ข อด ของการใช สารทำความสะอาดท ไม ม ฟองในการล างอ ปกรณ ทางการแพทย

(Oxidizing Substance) 5.1 สารออกซไิ ดส์ คุณสมบัติของสารเองไม่ตดิ ไฟ แตจ่ ะให้ออกซเิ จนช่วยให้วตั ถอุ ืน่ เกิด

การลุกไหม้และเมือ่ สารออกซิไดส์สมั ผัสกบั วัตถุทลี่ ุกไหมจ้ ะทำใหเ้ กดิ การระเบดิ ท่รี ุนแรง

ตัวอยา่ งเช่น แคลเชยี มไฮโปคลอไรท์ โซเดยี มเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เปน็ ต้น

5.2 สารอินทรียเ์ ปอร์ออกไชด์ คณุ สมบัติ โครงสร้างของสารจะประกอบด้วยออกซเิ จน

สองอะตอมซึง่ จะช่วยในการเผาไหมส้ ารอนื่ ๆ และเมื่อภาชนะทบี่ รรจสุ ารนไ้ี ดร้ ับความ

ร้อนอาจทำให้ภาชนะท่ีบรรุจสารน้ีระเบิดได้

ประเภทที่ 6 คณุ สมบตั ิ วัตถเุ คมที ่ีอาจทำใหเ้ สียชวี ิตหรอื บาดเจ็บอย่างรุนแรงจากการกิน สดู ดม สารพิษและสารตดิ เชอื้ หรือสัมผัสทางผวิ หนงั แบ่งได้ 2 ชนิด ดงั นี้ (Toxic and Infectious 6.1 สารพษิ หมายถึง วตั ถุเคมีท่ีเปน็ อันตรายต่อสุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือ Substances) หายใจรบั สารนี้เขา้ ไปและเมื่อสารนเ้ี กดิ ลกุ ไหมจ้ ะปล่อยก๊าซพษิ ตวั อย่างเชน่ โซเดียม ไซยาไนด์ กลุม่ สารกำจัดแมลงศตั รูพืชและสัตว์ เป็นต้น 6.2 สารติดเชือ้ หมายถึง สารที่มเี ชื้อโรคปนเป้ือนและก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตัวอยา่ งเช่น แบคทเี รียเพาะเชือ้ เป็นตน้

10

ประเภทท่ี 7 คุณสมบตั ิ วตั ถเุ คมีที่สามารถแผ่รงั สีท่เี ป็นอนั ตรายต่อรา่ งโดยมคี วามเข้มข้นมากกวา่ วสั ดกุ มั มนั ตรังสี 0.002 ไมโครคูรตี อ่ กรมั ตัวอย่างเช่น โมนาไซด์ (Radioactive material)

ประเภทท่ี 8 คุณสมบัติ วัตถุเคมีท่ีมีฤทธ์ิกัดกรอ่ นวตั ถุอ่นื ๆ อย่างรุนแรง ตัวอย่างเชน่ กรด สารกดั กรอ่ น เกลือ กรดกำมะถัน โซเดียมไฮดรอกไซด์ เปน็ ต้น (Corrosive substances)

ประเภทที่ 9 คณุ สมบัติ วัตถเุ คมซี ึ่งไม่จดั อยู่ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8 มคี ุณสมบตั ิเปน็

วสั ดุอันตรายเบด็ เตล็ด อันตรายในขณะขนส่ง ตวั อยา่ งเช่น ปุ้ยแอมโมเนยี มไนเตรต เปน็ ตน้ และให้

(Miscellaneous รวมถงึ สารทีต่ ้อง ควบคมุ ให้มีอณุ หภมู ิไม่ต่ำกวา่ 100 องศาเซลเซียส ในสภาพ

Dangerous ของเหลว หรือมีอณุ หภูมิ ไม่ต่ำกวา่ 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็งใน

Substances and articles) ระหวา่ งการขนสง่

11 3.4 ระบบ European Economic Community (EEC) เป็นการจำแนกสารตามข้อกำหนดของสหภาพยโุ รปท่ี 67/548/EEC สัญลักษณ์แสดง อนั ตรายจะแบ่งออกตาม ประเภทของอนั ตรายโดยใช้รปู ภาพสีดำเปน็ สญั ลกั ษณแ์ สดงอนั ตรายบนพ้ืนสเี่ หลีย่ มจตั ุรัสสี ส้มและมอี ักษรย่อ กำกบั ที่มมุ ขวา สัญลักษณเ์ หล่านจี้ ะปรากฎอย่ทู ีฉ่ ลากของสารเคมีท่ใี ช้ในสหภาพยุโรป

ภาพท่ี 3-3 สัญลกั ษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายระบบ ระบบ EEC Class

12

4.ความเป็นพิษของสารเคมีอันตราย

4.1 การเขา้ สู่รา่ งกายของสารเคมีอนั ตราย

1. การหายใจ : สารเคมที ี่อย่ใู นรูปของไอระเหย ก๊าซ ละออง เมอ่ื เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ อาจทำลายระบบทางเดินหายใจ หรอื เขา้ สู่ปอดและกระแสเลือดแล้วทำลายอวยั วะภายใน

2. ดูดซึมผ่านผวิ หนัง : โดยการสัมผสั หรอื จับสารพษิ อาจส่งผลกระทบตง้ั แต่ค่อนข้างน้อย จนถงึ รนุ แรงมาก เช่น เปน็ ผ่ืนแดง ทำลายโครงสร้างของผวิ ทำใหอ้ ่อนเพลีย หากดูดซึมเข้า สกู่ ระแสเลอื ดจะ ทำลายอวัยวะหรือระบบตา่ งๆ ภายนรา่ งกายข้นั รนุ แรงอาจถงึ ตายได้

3. การกินเขา้ ไป : หากสารทกี่ นิ เขา้ ไปมีฤทธิ์กัดกร่อนจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบ ทางเดินอาหาร สารที่ไม่ละลายจะถูกขับออกทางอุจจาระ ส่วนสารที่ละลายได้จะถูกดูดซึม ผ่านผนังของทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือดไปยังอวัยวะภายใน ความเป็นพิษขึ้นอยู่กับ ชนดิ และปรมิ าณของสารเคมีทีก่ นิ เขา้ ไป

4. การฉีดเข้าไป : สารเข้าสู่ร่างกายได้ถา้ ผิวหนังถูกทิ่มแทงดว้ ยวัตถุท่ีปนเปื้อนสารเคมี และผา่ นเขา้ สู่กระแสเลือดไปสะสมในอวยั วะภายในร่างกาย

13

4.2 ผลต่อร่างกายเม่อื ได้รับสารเคมีอันตราย ธรรมชาตขิ องมนุษย์เมื่อไดร้ บั สารเคมีหรือสารพิษ ร่างกายจะพยายามขับสารนั้นออกทางเหงื่อ น้ำนม ปัสสาวะ อุจจาระ น้ำลาย ลมหายใจ แต่หากได้รับสารเคมีหรือสารพิษนั้นมากเกินไปจะเกิดการสะสมและ เกิดผลเสียหายต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ดงั นี้ 1. ผลต่อระบบทางเดนิ หายใจ ก๊าซไอระเหยหรอื ฝุน่ ละอองของสารพษิ ทำใหเ้ กิดความระคายเคืองต่อ ระบบทางเดินหายใจ ทำลายเนื้อเยื่อปอด ทำลายความยืดหยุ่นของปอด เกิดการแพ้สาร หรือเกิด มะเร็งปอด มะเรง็ โพรงจมกู หากสมั ผัสสารอย่างตอ่ เนื่องช้ำ ๆ เปน็ เวลานาน

2. ผลตอ่ ผวิ หนัง เกดิ การระคายเคอื ง ทำลายผวิ หนัง เกดิ มะเรง็ ผวิ หนัง

3. ผลต่อตา เกิดอากรระคายเคือง สบตา เยื่อยุตาอักเสบ ตาพร่ำมัว น้ำตาไหลและอาจตาบอดได้ถ้า รับสารในปริมาณมาก

4. ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ขาดออกซิเจนในเลือด มีผลกระทบต่อระบบประสาท เช่น ตาพรา่ มวั กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อส่ัน ชกั และการรับความรู้สกึ ไม่ปกติ

5. ผลต่ออวัยวะภายใน ตบั : เซลลต์ บั ตาย ตบั แขง็ มะเรง็ สารที่เป็นพิษตอ่ ตับ เช่น คาร์บอนเตตระคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม ไต : สารท่เี ปน็ พษิ ต่อไต เช่น โลหะหนกั คารบ์ อนไดซัลไฟต์ เลือด : กระทบตอ่ ระบบการสรา้ งเมด็ เลือดแดง เมด็ เลือดขาว เกลด็ เลือด หรอื ความสามารถใน การขนสง่ ออกชเิ จนของเมด็ เลือด สารท่ีเป็นพษิ ต่อเลือด เช่น เบนซิน กมั มนั ตรังสี ม้าม : สารทเี่ ปน็ พิษตอ่ ม้าม เชน่ ไนโตรเบนซิน ระบบสบื พนั ธ์ุ : เปน็ หมัน อสุจผิ ดิ ปกติ มีอสจุ นิ ้อย ระบบฮอรโ์ มนทำงานผิดปกติ สารที่เป็นพษิ ตอ่ ระบบสืบพันธ์ุ เชน่ โลหะหนกั เอกสารอ้างอิง : http://www.pcd.go.th (กรมควบคุมมลพษิ , การระวงั ภยั จากสารเคมอี ันตราย)

14

4.3 การปฐมพยาบาลเบื้องต้นผไู้ ด้รบั อนั ตรายจากสารเคมีอนั ตราย สารเคมีมีอยู่ท่ัวไปรอบ ๆ ตัวบางชนิดไม่มีอนั ตราย บางชนิดมีอันตรายน้อย บางชนิดมีอันตรายสงู แม้

สัมผัสเพียงเล็กน้อยก็เป็นอันตราย จึงจำเป็นที่เราจะต้องทราบวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตันเกี่ยวกับสารเคมี เพื่อช่วยลดความรุนแรงของการบาดเจบ็

