ตัวอย่าง โครงการ เกี่ยว กับ โภชนาการ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียน (โรงเรียนบ้านบ่อทอง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียน (โรงเรียนบ้านบ่อทอง)


บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียน (โรงเรียนบ้านบ่อทอง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ความเป็นมา/หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ กิจกรรม/การดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ได้ การประเมินผล ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ เอกสารประกอบอื่นๆ


ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการอย่างครบถ้วน
  3. นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผัก
  2. นำลูกปลาดุกลงบ่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้ นักเรียนชั้น ป.1-6 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ


วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการผลผลิต*ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรีมแปลงปลูกผัก

วันที่ 20 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการเตรียมแปลงปลูกผัก ประเภทจอบ 10 ด้าม ,ช้อนปลูก 20 อัน,ส้อมพรวนดิน 20 อัน ,ดินปลูก 50 กระสอบ ,ปุยคอก 19 กระสอบ
  2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ช่วยกันเตรียมแปลงปลูกผัก จำนวน 6 แปลง เพื่อใช้ปลูกผักกินใบ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้แปลงผักจำนวน 6 แปลง พร้อมที่จะปลูกผัก

2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำแปลงปลูกผัก

3.นักเรียนมีความรู้การทำแปลงเกษตร

107 0

2. เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 21 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อทองชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1 บ่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้บ่อเลี้ยงปลาดุกจำนวน 1 บ่อ

2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรีมบ่อเลี้ยงปลา

51 0

3. ปลูกผัก

วันที่ 24 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเตรียมพันธุ์ผักกิบไบ เช่น ผักบุ้ง , ผักคะน้า , ผักกาด , หว่านลงแปลง ส่วนผักสวนครัวประเภท พริก , มะเขือ ได้จัดซื้อต้นอ่อนมาปลูกในแปลง 2.นักเรียนช่วยกันปลูกผักลงแปลงที่เตรีมไว้ 6 แปลง

3.นักเรียนมีการแบ่งเวรกันดูแลรับผิดชอบ แปลงผักที่ปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแปลงผัก จำนวน 6 แปลง ที่นักเรียนร่วมกันปลูก

2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการปลูกผักหลากหลายชนิด ทั้งประเภทผักกินใบ และผักสวนครัว

107 0

4. นำลูกปลาดุกลงบ่อ

วันที่ 27 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อทองชั้นประถมศีกษาปีที่ 4 - 6 จำนวน 51 คน ช่วยกันนำปลาดุกลงบ่อ จำนวน 800 ตัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีการนำลูกพันธ์ปลาดุก จำนวน 800 ปล่อยลงบ่อ จำนวน 1บ่อ

2นักเรียนมีส่วนร่วมในการปล่อยพันธู์ปลาดุก

3.นักเรียนมีการแบ่งเวร หน้าที่ในการรับผิดชอบการเลี้ยงปลาดุก

51 0

5. เก็บเกี่ยวผลผลิต

วันที่ 28 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อทองชั้นประถมศีกษาปีที่ 1 - 6 จำนวน 107 คน ช่วยกันเก็บจากแปลง เพื่อส่งให้กับโรงครัวของโรงเรียน

2.แม่ครัวมีการนำผลผลิตมาประกอบเป็นเมนูผัก ให้กับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้ผักที่ปลอดสารพิษสำหรับนำมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

107 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม: บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ :

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย 1 เพื่อลดเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ตัวชี้วัด : อัตราเด็กที่มีโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ลดลง 2.002.00

1.การคัดกรองสุขภาพ 2.สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการอย่างครบถ้วน ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการอย่างครบถ้วน 100.00100.00

1.การคัดกรองสุขภาพ 2.สมุดบันทึกสุขภาพ

3 นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการอย่างครบถ้วน 20.00100.00

-

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) นักเรียนชั้น ป.1-6 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการอย่างครบถ้วน (3) นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า

ด้านอาหารและโภชนาการ มีอะไรบ้าง

อาหารหลัก 5 หมู่มีอะไรบ้าง ที่ควรทานในแต่ละวัน.

อาหารหลักหมู่ที่ 1 โปรตีน ( เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว ).

อาหารหลักหมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต ( ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน ).

อาหารหลักหมู่ที่ 3 เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ( พืชผัก ).

อาหารหลักหมู่ที่ 4 วิตามิน ( ผลไม้ ).

อาหารหลักหมู่ที่ 5 ไขมัน ( ไขมันจากพืชและสัตว์ ).

โภชนาการ คือ อะไร และมีประโยชน์ อย่างไร

โภชนาการ (nutrition) หมายถึงอาหาร (food) ที่เข้าสู่ร่างกายคนแล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโตการค้ำจุนและการซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโภชนาการมีความหมายกว้างกว่าและต่างจากคำว่าอาหารเพราะอาหารที่กินกันอยู่ทุกวันนี้มีดีเลวต่างกันอาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่มแต่ไม่มีประโยชน์หรือก่อโทษต่อ ...

โภชนาการมีความสำคัญต่อร่างกายอย่างไรบ้าง

3. หลักสำคัญของโภชนาการ หลักสำคัญของโภชนาการ คือ การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้ปริมาณและคุณค่าอาหารอย่างเพียงพอ สารอาหารต่าง ๆ และพลังงานที่ได้รับควรจะสมดุลกันไม่มากหรือน้อยจนเกินไป โภชนาการที่ดี ไม่เป็นโรคขาดสารอาหารหรือเป็นโรคได้รับสารอาหารเกิน ๆ เพื่อที่ร่างกายมีภาวะ

โภชนาการที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร

โภชนาการการที่ดี คือการรับประทานอาหารให้ได้ครบทั้ง 5หมู่ ได้แก่โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินและเกลือแร่ ที่มีอยู่ในอาหารทั่วไป จำพวกเนื้อสัตว์ นม ไข่ ผัก และผลไม้รวมถึง ธัญพืช ที่อุดมไปด้วยสารอาหารต่าง ๆ มากมาย และในปัจจุบันนิยมนำมาบริโภคเป็นอาหาร และเครื่องดื่มสำเร็จรูปในแบบต่างๆ พร้อมมีวางจำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป ...