐานอน่ื มายนื ยัน เพอื่ ให้หนว่ ยรบั ตรวจยอมรบั และแก้ไขตามขอ้ สงั เกตของผ้ตู รวจสอบ

๑๓. การตรวจทาน (Verification) เป็นการยืนยันความจริง ความถูกต้อง ความแม่นยำความ สมเหตุสมผล หรือความเชอื่ ถอื ได้ โดยการหาหลักฐานยนื ยนั กบั ข้อเท็จจรงิ ทป่ี รากฏอยู่

๑๔. การสืบสวน เป็นเทคนิคที่ผตู้ รวจสอบไมส่ ามารถคน้ หาขอ้ เท็จจรงิ ซึง่ คาดว่าจะมีอยหู่ รอื ควรจะ เป็นผู้ตรวจสอบจะต้องค้นหาข้อเท็จจริงเร่ิมจากผลไปหาเหตุทีละข้ันตอน สามารถอนุมานหรือให้ความเห็น เพิม่ เติมลงไปในสว่ นท่ีขาดได้

๑๕. การประเมินผล เป็นการเปรียบเทียบมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ท่ีกำหนดไวก้ ับผลงานท่ีปฏิบัติจริง ว่าเกิดผลต่างหรือไม่ หาสาเหตุเกิดจากวิธีการปฏิบัติงานหรือจากสาเหตุอ่ืน เม่ือทราบสาเหตุต้องวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุสุดวิสัยหรือไม่เพ่ือเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงแก้ไขผู้ตร วจสอบต้องตัดสินใจว่าข้อมูลท่ีน ำมาใช้ เพียงพอหรือไม่ ควรเพิ่มหรือลดประมาณการตรวจสอบเพียงใด เพ่ือนำมาใช้วิเคราะห์ประเมินผลได้ ทั้งนี้ควร ประเมนิ ความเส่ียงท่ีจะเกดิ ขนึ้ จากการเพิม่ หรือลดปรมิ าณการทดสอบรายการเมื่อเทียบกบั ผลท่ไี ด้รบั

คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หน้า | 12

บทที่ ๔

การตรวจสอบภายในขององค์การบริหารส่วนตำบลละแม

องค์การบริหารส่วนตำบลละแม เป็นหน่วยงานบริหารส่วนท้องถิ่น มีภารกิจท่ีเก่ียวกับการ บริการสาธารณะบริการดา้ นการศึกษา และพัฒนาในตำบลละแม อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี แบ่งส่วน ราชการ ดงั น้ี

๑. สำนักปลัดอบต. ๒. กองคลัง ๓. กองชา่ ง 4. หนว่ ยตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายใน มีหน่วยตรวจสอบภายในทำหน้าที่ในการตรวจสอบการดำเนินการภายในส่วน ราชการและสนับสนุนการปฏิบตั ิงานขององค์การบริหารส่วนตำบลละแมรับผดิ ชอบงานขึ้นตรงต่อปลัดองคก์ าร บริหารส่วนตำบลละแมโดยมีอำนาจหน้าท่ีดำเนินการเก่ียวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงนิ และบัญชี ขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลละแม ปฏบิ ัติงานร่วมกันหรือสนบั สนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอน่ื ที่เกี่ยวข้องหรือไดร้ บั มอบหมาย ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ๓ ขน้ั ตอน ๑. การวางแผนการตรวจสอบ ๒. การปฏิบัตงิ านตรวจสอบ ๓. การจดั ทำรายงานและติดตามผล ๑. การวางแผนการตรวจสอบ ในการวางแผนการตรวจสอบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผ้ตู รวจสอบภายในดำเนินการ ดังน้ี -สำรวจขอ้ มูลเบอ้ื งต้น เรียนรู้และทำความเข้าใจ ความคุน้ เคยในงานของหนว่ ยรบั ตรวจอย่าง ละเอยี ด -ประเมนิ ระบบการควบคมุ ภายใน -ประเมนิ ความเส่ยี งโดยระบปุ ัจจัยเสย่ี ง วิเคราะห์ความเสี่ยงสรุปในภาพรวมของส่วนราชการ การจัดลำดบั ความเสี่ยงนำมาจัดเรียงคะแนนจากมากสดุ ไปหาน้อยสดุ -วางแผนการตรวจสอบ เป็นการวางแผนการตรวจสอบระยะยาว 4 ปี นำลำดบั ความเสี่ยงมาพิจารณา จัดช่วงความเสี่ยง กำหนดการเข้าตรวจในปีปัจจุบันหรือปีถัดไป ท่ีจะทำการตรวจสอบและกำหนดแผนการ ตรวจสอบประจำปี กำหนดวตั ถุประสงค์ ขอบเขตผู้รับผิดชอบ กำหนดงบประมาณในการปฏบิ ัติงานตลอดทัง้ ปี เม่ือดำเนินการประเมินความเสี่ยง นำมาจัดทำแผนการตรวจสอบระยะยาว และแผนการตรวจสอบประจำปี เสร็จนำเสนอนายองค์การบริหารส่วนตำบลละแม เพื่อขออนุมัติแผนการตรวจสอบภายในเดือนกันยายนของ ทุกปี