สารเคมีหกรดผวิ หนัง • กรณีท่ีสารเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมกี ับนำ้ เช่น โลหะโซเดียม โลหะโพแทสเซียม กรดกำมะถันเข้มข้น ใหใ้ ช้ ผา้ สะอาดเชด็ สารออกจากผวิ หนงั แล้วล้างออกด้วยนำ้ สะอาด • กรณที ่ีสารไม่เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีกบั น้ำ ใหล้ ้างออกด้วยน้ำสะอาด

กรณีสารหกรดร่างกายบรเิ วณท่มี เี ส้อื ผา้ ปกคลมุ ให้รบี ถอดเสอื้ ผ้าออก แลว้ ลา้ งออกหรอื อาบนำ้ คำแนะนำ

- จดั ให้มีฝักบวั นริ ภยั ไวป้ ระจำห้องหรืออาคารทม่ี ีการเคล่อื นยา้ ยถ่ายเทสารเคมี - สวมถุงมอื และเส้อื กาวนท์ ุกคร้งั ทีป่ ฏิบัติงานเกีย่ วกบั สารเคมี

สารเคมเี ขา้ ตา รบี ล้างออกดว้ ยน้ำสะอาด โดยลมื ตาในนำ้ และเปดิ เปลือกตาออกเพือ่ ล้างสารเคมีท่คี า้ งอยู่ใต้เปลือก ตาออกใหห้ มด จากนัน้ รีบไปพบแพทย์ คำแนะนำ - ไมค่ วรใส่ contact lens ขณะปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วข้องกับสารเคมี - ควรสวมแวน่ ป้องกนั ตาขณะปฏิบตั ิงานทเี่ กีย่ วข้องกบั สารเคมี - การปฏิบัติงานกับสารเคมีท่มี ีไอระเหยควรทำในตูด้ ูดควัน

15

การสูดแก๊สหรอื ไอพิษ - หากร้สู ึกผิดปกตเิ กดิ ข้ึนกบั รา่ งกายในขณะปฏบิ ัตงิ านเกีย่ วขอ้ งกับสารเคมี เช่น วงิ เวียนศรี ษะ ปวด ศรี ษะ แสบตา แสบจมกู หรอื ไดก้ ลิ่นผิดปกติ ให้รบี ออกจากบริเวณนน้ั ไปในที่โล่ง - เปิดประตูหนา้ ตา่ งเพ่ือระบายไอแกส๊ หรอื สารเคมีใหเ้ จือจางลง หากแก๊สทีร่ ั่วไหลเป็นแกส๊ ไวไฟ ควร หลีกเล่ยี งการกระทำทก่ี อ่ ใหเ้ กิดประกายไฟ - การช่วยเหลอื ผูป้ ่วยหมดสติ ผ้ชู ว่ ยเหลือควรสวมหนา้ กากปอ้ งกันแก๊สพิษหรือสวมเคร่ืองชว่ ยหายใจ จากน้ันจงึ รบี นำผูป้ ว่ ยไปยงั พืน้ ทีโ่ ลง่ แจง้ - แกส๊ บางชนดิ สามารถซึมเขา้ สผู่ วิ หนังได้ เชน่ คาร์บอนมอนนอกไซด์, ไฮโดรเจนไซยาไนด์, ไนตริก ออกไซด์ และซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ การเข้าไปในบริเวณที่มแี กส๊ เหลา่ นี้นอกจากต้องสวมหนา้ กากและเคร่ืองช่วย หายใจแลว้ จำเป็นตอ้ งสวมเส้ือผา้ ปกปิดรา่ งกายใหม้ ิดชิด

การกลืนกินสารเคมี หากมอี บุ ตั ิเหตกุ ลืนกนิ สารเคมเี ขา้ ไปให้ปฐมพยาบาลดงั นี้ - พยายามทำให้อาเจยี นโดยการใช้น้ิวหรือวสั ดุไม่มีคมกดโคนลิ้น ยกเวน้ การกลนื สารกดั กรอ่ นรุนแรง ห้ามทำใหเ้ กิดการอาเจยี นโดยเด็ดขาด - หากผู้ปว่ ยหมดสติ การทำใหอ้ าเจียนจะต้องใหผ้ ู้ป่วยนอนควำ่ ศีรษะต่ำกวา่ สะโพกเพื่อปอ้ งกันการ สำลกั เข้าปอด - พยายามดมื่ นำ้ มาก ๆ - รีบนำสง่ แพทย์

ข้ันตอนปฏบิ ัตใิ นการชว่ ยเหลือผู้บาดเจบ็ จากสารเคมี โดยชนิดของอุปกรณ์ และ/หรือเวชภณั ฑ์ยาที่กล่าวมานี้ นัน้ ผู้จัดเตรียมควรศึกษาคำแนะนำด้านเวชภัณฑ์ท่ีให้ไว้ในเอกสาร“ข้อมูลเคมีภัณฑเ์ พ่ือความปลอดภัย (หรือเรียกส้ันๆ วา่ MSDS)” กอ่ นสง่ั ซ้ือเข้ามาใชด้ ้วย รวมถงึ เอกสาร MSDS ดงั กล่าวกค็ วรมไี ว้ประจำห้องปฐมพยาบาลด้วย นอกจากน้ี ควรจัดให้มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธีด้วย ซึ่งทั้งหมดจะช่วยลดความรุนแรงให้ กับผู้ทีไ่ ด้รบั บาดเจบ็ ให้ไดร้ ับอนั ตรายนอ้ ยทสี่ ดุ จากสารเคมที ีม่ ีใชอ้ ยู่ภายในหนว่ ยงานได้

16

5. มาตรการการปฏิบัตงิ านกบั สารเคมีอนั ตราย

5.1 การจัดซ้ือและตรวจรับสารเคมี 5.1.1 ก่อนสั่งซื้อสารเคมี ต้องทราบข้อมูลการกำจัดสารเคมี โดยให้ถามจากผู้ขาย หากเป็น

สารเคมซี ง่ึ ไม่มวี ิธีกำจดั ท่ีทำได้ในประเทศ หรอื คา่ กำจัดแพง ควรพจิ ารณาสารเคมตี ัวอื่น หรือวิธีการที่ ใชส้ ารเคมีอน่ื ทอ่ี าจบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของงานได้ไกล้เคยี งกัน

5.1.2 เมื่อสั่งซื้อสารเคมี ต้องขอ MSDS และ SG (Specific Gravity) ของสารเคมีนั้นจาก ผผู้ ลติ ผูแ้ ทนจำหน่าย

5.1.3 ไมค่ วรซอ้ื สารเคมขี วดใหญเ่ กนิ ไป หากเหลอื ใชห้ รอื เปลยี่ นวธิ วี ิเคราะห์ใหมจ่ ะมีสารเคมี ตกค้าง เทา่ กับเป็นการเพมิ่ ความเส่ียง

5.1.4 เมื่อตรวจรับสารเคมี ต้องตรวจสภาพทั่วไปของภาชนะบรรจุว่าไม่มีรอยเปิดหรือชำรดุ และฉลากระบุชื่อสารเคมีและรายละเอียดอื่น ๆ บนภาชนะนั้น ต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ไม่หลุดลอก ให้บันทึกวันที่รับสารเคมีไว้ที่ข้างขวด และวงรอบวันหมดอายุให้เห็นชัด วงป้ายเตือน (เช่น flammable หรือ corrosive) ดว้ ยปากกาทำเครอ่ื งหมายสีแดง

5.1.5 ลงบันทกึ การรับสารเคมี พร้อมทั้งลงชือ่ ผู้รบั ของและผสู้ ่งของไว้เปน็ หลักฐาน 5.1.6 ทำความเข้าใจ MSDS และ SG ซึ่งผู้ขายต้องให้มาพร้อมสารเคมี เก็บ MSDS และ SG (Specific Gravity) เป็นหมวดหมู่ในทเ่ี หมาะสม ให้สามารถใชอ้ ้างอิงได้ทันทีทีต่ ้องการ 5.1.7 ถา้ มกี ารทำสัญญาซ้ือปีละครั้ง ควรทำความตกลงกับผู้ขายให้ทยอยสง่ ของตามปริมาณ การใช้ โดยอยา่ ใหม้ ีการสง่ ของมากเกินไปในแต่ละครั้ง เพราะตอ้ งใชพ้ ้นื ท่เี กบ็ มากและเก็บไวน้ าน 5.2 การเกบ็ รกั ษาสารเคมี มีหลักการท่วั ไปดังนี้ 5.2.1 เกบ็ รกั ษาตามคำแนะนำใน MSDS และ SG (Specific Gravity) 5.2.2 ควรมกี ารควบคมุ สภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมกับการจัดเก็บ เชน่ วางให้อยู่ในท่ีอากาศ ถ่ายเทได้ดีจัดเก็บห่างจากแหล่งกำเนิดความร้น เปลวไฟ หรือประกายไฟ ไม่ควรถูกแดดส่องถึง โดยตรง ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่เก็บสารเคมี และสารเคมีบางอย่างต้องเก็บไว้ในตู้เย็น เป็นต้น ควรมี การดูแลความสะอาดเรียบร้อยอยู่เสมอ ไม่ให้มีสิ่งกีดขวางตามทางเดินรอบ ๆ ถ้าเป็นไปได้ควรมีห้อง หรอื สถานท่ีเก็บสารเคมีโดยเฉพาะ

17

5.2.3 ชั้นวางสารเคมคี วรมแี ผ่นปดิ ดา้ นหลังและด้านข้าง และมขี อบก้ันด้านหนา้ หรืออาจยก ดา้ นหนา้ ของชั้นใหส้ งู ขึ้นประมาณ 1/4 น้ิว เพ่ือป้องกันไม่ให้ขวดสารเคมหี ล่นจากช้นั

5.2.4 ควรจัดวางสารเคมอี ยา่ งเปน็ ระเบียบ ไม่หนาแนน่ เกนิ ไป และนำ้ หนกั ไม่มากเกินกว่าชั้น จะรับได้ มีช่องสำหรับหยิบสารเคมีได้สะดวก และมีช่องทางเดินระหว่างชั้นวางสารเคมีด้วย จัดเก็บ ขวดเปล่าหรือภาชนะทีไ่ มม่ ีสารเคมีหลงเหลอื อย่อู อกจากชน้ั เก็บสารเคมเี สมอ

5.2.5 ควรวางสารเคมีให้อยู่ในระดับที่ไม่สูงกว่าระดับสายตา ถ้าเป็นขวดหรือภาชนะบรรจุ ขนาดใหญ่หรือมีน้ำหนักมากให้วางช้ันล่างสุดหรือวางบนชั้นที่สูงจากพื้นไม่เกิน 2 ฟุต หลีกเลี่ยงการ เก็บหรือวางสารเคมบี นพ้ืนห้องอย่างเด็ดขาด

5.2.6 ไม่ควรจัดเก็บสารเคมีโดยเรียงลำดับตามตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวสารเคมีที่ เกดิ ปฏิกริ ิยาระหวา่ งกนั ได้ง่าย หรอื อาจเรยี ก สารเคมีท่ีเข้ากันไม่ได้ ไมค่ วรวางเก็บไว้ใกลก้ ัน เช่น สาร เมีที่เป็นด่างไม่ควรเก็บไว้ใกล้สารเคมีที่เป็นกรด และสารเคมีชนิดออกซิไดส์ควรจะเก็บแยกจากชนิด รีดิวซ์ เป็นต้น ควรมีระบบให้สามารถค้นหาสารเคมีที่ต้องการได้ง่าย เช่น จัดเรียงตามตัวอักษร (หลงั จากแยกประเภทแล้ว)

5.2.7 ภาชนะบรรจุสารเคมีต้องมีฝาปิดแน่นสนิท อากาศเข้าไม่ได้ไม่เก็บสารเคมีในภาชนะ เปิดใดๆ หมั่นตรวจสอบภาชนะเป็นระยะว่ามีสนิม ร่องรอยกัดกร่อน หรือรอยรั่วหรือไม่ ถ้ามีรอย เสียหายต้องแก้ไขทันทีถ้าบรรจุสารเคมีที่เป็นของเหลวในขวดแก้วใหญ่ต้องหุ้มด้วยวัสดุกันกระแทก และมีภาชนะรองรบั ทห่ี ยิบใชไ้ ดท้ นั ที หากมีการหยดหรอื รั่วไหลของสารเคมี

5.2.8 ทำตามขอ้ ควรระวังในการเก็บสารมแี ต่ละประเภท ตัวอยา่ งขอ้ ควรระวงั ทีส่ ำคญั เชน่ - สารกัดกรอ่ น ควรวางภาชนะท่บี รรจุสารกดั กรอ่ นไวใ้ นถาด หรือซอ้ นไวใ้ นภาชนะอีกชัน้ หนง่ึ ซึ่ง ทนต่อการกดั กร่อนและมีขนาดใหญ่พอท่จี ะบรรจสุ าร ในกรณที เี่ กิดการร่วั ไหลหรอื แตกร้าว - สารไวปฏิกิริยารุนแรง (highly reactive chemical) เมอ่ื เปดิ ใชแ้ ลว้ มีอายเุ ก็บได้ 6 เดือนถึง 1 ปี เทา่ นั้นและต้องขีดวงรอบวันหมดอายุท่ีภาชนะบรรจุด้วยปากกาทำเคร่ืองหมายสีแดง - สารเคมีที่ติดไฟง่ายชนิดที่ต้องเก็บไว้ในตู้เย็นชนิดกันระเบิด (explosion-proof refrigerator) ไมค่ วรเก็บไว้ในตู้เย็นธรรมดาเพราะ อาจเกิดประกายไฟจากมอเตอรห์ รือสวิตชไ์ ฟในตู้เย็นจนเกิด การลุกติดไฟได้ ถา้ ไม่มีตเู้ ยน็ ชนิดดังกล่าวใหใ้ ส่ใน safety container แลว้ จงึ เกบ็ ในตเู้ ย็น (หมาย เหตุ - อาจทราบว่าเป็นสารเคมีที่ต้องเก็บในตู้เย็นชนิดกันระเบิดได้โดยอ่านฉลากหรือ MSDS ของสารเคมนี ้ัน)

18

- สารพิษที่เป็นสารมาตรฐาน (มีความบริสุทธิ์สูงเกือบ 100%) และสารก่อมะเร็ง ต้องเก็บในท่ี มิดชิด โดยใส่ต้เู ก็บแยกกัน ต่างหากจากสารเคมอี ่นื มขี อ้ ความ "สารพษิ " และ "สารกอ่ มะเรง็ "ติด ใหเ้ หน็ ชัดเจน

5.2.9 สารเคมีท่ีเหลือจากการนำออกไปใชง้ านแล้ว หา้ มเทกลบั ลงในขวดหรือภาชนะเดมิ อกี 5.2.10 ตรวจสอบสารเคมเี ป็นระยะว่ามีการเปลย่ี นแปลงหรือไม่ ตรวจหาสิ่งที่แสดงวา่ สารเคมีเสื่อม เช่น ฝามีรอยแยก การตกตะกอนหรือแยกช้ัน มกี ารตกผลกึ ที่กนั ขวด เปน็ ตน้ สารเคมที ี่ เสื่อมไม่ควรเก็บไวใ้ ช้ตอ่ ต้องนำไปกำจดั อยา่ งถูกวธิ ี 5.2.11 สารเคมีท่ีไมม่ ปี ้ายชอ่ื บอก หรือมีสารอ่นื เจือปนอยู่ หรือสารใดๆ ท่ีไมต่ ้องการ ต้อง ส่งไปกำจดั ทิง้ อย่างเหมาะสม

5.3 ฉลากบนภาชนะบรรจสุ ารเคมี ภาชนะใส่สารเคมที ุกชนดิ ต้องติดฉลากทมี่ ขี ้อมลู ตอ่ ไปนใ้ี ห้ชัดเจน

5.3.1 ช่อื สารเคมแี ละสว่ นประกอบทมี่ คี วามเป็นพิษของสารเคมี 5.3.2 คำเตอื นท่เี ฉพาะเจาะจงต่อการเปน็ อนั ตรายของสารเคมีท่บี รรจุอยู่ (hazard warning) และ ข้อควรระวงั ในการเก็บและการใชส้ ารเคมนี น้ั ๆ 5.3.3 ชอ่ื ผู้ผลติ และ/หรือตวั แทนจำหน่าย 5.3.4 ข้อมลู การรักษาพยาบาลเบ้ืองตนั 5.3.5 บันทึกวันที่รับสารเคมีและวันเปิดใช้ เพราะสารเคมีบางชนิดเมื่อได้สัมผัสกับอากาศ แลว้ ระยะหนงึ่ จะ เปล่ยี นเป็นสารอื่น เชน่ peroxide

19

เมื่อแบ่งสารเคมีออกจากภาชนะเดิม หรือเป็นน้ำยาที่เตรียมขึ้นมาเอง ต้องติดฉลากบนภาชนะใหม่ ดังนี้ ชื่อสารเคมี ชื่อผู้เตรียม/แบ่งวันที่เตรียม/แบ่ง วันหมดอายุ สถานที่วิธีเก็บ (ดังภาพตัวอย่าง) ฉลากบน ภาชนะบรรจุสารเคมีควรติดแน่นไม่หลุดออกจากภาชนะบรรจุ อ่านได้ง่ายปราศจากสิ่งเปรอะเปื้อน หรือ สารเคมใี ดๆควรตรวจความเรียบร้อยชดั เจนของฉลากเปน็ และเปลยี่ นฉลากทนั ทีเม่ือฉีกขาดหรือลบเลอื นระยะ

ชอ่ื สารเคมี ………………………………………………… ผเู้ ตรยี ม / แบ่ง……………………………………………. วันที่เตรยี ม/ แบง่ ……………………………………….. วนั หมดอายุ ……………………………………………….. สถานที่เก็บ/วธิ ีเกบ็ ………………………………………

ภาพตัวอย่างฉลากสำหรับสารเคมที ่ีแบง่ ออกจากภาชนะเดิมหรือเปน็ น้ำยาที่เตรยี มขึน้ มาเอง

5.4 การบนั ทกึ ข้อมูลเกยี่ วกับสารเคมี 5.4.1 ชนิด ปริมาณสารเคมีที่มีไว้ในครอบครอง ปริมาณสารเคมีที่ใช้ และถูกกำจัดทิ้ง และ

เก็บรวบรวม MSDSและ SG (Specific Gravity) ของสารเคมีไวใ้ นทที่ ่สี ามารถหยิบมาอ่านไดง้ ่าย 5.4.2 ขอ้ มูลการเตรยี มสารเคมี ระบุ ช่อื ผูเ้ ตรียม วนั ท่ีเตรียม ส่วนประกอบ และวนั หมดอายุ

(หรอื lot number) ของสารตง้ั ตันทุกชนดิ 5.4.3 รายชื่อบุคลากร การฝึกอบรมที่ได้รับ การประเมินความสามารถของบุคลากรในการ

ปฏิบตั งิ านกบั สารเคมี 5.4.4 การบำรงุ รักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ป้องกนั ตา่ งๆ