คมู่ ือการปฏิบตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หนา้ | 13

แผนการตรวจสอบประจำปีท่ีได้รับอนุมัติ มาทำการประชุมทำความเข้าใจและมอบหมายให้ งานตรวจสอบภายในรับไปปฏิบัติการ ตระเตรียมความพร้อมในการตรวจสอบเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญของ การวางแผนการตรวจสอบ ดังน้ัน หัวหน้าตรวจสอบจึงควรมีการตระเตรียมพร้อมจัดทำแผนการปฏิบัติในการ ตรวจสอบทกุ หน่วยงานรับตรวจโดย

-กำหนดวัตถปุ ระสงค์และขอบเขตการตรวจสอบ -มีการวางแผนท่ีเหมาะสม ทำความเข้าใจถึงโครงสร้างการจัดองค์กร วิธปี ฏิบัติงานของหน่วยรบั ตรวจ กำหนดข้ันตอนและวิธีปฏิบัติงานตรวจสอบในแต่ละเร่ืองให้ชัดเจนและเพียงพอ ระบุวิธีคัดเลือกข้อมูลการ วเิ คราะหก์ ารประเมินผล กำหนดเทคนคิ ใช้ในการตรวจสอบ - กำหนดผู้รับผดิ ชอบในการตรวจสอบเรื่องใด ระยะเวลาการตรวจสอบ ตรวจสอบเม่ือใด - สรุปผลการตรวจสอบเฉพาะประเด็นท่ีตรวจสอบ พร้อมระบุรหัสกระดาษทำการท่ีใช้อ้างอิง โดยลง ลายมือชื่อผู้ทำการตรวจสอบแผนการปฏิบัติของแต่ละหน่วยรับตรวจ ต่อหัวหน้าตรวจสอบภายในก่อน ดำเนินการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ ๒. การปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ก่อนเร่ิมปฏิบัติงานตรวจสอบ มขี ั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ดังนี้

๑) การแจ้งผู้รับตรวจ หัวหน้าตรวจสอบภายในติดต่อผู้บริหารของหน่วยรับตรวจให้ทราบถึง วตั ถุประสงค์ ขอบเขตและกำหนดวนั และเวลาท่ใี ชต้ รวจ