20

5.5 ขอ้ มลู ความปลอดภัยเก่ียวกบ็ สารเคมีอันตราย เอกสารข้อมลู ความปลอดภยั เกี่ยวกบั สารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) เปน็ เอกสารจากผูผ้ ลติ ที่ แสดงข้อมูลของสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์เกี่ยวกับลักษณะความเป็นอันตราย ความเป็นพิษ วิธีใช้ การเก็บ รักษาการขนส่ง การกำจัดและการจัดการอื่น ๆ เพื่อให้การดำเนินการเกี่ยวกับสารเคมีนั้น ๆ เป็นไปอย่าง ถูกต้องและปลอดภัย ในปัจจุบันตามประกาศขององค์การสหประชาชาติเรื่อง ระบบการจำแนกและการติด ฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก (The Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals, GHS) กำหนดให้ใช้ SDS เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการสื่อสารข้อมูลสารเคมี นอกเหนือจากข้อมูลบนฉลากข้างขวดสารเคมีและเพื่อให้เกิดความสอดคล้องและเป็นระบบเดียวกัน จึง กำหนดให้เรียกว่า Safety Data Sheet (SDS) พร้อมกับได้กำหนดรูปแบบและข้อมูลใน SDS ไว้ 16 หัวข้อ ดังตอ่ ไปนี้ (ระบบการจัดการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2560) 1. ขอ้ มูลเกย่ี วกบั สารเคมี/เคมภี ณั ฑ์และบรษิ ัทผ้ผู ลิตและหรือจำหน่าย แสดงข้อมูลชอื่ สารเคมีหรอื ชอ่ื ทางการคา้ ของสาร 2. ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย (hazards identification) แสดงข้อมูลประเภทความเป็นอันตราย ของสารเคมีตัวอย่างตามระบบ GHS สารเคมีตัวอย่างเช่น สารละลาย n-butyl lithium ซึ่งเป็นสารไวไฟ (flammable liquids) และลุกติดไฟได้เองเมื่อสัมผัสกับอากาศ (pyrophoric liquids) เป็นต้น โดยมีตัวเลข กำกับระดับความเป็นอันตราย และแสดงข้อมูลรูปสัญลักษณ์ความเป็นอันตราย (pictogram) คำสัญญาณ (signal word) ข้อความแสดงความเป็นอันตราย (hazard statement) เช่น H225 และข้อควรปฏิบัติเพ่ือ ป้องกันอันตราย(precautionary statement) เช่น P210 ของสารเคมีซึ่งจะต้องเหมือนกับข้อมูลที่แสดงอยู่ บนฉลากขวดสารเคมีตามระบบGHร นอกจากนี้ อาจแสดงข้อมูลความเป็นอันตรายอื่น ๆ ของสารเคมีที่ไม่ได้ จัดอยู่ในประเภทความเป็นอันตรายตามระบบ GHS เช่น ความเป็นอันตรายจากการระเบิดของผงฝุ่น (dust explosion hazard) เปน็ ตน้ 3. ส่วนประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม (composition/information on ingredients) ระบุ ข้อมูลของสารเคมีอันตรายทุกชนิดที่ เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะประกอบด้วยชื่อสารเคมีรหัส ประจำตัวสารเคมี

21

4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures) แสดงขอ้ มลู มาตรการปฐมพยาบาลตามลักษณะและ ช่องทางการได้รับสารเข้าสูร่ า่ งกาย ได้แก่ กรณสี มั ผัสสารเคมีโดยการสดู ดม สัมผัสทางผวิ หนัง ดวงตา หรอื กลืน สารเคมี และขอ้ มลู อาการหรอื ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ หลงั จากได้รับสัมผัสสารเคมีทงั้ ในระยะเฉยี บพลันและเรื้อรัง

5. มาตรการผจญเพลิง (firefighting measures) แสดงข้อมูลชนิดของวัสดุดับเพลิงที่เหมาะสม อนั ตรายท่เี กดิ ข้ึนจากการเผาไหมข้ องสารเคมอี ุปกรณ์ท่ีใช้ในการป้องกนั ภัยและคำแนะนำอน่ื ๆ

6. มาตรการจัดการเมอื่ มีการหกรวั่ ไหลของสารเคมี (accidental release measures) ระบุคำแนะนำ ในการจัดการสารเคมีที่หกรั่วไหล ได้แก่ แนวทางการป้องกันอันตรายจากสารเคมี การใช้อุปกรณ์ป้องกันภัย สว่ นบุคคล

7. ขอ้ ปฏิบัติในการใชแ้ ละการเก็บรักษา (handling and storage) ใหค้ ำแนะนำในการใช้งานและการ จัดเก็บสารเคมีอย่างปลอดภัย เช่น สภาวะที่เหมาะสมในการใช้งานและจัดเก็บ ข้อควรระวังในการเก็บรักษา เป็นตน้

8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันภัยส่วนบุคคลครอบคุลมถึง ปริมาณที่จำกัดการได้รับ สมั ผัส สำหรับผู้ปฏิบตั ิงานกบั สารเคมีนนั้ (exposure controls /personal protection)

9. สมบตั ทิ างเคมแี ละกายภาพ (physical and chemical properties) 10. ความเสถียรและความไวต่อการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity) ระบุถึงความไวในการ เกิดปฏิกิริยาของสารเคมี ความเสถียรทางเคมี ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย สภาวะที่ควร หลีกเลี่ยง 11. ขอ้ มูลด้านพิษวทิ ยา (toxicological information) ระบุข้อมูลด้านพิษวทิ ยาของสารเคมี 12. ขอ้ มลู เชงิ นเิ วศน์ (ecological information) ระบุความเปน็ พิษต่อส่ิงมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อมทั้งใน ดนิ และนำ้ แสดงแนวโน้มการสะสมในสิง่ มชี ีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม 13. มาตรการการกำจัด (disposal considerations) ระบุวิธีการกำจัดหรือจัดการของเสียจาก สารเคมแี ละภาชนะบรรจุ 14. ขอ้ มูลการขนส่ง (transport information) แสดงขอ้ มูลท่ีจำเปน็ สำหรับใช้ในการขนส่งตามระบบ ของ UN 15. ขอ้ มูลเกยี่ วกับกฎข้อบังคับ (regulatory information) แสดงข้อมลู กฎหมายและข้อบงั คับต่าง ๆ ข้อมูลอ่ืน (other information) แสดงข้อมูลขยายความหรอื คำอธิบายรายละเอยี ดเพิ่มเติมอน่ื ๆ 16. ข้อมลู อ่ืน (orther in formation) แสดงขอ้ มลู ขยายความหรอื คำอธบิ ายรายละเอียดเพ่ิมเตมิ อน่ื ๆ

22

5.6 หลกั ในการปฏิบัติงานกบั สารเคมีชนิดตา่ งๆ วตั ถุระเบดิ

- จดั ให้มีทเี่ กบ็ วตั ถรุ ะเบิดแยกเป็นสัดสว่ น อาคารทเ่ี ก็บควรสร้างดว้ ยวัสดทุ นไฟมีการระบายอากาศได้ดี อยูห่ ่างจากอาคารอนื่

- เก็บห่างจากไฟและความร้อน ควรมีป้าย "อันตราย" "ห้ามสูบบุรี่" และ "ห้ามก่อให้เกิดประกายไฟทุก ชนิด "โดยเขียนตวั อกั ษรสแี ดงบนพน้ื สขี าว ตดิ ต้งั ในทีเ่ หน็ ชดั เจน

- การเคลื่อนย้ายสารเคมีท่ีเป็นวัตถุระเบดิ ห้ามบรรทุกไปด้วยกนั กบั เครื่องมือทีท่ ำดว้ ยโลหะ น้ำมัน ไม้

ขีดไฟ กรดหรือวัตถทุ ี่ตดิ ไฟง่าย - ไมเ่ ก็บในปริมาณมาก หากปริมาณมากต้องแยกเก็บเปน็ อาคารเฉพาะ - การกำจัดอาจใช้วิธีทำให้สารเคมีที่เป็นวัตถุระเบิดนั้นเสื่อมหรือแปรสภาพ โดยการแช่ในสารละลายท่ี

เหมาะสมเช่น ไนโตรกลเี ซอรนี ใหแ้ ชใ่ นสารละลายโซเดียมซัลไฟตใ์ นเมทลิ แอลกอฮล์ แล้วจัดเกบ็ เพอ่ื รอสง่ - กำจัดตอ่ ไป สารเคมีท่ีเป็นวัตถุระเบดิ ทแ่ี ปรสภาพด้วยวธิ นี ีไ้ ม่ได้ ให้จดั เก็บเพอื่ รอสง่ กำจดั เช่นกัน

สารเคมีท่ีเป็นแกส๊ - มกี ารตรวจสอบสายส่งแก๊ส ข้อตอ่ และวาลว์ ให้อยใู่ นสภาพดีเปน็ ประจำเพอ่ื ปอ้ งกันการรัว่ ไหล - ใช้ลอ้ เข็นในการเคลอ่ื นย้ายถงั แกส๊ และห้ามจับทห่ี ัวทอ่ แกส๊ เวลาเคลื่อนย้าย - มกี ารตรงึ ภาชนะบรรจแุ ก๊สให้อยู่กบั ท่ี เพื่อกันลม้ หรือหลน่ กระแทก - แยกเก็บถงั แก๊สเปล่าไว้ตา่ งหาก และติดป้ายเขยี นไว้ว่า "ถงั เปล่า" - ติดตั้งป้าย "ห้ามสบู บหุ ร่"ี และ" ห้ามก่อใหเ้ กดิ ประกายไฟ" โดยเขยี นดว้ ยตัวอักษรสีแดงบนพืน้ ขาว

ตดิ ตงั้ ใหเ้ ห็นชดั เจน

23

ของเหลวไวไฟ - สถานทไ่ี มค่ วรมอี ณุ หภูมสิ ูง และควรตดิ ตงั้ ถงั ดับเพลิงในตำแหนง่ ท่เี หน็ ชัดเจน - ผปู้ ฏบิ ตั ิงานต้องทราบวธิ ใี ชถ้ งั ดับเพลิง มีการตรวจสอบสภาพถงั ดบั เพลงิ ให้ใช้การได้ตลอดเวลา มีป้าย

"หา้ มสบู บหุ รี่ "และ "หา้ มกอ่ ให้เกิดประกายไฟ" ตดิ ตง้ั ไวใ้ นท่ีเหน็ ชัดเจน - การปฏบิ ตั งิ านกบั ของเหลวไวไฟควรทำในตู้ดดู ไอสารเคมี - ก่อนทงิ้ ขวดบรรจตุ ้องแนใ่ จวา่ ไมม่ ขี องเหลวไวไฟตกคา้ งอยู่ - การกำจดั ของเหลวไวไฟ ต้องไม่เทสารทมี่ ีปฏกิ ริ ิยาต่อกันลงในถงั เดียวกนั และไมเ่ ทของเหลวไวไฟที่

ไม่ละลายน้ำลงท่อน้ำทิ้ง วิธีกำจัดที่ดีที่สุดถ้ามีปริมาณไม่มาก คือการเผาครั้งละน้อย 1 ในตู้ดูดไอ สารเคมี ถ้าไม่แนใ่ จใหจ้ ดั เก็บเพอ่ื รอสง่ กำจัด

ตัวทำละลายอนิ ทรีย์ (Organic solvent) - ไม่ควรเก็บ solvent ไว้ในห้องปฏิบัติการมากเกนิ ควร ควรมพี อใชแ้ ค่ 2 วัน ไมค่ วรท้ิง solvent ไว้บน

โตะ๊ ด้างคืนควรเกบ็ ใส่ safety cabinet ทอี่ อกแบบเฉพาะสำหรับเกบ็ solvent - ตู้เย็นทีเ่ กบ็ solvent ควรเป็นชนิดกนั ระเบิด ถ้ายังไม่มี ให้ระมัดระวงั โดยวางขวดให้ม่ันคงบนชั้นหรือ

ใสก่ ล่องปดิ สนิท - ไม่ควรเก็บหรือวาง solvent ทบ่ี รเิ วณทางเดนิ หรอื ใกลป้ ระตเู ข้าออก - การกลั่น organic solvent ที่ไวไฟ ไม่ควรตั้งไฟโดยตรง หรือวางบน hot plate ถ้า boiling point

ตำ่ กวา่ 100 ซ.ใหใ้ ช้ water bath หรือใช้ heating mantle

24

ของแขง็ ไวไฟ - ห้ามเกบ็ ไว้ใกล้ไฟ ความร้อน กรด หรอื สารเคมที ่ีทำปฏกิ ิริยากบั น้ำหรอื อากาศ - สารเคมีที่เกิดการสันดาปได้เองต้องเก็บอย่างถูกต้อง เช่น ฟอสฟอรัสขาว (เหลือง) ต้องเก็บไว้ในน้ำ

โลหะโซเดียมเก็บไว้ในนำ้ มนั - สารเคมจี ำพวกเส้นใย เชน่ สำลี ตอ้ งรัดเข้ามัวน ไมป่ ล่อยให้ฟงุ้ กระจายในอากาศ และห้ามเก็บรวมกับ

น้ำมนั พืชหรอื ไขสัตว์ เชน่ น้ำมันละหงุ่ เพราะอาจลุกไหม้ได้

สารออกซิไดสแ์ ละสารเพอรอ์ อกไซดอ์ ินทรีย์ - สารเคมีประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่ติดไฟ เช่น คลอเรต ไนเตรต ฯลฯ แต่จะดายออกซิเจนและทำให้

เชื้อเพลิงอ่ืนติดไฟดังนน้ั ต้องไมเ่ ก็บรวมกับเช้อื เพลงิ หรือสารรดี ิวซ์ เช่น กำมะถนั ถ่านต่างๆ - ไมว่ างไว้ใกล้แหล่งความร้อน เพราะทำใหเ้ กิดปฏิกิรยิ าการใหอ้ อกซเิ จนอยา่ งรวดเรว็ - เศษผ้าทใ่ี ช้เชด็ เม่ือสารเคมหี กรดตอ้ งใสใ่ นภาชนะท่ีปลอดภยั และนำไปกำจดั ทุกวัน

สารก่อมะเรง็ สารกอ่ มะเร็ง เช่น เบนน แอสเบสตอส และไวนลี คลอไรด์

- การปฏบิ ตั ิงานกบั สารก่อมะเรง็ ถ้ามสี ารก่อมะเร็งเปื้อนมอื ผวิ หนังต้องล้างบรเิ วณท่ีปนเปอ้ื น - ผู้ปฏบิ ัติงานตอ้ งสวมหน้ากากปิดปากและจมูก เสื้อคลมุ กนั เปื้อนและถงุ มือตลอดเวลาท่ีใชส้ ารก่อมะเร็ง - เสื้อกาวน์หรือเสื้อผ้าอื่นที่เปื้อนสารก่อมะเร็งห้ามชักรวมกับเสื้อผ้าอื่นๆ ถ้าเสื้อผ้าเปื้อนสารก่อมะเร็ง

ปริมาณมากและเป็นชนิดที่มีฤทธิ์ก่อมะเร็งรุนแรงควรนำไปเผาทำลาย แต่ถ้าเปื้อนปริมาณไม่มากให้ นำไปแช่ในสารละลาย sodium hypochlorite 3-5 % ก่อนซักตามปกติต่อไป ในการซักเสื้อผ้าท่ี เปือ้ นสารก่อมะเร็งตอ้ งสวมถุงมอื ทุกคร้งั - เอกสารอ้างองิ : ศูนยอ์ าชีวอนามัยมาบตาพดุ . ความปลอดภัยในการทำงานห้องปฏิบตั กิ าร. กองอาชวี อนามัยกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข. หนา้ 10-41.

25

6. บญั ชีสารเคมที ี่ใชใ้ นโรงพยาบาลศูนยก์ ารแพทยม์ หาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์

Hydrogen peroxide 26

ข้อมูลสารเคมอี นั ตราย MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)

1. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ (identification)

ชอ่ื ผลิตภัณฑ์: Hydrogen peroxide

CAS registry number (Chemical Abstract Services): 7722-84-1

ประโยชน์ : ฆ่าเชือ้ โรค

ชือ่ ท่อี ยู่ของผจู้ ัดจำหน่าย : บรษิ ทั ศิริบญั ชาจำกัด 50/4 ม.7 ถ.บางกรวย-ไทรน้อย นนทบรุ ี

หมายเลขโทรศัพท์ : 02- 746 2648

2. ขอ้ มูลความเป็นอันตราย (hazards identification)

การจำแนกสารเคมีอนั ตราย

สารท่รี ะเบดิ ได้ ก๊าซอันตราย/อดั แรงดัน ของเหลวไวไฟ/ตดิ ไฟ

ของแข็งไวไฟ สารท่ีเติมออกซิเจน สารเป็นพิษ

สารกมั มันตรังสี สารทำกัดกร่อนได้ สารกอ่ มะเร็ง อน่ื ๆ ระบุ

3. สว่ นประกอบและข้อมลู เก่ยี วกับส่วนผสม (composition/information on ingredients)

ช่อื สารเคมที ่เี ปน็ ส่วนประกอบ : Hydrogen peroxide แสดงสญั ลกั ษณ์ประเภทความเปน็ อนั ตราย :

4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures การหายใจเขา้ ไป: ให้ยา้ ยผปู้ ่วยไปยงั บรเิ วณทม่ี ีอากาศบริสทุ ธิ์ ให้น่ังพกั ผอ่ น นำส่งแพทยท์ ันที การสัมผสั ทางผิวหนัง: ถอดเสือ้ ผา้ ที่เปอ้ื นออกทันที ลา้ งออกด้วยน้ำปริมาณมาก นำสง่ แพทย์ทนั ที การสัมผัสดวงตา: ล้างด้วยน้ำปรมิ าณมาก ถอดคอนแทคเลนส์ ลืมตาให้กวา้ งเพื่อให้น้ำไหลผ่านอย่างนอ้ ย 15 นาที นำส่งแพทยท์ ันที การกลืนกิน : บ้วนปาก ห้ามทำให้อาเจยี น นำสง่ แพทยท์ นั ที อาการ/ผลกระทบท่ีสำคัญ: การหายใจ: ไอ เจ็บคอ มึนงง ปวดศรี ษะ หายใจถ่ี คล่นื ไส้ ผวิ หนงั : กดั กรอ่ นผิวหนงั ผิวหนงั แดง เจบ็ ปวด ผิวหนังไหม้ ตา: ตาแดง ปวดตา ตาไหม้อย่างรุนแรง ตามวั

27

การกลืนกิน: แสบคอ ปวดท้อง ทอ้ งปอ่ ง คลนื่ ไส้ อาเจียน ขอ้ ควรพิจารณาทางการแพทยท์ ่ตี ้องทำทนั ทีและการดูแลรกั ษาเฉพาะทสี่ ำคัญทค่ี วรดำเนินการ: ตรวจ สมรรถภาพการทำงานของปอด เอกซเรย์ปอด ตรวจนบั จำนวนเมด็ เลือด

5. มาตรการผจญเพลิง (firefighting measures สารดบั เพลิงที่เหมาะสม: นำ้ ปริมาณมาก สารดบั เพลงิ ทไ่ี มเ่ หมาะสม: ไม่มี ความเป็นอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี: ไม่ติดไฟ การเกิดปฏิกิริยาทำให้เกิดเพลิงไหม้หรือระเบิด เสีย่ งตอ่ การเกดิ เพลงิ ไหมห้ รือระเบิดเม่ือสัมผสั กบั ความร้อนหรือ Metal catalysts อุปกรณ์ป้องกันพิเศษและการเตือนภัยสำหรับนักผจญเพลิง: สวมชุดดับเพลิง สวมหน้ากากป้องกันการ หายใจชนิดมีถังอากาศ ใหฉ้ ดี นำ้ เปน็ ละอองฝอยเพอื่ หลอ่ เยน็ ภาชนะบรรจุ

6. มาตรการจดั การเมือ่ มกี ารหกรว่ั ไหล (accidental release measures) ข้อควรระวงั สว่ นบคุ คล: อพยพคนออกจากบริเวณ ห้ามสมั ผสั สารเคมีโดยตรง หา้ มสดู ดมไอระเหยของสารเขา้ ไป อุปกรณ์ป้องกันภยั สว่ นบุคคล: สวมหนา้ กากป้องกนั การหายใจชนิดมถี ังอดั อากาศ รองเทา้ บทู และถุงมือยาง ข้อควรระวงั ด้านสงิ่ แวดล้อม: ปอ้ งกันไม่ให้สารไหลลงทอ่ ระบายนำ้ ทิ้ง วิธกี ารและวัสดสุ ำหรบั กักเก็บและทำความสะอาด: สวมชดุ ปอ้ งกัน สารเคมพี ร้อมหนา้ กากป้องกันการหายใจ ชนิดมีถังอัดอากาศ เก็บสารที่หกรดใสภ่ าชนะบรรจุ แล้วดูดชับสารท่ีเหลือด้วยทราย ดิน หรือสารเฉื่อยเก็บใส่ ในภาชนะที่ปิดสนิทโดยใช้เครื่องมือที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ แล้วเคลื่อนย้ายออกสู่ที่โล่ง ห้ามให้น้ำเข้าไปใน ภาชนะบรรจุ ห้ามสัมผัส สารเคมีฉีดน้ำ เป็นละอองฝอยเพื่อ ลดไอระเหยของสาร ระบายอากาศในบริเวณน้ัน และล้างทำความสะอาดบรเิ วณทส่ี ารหกรวั่ ไหลหลงั จากเก็บสารออกหมดแล้ว