๒) คดั เลือกทีมงานทจ่ี ะทำการตรวจสอบ ๓) บรรยายสรุป เรื่อง วัตถปุ ระสงค์ และระยะเวลาในการตรวจสอบ ๔) จัดประชุมเปิดและปิดงานตรวจสอบ กำกับดูแล การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน ระหว่างตรวจสอบ โดยต้องตระเตรียมสอบทานรายงานการปฏิบัติงานในการตรวจสอบงวดก่อนของการ ตรวจสอบศึกษาแผนงานโครงการของหน่วยรับตรวจ รวมท้ังรายละเอียดข้อมูลอ้างอิงที่จำเป็นต้องใช้ในการ ตรวจสอบระหวา่ งปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ - หวั หน้างานตรวจสอบ มอบหมายงานใหผ้ ูต้ รวจสอบ - คดั เลือกวธิ ีและเทคนิคในการตรวจสอบ - กำกับดแู ลการปฏบิ ัติงานให้เป็นไปตามแผนการปฏบิ ัตงิ านและตารางการปฏบิ ตั งิ านท่ีกำหนดไว้ - นำแผนการปฏิบัติงานมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การแก้ไขแผนการปฏิบัติงาน หัวหน้า ตรวจสอบต้องประเมินความสมเหตสุ มผล - ถา้ มีการเปล่ยี นแปลงของเขตการปฏิบัตงิ านให้ขออนุมัตหิ ัวหนา้ ตรวจสอบภายใน - ประชุมปดิ งานตรวจสอบสรุปผลการตรวจสอบและเปล่ียนความคดิ เห็นต่อหนว่ ยรบั ตรวจ หลังจากการปฏิบัติงานการตรวจสอบ หัวหน้าตรวจสอบควรต้องทำการบันทึกสภาพแวดล้อมวิธีการ ปฏิบัติงานและความเส่ียง การควบคุมภายในของการปฏิบัติในหน่วยรับตรวจเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการวาง แผนการตรวจสอบในปีถัดไปท่ีกลมุ่ ตรวจสอบภายในกำหนดไวเ้ ป็นกระดาษทำการ

คู่มือการปฏิบัติงาน : การตรวจสอบภายใน

หนา้ | 14

๓. การจัดทำรายงานและติดตามผล หลังจากเสร็จสิน้ การตรวจสอบ หัวหน้าตรวจสอบ รวบรวมหลกั ฐานการตรวจสอบทีไ่ ดจ้ ากการปฏิบัติงาน รวมท้ังกระดาษทำการขอ้ สรปุ มาจดั เกบ็ เปน็ หมวดหมู่ เพือ่ สะดวกในการสรปุ และเตรยี มประกอบรายงานผลการปฏิบัติงาน

ขนั้ ตอนการจัดทำรายงานผลการปฏบิ ัติงาน

๑) การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน ในกรณีที่ต้องทำการรายงานเร่งด่วนให้ทันเหตุการณ์ ให้รายงานด้วยวาจาต่อหัวหน้าตรวจสอบภายในรับทราบก่อนพิจารณาเสนอให้ผู้บริหารทราบทันทีที่ตรวจพบ เพราะหากปล่อยให้ล่าช้าอาจจะมคี วามเสียหายมากขึ้น หรอื การรายงานเป็นวาจาพร้อมเสนอรายงานเป็นลาย ลักษณ์อักษรและกรณีปกติรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรเสนอหัวหน้าตรวจสอบภายในตรวจทานและสรุปผล กอ่ นนำเสนอรายงานการปฏบิ ตั งิ านตอ่ ผูบ้ ริหาร

๒) การติดตามผล ขัน้ ตอนการติดตามผล

- เมอ่ื ผตู้ รวจสอบภายในเสนอรายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อผบู้ ริหารระดบั สงู แลว้ ตอ้ งติดตาม ผลวา่ ผู้บริหารไดส้ ง่ั การหรอื ไมป่ ระการใด

- ติดตามผลทีห่ น่วยรบั ตรวจจะรายงานการแก้ไขการปฏิบัติงานตามข้อเสนอแนะการ ปฏบิ ตั ิงาน

- ติดตามผลโดยกำหนดในแผนการตรวจสอบปถี ดั ไป ซงึ่ จะตรวจทานพร้อมกบั การตรวจสอบ

ในปถี ดั ไป

คู่มือการปฏิบตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หน้า | 15

บทสรปุ

คู่มือการตรวจสอบภายในนี้ มีเป้าหมายสำคัญหมายสำคัญเพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายใน มีความเข้าใจหลักการตรวจสอบและแนวทางในการ ปฏิบัติงานตรวจสอบเพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามหลกั การด้วยความมั่นใจและมีคุณภาพ ช่วยเพิ่มมูลคา่ แก่ องค์กรผู้บริหารใช้ข้อมูลในการบริหารงาน เพื่อให้ก่อเกิดกระบวนการบริหารบ้านเมืองที่ดี ผลของการ ดำเนินงานขององคก์ รบรรลคุ วามวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล การใช้ทรัพยากร อย่างประหยดั และคุ้มคา่

กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในประกอบด้วยขั้นตอนหลายข้ันตอน ซ่ึงผู้ตรวจสอบ ภายในสามารถเลือกใช้เทคนิคการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของหน่วยรับตรวจ เพ่ือให้การ ตรวจสอบเป็นไปตามวัตถุประสงค์และแผนการตรวจสอบท่ีกำหนด สามารถรวบรวมหลักฐานอย่างเพียง พอที่จะสนับสนุนข้อตรวจพบใช้ประกอบการวิเคราะห์และประเมินผลเพ่ือรายงานผลปฏิบัติงาน รวมถึงการ ข้ันตอนการวางแผนการตรวจสอบชว่ ยให้การวางแผนคลอบคลุมหน่วยรับตรวจและกำหนดแผนปฏบิ ัติงานการ สอบการใช้ความรู้ความเข้าใจในวิธีการตรวจสอบแบบต่าง ๆ อย่างดีและมีเทคนิคการนำเสนอ การเขียน รายงาน การรายงานผล การปฏบิ ัติงานทงั้ การรายงานดว้ ยวาจาหรอื ลายลกั ษณ์อักษร เทคนิคการนำเสนอ การ เขียนรายงาน การรว่ มงานเป็นทีมในการตรวจสอบเพ่ือแก้ไขปัญหาตรงประเด็นและสามารถเสนอแนะเพ่ือเป็น ข้อมลู ให้ผู้บริหารประกอบการตดั สินใจเพอื่ ทำการแกไ้ ขปรับปรงุ

ปัจจัยสำคัญของความสำเร็จและประสิทธิผลของผู้ตรวจสอบภายใน วัดจากการยอมรับ ขอ้ เสนอแนะในรายงานผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงอาศยั ความร้คู วามสามารถ การนำเทคนิค การตรวจสอบประกอบ กับทักษะของผู้ตรวจสอบภายใน การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ การรวบรวมข้อมูล หลักฐาน ขอ้ เท็จจริง การนำเสนอ อย่างถูกต้องเที่ยงธรรมเป็นอิสระ อนั จะก่อให้เกดิ มลู ค่าเพิม่ แก่องคก์ รได้อยา่ งแท้จริง

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หน้า | 16

บรรณานกุ รม

ระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินวา่ ด้วยการปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องผตู้ รวจสอบภายใน พ.ศ.๒๕๔๖ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการปฏิบตั หิ นา้ ทข่ี องผูต้ รวจสอบภายในองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๕ ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการตรวจสอบภายใน พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน และจรยิ ธรรมของผตู้ รวจสอบภายในของสว่ นราชการ กรมบญั ชกี ลาง หนงั สอื คูม่ ือการตรวจสอบภายในสำหรับสว่ นราชการ กระดาษทำการ กรมบัญชกี ลาง หนงั สอื แนวทางปฏิบัติประเมินความเสีย่ งเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ กรมบัญชกี ลาง หนังสือแนวทางปฏบิ ัติการวางแผนการตรวจสอบและแผนการปฏิบัติงาน กรมบัญชกี ลาง หนังสือแนวทางปฏิบัติการประเมินความเส่ยี งเพ่ือการวางแผนการตรวจสอบ กรมบญั ชีกลาง หนงั สือคู่มือการตรวจสอบบญั ชี Financial Audit Manual for Internal Auditors เจรญิ เจษฎาวัลย์ หนังสือแนวทางการตรวจสอบภายใน สมาคมผตู้ รวจสอบภายในแหง่ ประเทศไทย

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หนา้ | 17

ภาคผนวก

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน : การตรวจสอบภายใน

หนา้ | 18

ภาคผนวก ๑

หนว่ ยตรวจสอบภายใน องค์การบรหิ ารส่วนตำบลละแม

แผนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ เรอ่ื ง ................................................................................................................... ..........................................................