7. การใช้และการจัดเกบ็ (handling and storage) ข้อควรระวงั ในการขนถา่ ยเคล่ือนย้าย ใช้งานอยา่ งปลอดภยั : หลกี เส่ียงการสมั ผัสกบั สาร ให้ใช้สารในบริเวณ ท่มี กี ารระบายอากาศทเี่ พียงพอ หา้ มใชส้ ารในที่อบั อากาศ ปอ้ งกนั การเกิดไฟฟ้าสถิต หา้ มไมใ่ ห้มีเปลวไฟ ประกายไฟ สภาวะการเก็บรักษาอย่างปลอดภยั : ปดิ ภาชนะบรรจุให้สนทิ เก็บใหห้ ่างจากสารรีดิวซ์ซิ่ง เบสแก่ เก็บในทีม่ ืด แห้งและเยน็ เก็บในบริเวณทีม่ ีการระบายอากาศไดด้ ี ป้องกันไมใ่ ห้ถูกความร้อนและแสง

28

8. การควบคมุ การไดร้ ับสัมผัสและการปอ้ งกันส่วนบุคคล (exposure controls/personal protection) การควบคุมทางวศิ วกรรมท่ีเหมาะสม: ปดิ กระบวนการผลติ เพ่ือป้องกนั ไอระเหยของสาร จัดใหม้ กี รระบาย อากาศที่เพียงพอ จัดให้มีท่ีดดู อากาศเฉพาะท่ี อปุ กรณป์ ้องกนั ภยั ส่วนบคุ คล: การปอ้ งกนั ระบบหายใจ: สวมหนา้ กากป้องกันไอระเหยของสาร ท่ไี ดร้ บั การรบั รองตามมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมการป้องกนั ตาะ แวน่ ครอบตา /กระบงั หนา้ การปอ้ งกนั มือ: ถงุ มือยาง ขอ้ ควรปฏิบตั ิ: เปล่ียนเส้ือผา้ ทเี่ ปอ้ื นสารเคมี ล้างมือและหน้าหลงั จากการทำงานกับสาร กอ่ นกนิ อาหารหรือ สบู บหุ รี่ หา้ มกนิ อาหาร/ด่ืม สูบบุหร่ใี นทท่ี ำงาน

9. สมบัติทางกายภาพและเคมี (physical and chemical properties)

1. ลกั ษณะท่วั ไป: ของเหลวใส ไม่มีสี 2. กลน่ิ : ไมม่ ีขอ้ มูล

3. ค่าขดี จำกดั ของกล่ินท่ีไดร้ ับ: ไม่มขี ้อมลู 4. คา่ ความเป็นกรดดา่ ง: ไม่มีขอ้ มลู

5. จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง: -11*C 6. จุดเดอื ดเรม่ิ ต้นและชว่ งของการเดือด: 141*C

7. จุดวาบไฟ: ไมต่ ิดไฟ 8. อตั ราการระเหย: ไม่มขี ้อมูล

9. ความสามารถในการลกุ ติดไฟไดข้ องของแขง็ และกา๊ ซ: ไม่มขี ้อมูล

10. ความดันไอ: 8 mmHg ท่ีอณุ หภมู ิ 25* C

11. ความหนาแนน่ ไอ (อากาศ = 1): 1

12. ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ= 1): 1.4 (90%), 1.3 (70%)

13. ความสามารถในการละลายได:้ ในนำ้ : ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน

14. ค่าสมั ประสิทธิ์การละลายของสารในชน้ั ของ n - octanol ตอ่ นำ้ (log kow): -1.36

15. อณุ หภูมทิ ่ีลกุ ติดไฟไดเ้ อง: ไมม่ ขี อ้ มลู

16. อุณหภูมขิ องการสลายตวั : ไมม่ ีขอ้ มูล

17. ความหนืด: ไม่มีขอ้ มูล

10. ความเสถยี รและการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity)

การเกิดปฏิกิริยา: ทำปฏิกิริยารุนแรงกับสารรีดิวซ์ซิ่ง สารออกซิไดซ์อย่างแรง (เช่น Perchlorates,

Peroxides, Permanganates, Chlorates, Nitrates) (Sodium Hydroxide, Potassium Hydroxide) โลหะ

(เช่น ธาตเุ หลก็ เหล็กกล้าทองแดง เงนิ สงั กะสี) Organics ,Alcohols, Aldehydes Ethers, Ketones

ความเสถยี รทางเคม:ี เสถยี ร

ความเปน็ ไปไดใ้ นการเกิดปฏิกริ ิยาอนั ตราย: ไมเ่ กิด

สภาวะทีค่ วรหลีกเลีย่ ง: แสง วสั ดุท่เี ข้ากนั ไม่ได:้ Ammonia, Ammonia Carbonates, Iodides, Sulfites

ผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวท่เี ป็นอนั ตราย: Oxygen

29

11. ข้อมลู ด้านพิษวทิ ยา (toxicological information) การหายใจเข้าไป: ระคายเคอื งจมูก คอ ไอ หายใจถี่ การสัมผสั ทางผวิ หนัง: แผลไหมอ้ ย่างรนุ แรง การสัมผัสทางดวงตา: ตาไหมอ้ ย่างรนุ แรง ตาบอด การกลนื กนิ : แสบทอ้ ง ปวดทอ้ ง ทอ้ งปอ้ ง อาการท่ปี รากฏ: ไอ แสบคอ หายใจมเี สียง หายใจถ่ี ปวดศีรษะ ปอดบวมน้า ผลกระทบเฉียบพลัน: กัดกร่อนดวงตา และผิวหนัง ระคายเคืองทางเดินหายใจ การกลืนกินทำให้เกิดฟอง ออกซิเจนในเลอื ดทำให้ช็อก ทำใหป้ อดบวม ผลกระทบผลเร้อื รัง: ผิวหนงั อักเสบ ผืน่ แดง คนั หลอดลมอกั เสบเรอื้ รัง คา่ ประมาณการความเป็นพิษเฉยี บพลัน ความเป็นพษิ เฉยี บพลันทางปากของหนูพุก: LD50 (Oral, Rat): 311 มลิ ลกิ รัม/กโิ ลกรัม ความเป็นพษิ เฉยี บพลนั ทางผวิ หนงั ของกระต่าย: LD50 (Dermal, Rat): 4,060 มิลลิกรมั /กโิ ลกรัม ความเปน็ พษิ เฉียบพลนั ทางการหายใจของหนูพกุ : LC50 (Inhalation Rat): 1.99 มลิ ลกิ รัม/ลิตร/ 4 ช่ัวโมง (1438 ppm) 12. ขอ้ มลู ดา้ นระบบนเิ วศ (ecological information) ความเป็นพิษต่อระบบนิเวศน:์ ความเปน็ พษิ ต่อปลา: Pimephales promelas LC50: 16.4 มิลลกิ รมั / ลติ ร/ 96 ชวั่ โมง ความเป็นพษิ ต่อ Crustacea: Daphnia magna EC50: 2.4 มิลลกิ รมั / ลิตร/ 48 ชั่วโมง ความคงอยนู่ าน และความสามารถในการยอ่ ยสลายทางชวี ภาพ: ย่อยสลายทางชีวภาพได้อยา่ งรวดเร็ว ศักยภาพในการสะสมทางชีวภาพ: ไม่สะสมทางชวี ภาพ (log Kow : -1.36) การเคลอื่ นยา้ ยในดิน: ไมม่ ขี ้อมูล 13. ขอ้ พจิ ารณาในการกำจัด (disposal considerations) การกำจัดสาร: ใหป้ ฏบิ ัตติ ามกฎหมายและข้อกำหนดของทอ้ งถน่ิ ตดิ ต่อบริษัทรบั กำจดั ของเสยี ท่ีได้รับอนญุ าต บรรจภุ ัณฑ:์ ใหก้ ำจัดตามระเบียบราชการ หบี ห่อท่ีปนเปอ้ื นสารเคมีใหจ้ ัดการเชน่ เดยี วกบั ตัวสารเคมี

14. ขอ้ มลู สำหรับการขนสง่ (transport information) หมายเลขสหประชาชาติ (UN number): 2015 ชือ่ ที่ถูกต้องในการขนสง่ ของสหประชาชาติ: HYDROGEN PEROXIDE, STABILIZED ประเภทความเป็นอันตรายสำหรับการขนส่ง: 5.1 ความเสย่ี งรอง: 8 กล่มุ การบรรจุ (ถา้ ม)ี : 1 มลภาวะทางทะเล: ไม่มี การขนส่งด้วยภาชนะขนาดใหญ:่ ไม่มี ข้อควรระวังพเิ ศษ: ไมม่ ีข้อมูล

30

15. ข้อมูลเกี่ยวกบั กฎข้อบงั คับ (regulatory information) กฎข้อบงั คบั ของประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิวัตถอุ ันตราย พ.ศ. 2535 ประเภทวัตถอุ นั ตราย: ชนิดท่ี 1 (วตั ถอุ นั ตรายทีก่ ารผลิต การนำเขา้ การส่งออก หรอื การมีไวใ้ นครอบครองต้อง ปฏิบัติ ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่กี ำหนดดว้ ย) บญั ชี ก (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)

การติดฉลากตามระเบียบ EC

สัญลกั ษณ์: O สารออกซไิ ดซ์ C กัดกรอ่ น

ข้อความบอกความเสีย่ ง:

R5 ความร้อนอาจเป็นสาเหตใุ ห้เกิดการระเบิด R8 เมอ่ื สัมผัสกับวัสดตุ ดิ ไฟอาจเปน็ สาเหตุให้เกิดเพลงิ ไหม้

R20/22 อนั ตรายเม่ือสดู ดม และกลืนกิน R 35 ทำ ให้เกดิ แผลไหม้อยา่ งรนุ แรง

16. ขอ้ มลู อน่ื ๆ (other information)

แหลง่ ขอ้ มลู และเอกสารท่ีใช้ทำเอกสารข้อมูลความปลอดภยั

1. http://www.chemtrack.org/

2. http://ghs.diw.go.th/

Ammonia 31

ข้อมลู สารเคมอี ันตราย MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)

1. ขอ้ มูลผลติ ภณั ฑ์ (identification) ชอ่ื ผลิตภัณฑ:์ แอมโมเนีย (Ammonia)

CAS registry number (Chemical Abstract Services): 7664-41-7

ประโยชน์: ใช้ดม บรรเทาอาการวิงเวยี น หน้ามืด

ชื่อทีอ่ ยผู่ ู้ผลิต: โรงงานเภสชั กรรมทหาร 183 ซอยตรีมิตร ถ.พระราม4 แขวงพระโขนง กทม.

2. ข้อมลู ความเป็นอนั ตราย (hazards identification)

การจำแนกสารเคมอี นั ตราย

สารท่ีระเบิดได้ ก๊าซอนั ตราย/อดั แรงดนั ของเหลวไวไฟ/ติดไฟ

ของแขง็ ไวไฟ สารที่เติมออกซิเจน สารเปน็ พษิ

สารกมั มันตรังสี สารทำกดั กร่อนได้ สารกอ่ มะเร็ง

อ่นื ๆ ระบุ

3. ส่วนประกอบและข้อมูลเกย่ี วกับส่วนผสม (composition/information on ingredients)

ช่ือสารเคมีทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบ : Ammonia NH3

แสดงสัญลกั ษณ์ประเภทความเป็นอนั ตราย

4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures การหายใจเขา้ ไป : ให้ย้ายผู้ปว่ ยไปยังบรเิ วณที่มีอากาศบริสุทธ์ิ หากหายใจไม่สะดวกให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจ นำสง่ แพทย์ทันที การสัมผสั ทางผวิ หนัง: ถอดเส้อื ผ้าทเ่ี ปอ้ื นออกทันที ล้างออกด้วยนำ้ ปรมิ าณมาก การสมั ผัสทางดวงตา : ลา้ งด้วยน้ำปรมิ าณมาก ถอดคอนแทคเลนส์ออก เปดิ เปลอื กตาให้กวา้ ง ให้นำ้ ไหลผ่าน อย่างน้อย 15 นาที และนำสง่ แพทย์ทันที การกลืนกนิ : -

32

ข้อควรพิจารณาทางการแพทย์ที่ต้องทำทันทีและการดูแลรักษาเฉพาะที่สำคัญที่ควรดำเนินการ: ตรวจ สมรรถภาพการทำงานของปอด เอกซเรยป์ อด

5. มาตรการผจญเพลิง (firefighting measures สารดับเพลงิ ที่เหมาะสม : ให้ใชส้ ารดบั เพลิงทเ่ี หมาะสมกับการเกิดเพลิงไหมใ้ นบรเิ วณรอบๆ สารดบั เพลิงทีไ่ มเ่ หมาะสม : ไมม่ ี ความเป็นอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี: ไอระเหยอาจเคลื่อนที่ไปในระยะทางที่ห่างไกลออกไปจาก แหล่งกำเนิดประกายไฟ และย้อนกลับมาติดไฟ เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะก่อให้เกิดก๊าซที่เป็นพิษและระคายเคือง รวมทงั้ Nitrogen Oxides บรรจุภณั ฑอ์ าจระเบิดได้เมือ่ มเี พลงิ ไหม้ อุปกรณ์ป้องกันพิเศษ และข้อควรระวังสำหรับนักผจญเพลิง: สวมชุดดับเพลิง สวมหน้ากากป้องกันการ หายใจชนดิ มีถังอากาศ - ใหเ้ คล่ือนยา้ ยท่อบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้หากทำได้โดยปลอดภัย - กรณเี พลงิ ไหมท้ อ่ บรรจุ หรือเกิดใกลก้ บั บรเิ วณจดั เก็บท่อบรรจุแอมโมเนยี ใหด้ ับเพลงิ จากระยะไกลทีส่ ุด หรอื ใชห้ วั ฉีดนำ้ ชนดิ ที่ไมต่ อ้ งใช้คนถือ หรอื ใชแ้ ท่นฉีดน้ำแทน ให้ฉีดน้ำปริมาณมากหล่อเย็นท่อบรรจุจนกว่าเพลิงจะ สงบ - ห้ามฉดี นำ้ โดยตรงไปยงั รอยร่วั หรอื อปุ กรณร์ ะบายไอ - อยูใ่ หไ้ กลจากทอ่ บรรจุท่ีถกู ไฟลกุ ท่วมอยู่ - ท่อบรรจุอาจระเบิดไดเ้ มอ่ื ได้รบั ความรอ้ นสูง - ทอ่ บรรจอุ ัดความดัน เมอื่ มรี อยฉกี ขาดอาจพ่งุ ไปในทิศทางตรงข้ามกับรูรว่ั ได้ 6. มาตรการจดั การเมอ่ื มกี ารหกรวั่ ไหล (accidental release measures) ข้อควรระวังส่วนบุคคล: อพยพคนออกจากบริเวณที่ก๊าซรั่วไหล ห้ามสัมผัสสารเคมิโดยตรง ห้ามหายใจเอา ก๊าซเขา้ ไป ห้ามกระทำหารทีท่ ำให้เกดิ ความร้อน ประกายไฟ วิธีการและวสั ดสุ ำหรบั กักเก็บและทำความสะอาด : ให้ระบายอากาศในบรเิ วณทีก่ ๊าซรัว่ ไหล ใหป้ ิดแหล่งที่ทำ ให้เกิดการรั่วไหล ทั้งหมด ห้ามฉีดน้ำเป็นลำบนของเหลว ให้ฉีดน้ำเป็นละอองฝอยเพื่อลดหรือเปลี่ยนทิศทาง ของไอ สวมชุดปอ้ งกันสารเคมรี วมทั้งหน้ากากปอ้ งกนั การหายใจชนดิ มถี ังอัดอากาศ หากต้องเข้าปฏิบัติหนา้ ท่ี ในบริเวณทีแ่ อมโมเนียรั่วไหล 7. การใชแ้ ละการจัดเก็บ (handling and storage) ขอ้ ควรระวังในการขนถ่ายเคลื่อนยา้ ย ใชง้ านอยา่ งปลอดภยั : หลกี เสยี่ งการสมั ผสั กบั สาร ให้ใชส้ ารในบริเวณ ที่มีการระบายอากาศที่เพียงพอ ห้ามใช้สารในที่อับอากาศ ป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิต ห้ามไม่ให้มีเปลวไฟ ประกายไฟ สภาวะการเกบ็ รักษาอยา่ งปลอดภัย: ปดิ ภาชนะบรรจใุ หส้ นทิ เกบ็ ใหห้ า่ งจากสารรีดวิ ซ์ซ่ิง เบสแก่ เก็บในท่ีมืด แห้งและเยน็ เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศได้ดี ป้องกนั ไมใ่ ห้ถกู ความร้อนและแสง

33

8. การควบคมุ การได้รบั สัมผัสและการป้องกันสว่ นบคุ คล (exposure controls/personal protection)

อุปกรณ์ปอ้ งกันภยั ส่วนบคุ คล: สวมอุปกรณช์ ว่ ยหายใจแบบครบชดุ รองเทา้ บูท และถุงมอื ป้องกันสารเคมี

ข้อควรปฏบิ ัต:ิ เปล่ียนเสอื้ ผา้ ที่เปื้อนสารเคมี ลา้ งมือหลังการทำงานกบั สาร กอ่ นกนิ อาหาร สูบบุหรหี่ รือใช้

ห้องน้ำ ห้ามกนิ อาหาร ดื่ม หรือสูบบหุ รใี่ นสถานท่ีทำงาน

9. สมบัติทางกายภาพและเคมี (physical and chemical properties)

ลกั ษณะท่ัวไป : กา๊ ซเหลวถูกอดั ไม่มสี ี กลน่ิ :มกี ล่ินรนุ แรง

ค่าความเป็นกรดด่าง: 11.6 จุดหลอมเหลว/จดุ เยือกแข็ง : - 77.73 ๐C

จุดเดือดเรม่ิ ต้นและช่วงของการเดือด : -33.33 "C จดุ วาบไฟ:ไม่มีข้อมลู

อัตราการระเหย:ไม่มีข้อมลู

ค่าขดี จำกดั สงู สดุ และต่ำสดุ ของความไวไฟ หรอื ค่าขดี จำกัดสูงสดุ และต่ำสุดของการระเบิด (%, v/V) : ขดี ลา่ ง:

15 ขดี บน : 28

ความดันไอ: 658 mmHg ทอี่ ุณหภมู ิ 21 ๐C ความหนาแน่นไอ (อากาศ = 1) : 0.59

ความหนาแนน่ สัมพัทธ์ (นำ้ = 1) : 0.6969 ความสามารถในการละลายได:้ ในน้ำ : 54 g/I ท่ี 20 ๐C

อุณหภูมิทลี่ ุกติดไฟได้เอง: 651 ๐C อุณหภูมิของการสลายตวั : ไม่มีขอ้ มลู

10. ความเสถยี รและการเกิดปฏิกริ ยิ า (stability and reactivity)

การเกิดปฏิกิริยา: ทำปฏิกิริยารุนแรงกับฮาโลเจน (เช่น Fluorine, Chlorine, Bromine) กรด (Hydrogen

chloride, Hydrogen fluoride, Hydrogen Bromine); Nitrosyl Chloride; Chromyl Chloride;

Trioxygen Dichloride; Nitrogen Dioxide; Nitrogen Trichloride; Bromine Pentafluoride; Chlorine

trifluoride; Calcium Hypochlorite; และก่อให้เกิดสารระเบิดที่มีแรงดันและอุณหภูมิที่ไวต่อ Murcury;

Gold Oxides; Silver Salts และOxides

ความเสถยี รทางเคมี: เสถยี ร

สภาวะทคี่ วรหลกี เลย่ี ง: ความร้อน ความชื้น แสงแดด

วัสดุทเี่ ขา้ กนั ไม่ได:้ สารออกซไิ ดซอ์ ย่างแรง ( เชน่ Perchlorates, Peroxides, Permanganates, Chlorates

Nitrates);Chloroformates; Cyanides; Dimethyl Sulfate และโลหะ (เชน่ สงั กะสีทองแดง ทองเหลอื ง) นำ้

ผลติ ภณั ฑ์จากการสลายตัวทเ่ี ปน็ อันตราย: Nitrogen Oxide

11. ข้อมูลด้านพษิ วทิ ยา (toxicological information)

การหายใจเขา้ ไป: ระคายเคืองจมกู คอ ปอด ไอ เจ็บคอ หายใจถี่ มเี สียงหวดี

การสัมผสั ทางผิวหนัง: ระคายเคอื งผิวหนัง หากสมั ผสั เป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดผวิ หนงั เอกเสบได้

การสัมผสั ทางดวงตา: อาจระคายเคืองดวงตาปานกลางถงึ รุนแรง ตาแดง นำ้ ตาไหล

การกลืนกิน: หากกลืนไปเล็กน้อย อาจระคายเคืองปากและลำคอ, น้ำลายไหล, คลื่นไส้ อาเจียน หากกลืนเข้า

ไปปริมาณมากอาจทำใหป้ วดทอ้ ง ออ่ นเพลีย ชกั เกร็ง อาจเสยี ชีวิตหาก

34

ค่าประมาณการความเป็นพษิ เฉียบพลนั ความเป็นพิษเฉียบพลันทางปากของหน:ู LD50 (Oral, Rat) : 350 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรัม ความเป็นพษิ เฉียบพลันทางการหายใจ: LC50 (Inhalation, Rat): 2000ppm/4 ช่วั โมง 12. ขอ้ มูลด้านระบบนิเวศ (ecological information) ความเป็นพษิ ต่อปลา : Pinksalmon LC50 : 0.083 มลิ ลกิ รมั / ลิตร/ 96 ชัว่ โมง ความเปน็ พษิ ต่อ Crustacea : Daphnia magna EC 50 : 25.4 มลิ ลิกรมั / ลิตร/ 48 ชั่วโมง การตกคา้ ง ความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพ : ยอ่ ยสลายทางชวี ภาพไดอ้ ย่างรวดเรว็ ศกั ยภาพในการสะสมทางชวี ภาพ : ไม่สะสมทางชีวภาพ การเคล่อื นย้ายในดนิ : ไมม่ ีข้อมูล ผลกระทบในทางเสยี หายอ่ืนๆ : ไม่มีข้อมลู 13. ขอ้ พิจารณาในการกำจดั (disposal considerations) ข้อควรระวงั ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม : ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้สารไหลลงท่อระบายนำ้ หรือแม่น้ำ การกำจัดสาร: ติดต่อผู้ให้บริการกำจัดของเสีย ซึ่งมีใบประกอบอาชีพ ให้ตรวจสอบข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม ของรฐั และข้อกำหนดของทอ้ งถิ่น บรรจุภัณฑห์ า้ มนำกลบั มาใช้ใหม่ 14. ขอ้ มลู สำหรับการขนสง่ (transport information) ข้อควรระวังในการขนถ่ายเคลื่อนย้าย ใช้งานอย่างปลอดภัย: หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสาร ให้ใช้สารใน บรเิ วณทมี่ กี ารระบายอากาศท่เี พียงพอ สภาวะการเก็บรักษาอย่างปลอดภัย: ปิดให้สนิท ป้องกันไม่ให้ถูกความร้อนและแสง เก็บในบริเวณที่ระบาย อากาศได้ดีเก็บให้ห่างจากแหล่งกำเนิดประกายไฟและสารที่ติดฟได้และจัดเก็บแยกออกจากวัสดุที่เขากัน ไมไ่ ด้ 15. ข้อมลู เกยี่ วกบั กฎข้อบงั คบั (regulatory information) กฎขอ้ บงั คับของประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิวัตถอุ ันตราย พ.ศ. 2535 ประเภทวัตถุอันตราย: ชนิดที่ 3 (วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองต้อง ได้รับใบอนญุ าต) บัญชี ก (กรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องการขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ. 2546 ประกาศ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานเร่อื งการกำหนดชนดิ และประเภทสารเคมี พ.ศ. 2535 ลำดบั ที่ 22 16. ข้อมลู อนื่ ๆ (other information) แหล่งขอ้ มูลและเอกสารทีใ่ ช้ทำเอกสารข้อมูลความปลอดภัย

1. http://www.chemtrack.org/ 2. http://ghs.diw.go.th/

ETHYL ALCOHOL 35

ข้อมลู สารเคมอี ันตราย MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)

1. ข้อมลู ผลิตภณั ฑ์ (identification)

ชอื่ ผลติ ภัณฑ์: ETHYL ALCOHOL 70%

CAS registry number: 64-17-5

ประโยชน์ : ใชส้ กัดเย็น

ช่ือและหมายเลขโทรศัพท์ผู้จัดจำหน่าย: โรงงานเภสชั กรรมทหาร โทร 02-3902090

2. ข้อมลู ความเปน็ อนั ตราย (hazards identification)

การจำแนกสารเคมีอันตราย

สารท่รี ะเบิดได้ ก๊าซอนั ตราย/อดั แรงดัน ของเหลวไวไฟ/ติดไฟ

ของแข็งไวไฟ สารท่เี ติมออกซเิ จน สารเป็นพิษ

สารกัมมันตรังสี สารทำกัดกร่อนได้ สารกอ่ มะเรง็ อ่นื ๆ ระบุ

3. ส่วนประกอบและข้อมลู เกย่ี วกับสว่ นผสม (composition/information on ingredients)

ชอ่ื สารเคมที เ่ี ป็นส่วนประกอบ : ETHYL ALCOHOL 70% : 100 ml ประกอบด้วย

Ethyl alcohol 73.70 ml

Propylene glycol 18 ml

Methylene blue 0.1 mg

Purified water to 100 ml

แสดงสญั ลกั ษณ์ประเภทความเปน็ อนั ตราย

4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures การหายใจ : ให้ยา้ ยผปู้ ว่ ยไปยังบรเิ วณที่มอี ากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยดุ หายใจให้ผายปอดและนำส่งแพทยท์ ันที การสมั ผสั ดวงตา : ล้างดว้ ยน้ำปริมาณมาก ถอดคอนแทคเลนส์ ลมื ตาใหก้ ว้างเพื่อให้น้ำไหลผ่าน อย่างน้อย 15 นาที การสัมผัสทางผวิ หนัง : ถอดเสือ้ ผา้ ทเ่ี ปือ้ นออกทนั ที ลา้ งออกด้วยน้ำปริมาณมาก เพอื่ ใหน้ ำ้ ไหลผา่ น อย่าง น้อย 15 นาที

36

การรับประทาน : บ้วนปาก ห้ามทำให้อาเจียน นำส่งแพทย์ทันทข้อควรพิจารณาทางการแพทย์ที่ต้องทำ ทนั ทแี ละการดูแลรกั ษาเฉพาะทสี่ ำคัญทคี่ วรดำเนนิ การ:ตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด เอกซเรยป์ อด

5. มาตรการผจญเพลิง (firefighting measures

จดุ วาบไฟ (Flash point) : 13°C (55 F)

อุณหภูมทิ ีส่ ามารถตดิ ไฟไดเ้ อง : 422°C (792 F)

การดับเพลิง : ใช้ผงเคมีแห้ง ฮาลอน แอลกอฮอล์โฟม หรือ คาร์บอนไดออกไซด์ และควรมีการหล่อเย็น

ภาชนะบรรจุท่ลี ุกตดิ ไฟโดยสเปรยด์ ว้ ยน้ำเพอ่ื ลดความดนั ไปของสาร

6. มาตรการจดั การเมอ่ื มีการหกรั่วไหล (accidental release measures)

- อพยพคนออกจากบริเวณ หา้ มสัมผัสสารเคมโี ดยตรง

- สวมหน้ากากป้องกันการหายใจชนิดมีถังอัดอากาศ หรือหน้ากากป้องกันก๊าซอินทรีย์และไอระเหย รองเท้า

บทู ถุงมอื ยาง

- เก็บโดยใชท้ รายกลบ เกบ็ ใส่ภาชนะทีป่ ดิ สนิทใหม้ ากสดุ เทา่ ทที่ ำได้ลา้ งส่วนท่ีเหลอื ดว้ ยน้ำจำนวนมาก ๆ

- ทำการดูดระบายอากาศ เคลอื่ นย้ายแหล่งทตี่ ดิ ไฟได้ท้ังหมด หา้ มทำใหเ้ กิดประกายไฟในบรเิ วณนัน้ ๆ ใช้น้ำ

สเปรยเ์ พื่อลดไอระเหยของสารเคมี

7. การใชแ้ ละการจัดเกบ็ (handling and storage)

- ปิดใหส้ นิท เกบ็ ทแี่ หง้ และเย็น ใหห้ า่ งจากความร้อน ประกายไฟ เปลวไฟ

- เก็บใหห้ า่ งสารออกซิไดซ์ (hydrogen peroxide, potassium permanganate) เน่ืองจากอาจทำใหเ้ กิด

ระเบิดและติดไฟได้ ถ้าทำปฏิกิริยากบั สารเหล่านี้

- เก็บให้ห่างจากความร้อน/ประกายไฟ/ เปลวไฟ / พนื้ ผวิ ที่รอ้ น -หา้ มสบู บหุ รี่ เก็บในท่ีมีการระบายอากาศดี

8. การควบคุมการไดร้ บั สัมผัสและการปอ้ งกันสว่ นบคุ คล (exposure controls/personal protection)

- หลกี เล่ยี งการหายใจเอาไอระเหยของสารเข้าไป

- สวมถุงมือป้องกนั ชดุ ป้องกันอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ดวงตา/อุปกรณ์ปอ้ งกันหน้า

9. สมบตั ิทางกายภาพและเคมี (physical and chemical properties)

จุดหลอมเหลว : - 117°C จดุ เดือด : 78°C

ความถ่วงจำเพาะ : 0.7893 ความดนั ไอ : 40 mmHg ที่ 13°C

อตั ราการระเหย : 1.4 (Carbon tetrachloride = 1) Molecular mass: 46.1

การละลายนำ้ : ละลายนำ้ ได้อย่างสมบรู ณ์ ลกั ษณะท่ัวไป : ของเหลวใส ไมม่ ีสี

10. ความเสถียรและการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า (stability and reactivity)

คงตวั ทางเคมี : เสถียรภายใต้ อณุ หภมู ิ และความดนั ปกติ

สภาวะที่ควรหลกี เล่ียง: Incompatible materials, ignition sources, excess heat, oxidizers

ผลิตภัณฑอ์ ันตรายท่เี กดิ จากการสลายตวั : คารบ์ อนมอนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์

37

11. ขอ้ มลู ดา้ นพิษวทิ ยา (toxicological information)

ของเหลวและไอระเหยไวไฟสูง ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง อาจเกิดความผิดปกติต่อพันธุกรรม ทำ

อันตรายต่อระบบประสาทส่วนกลาง อาจระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ หรืออาจทำให้ง่วงซึม หรือมึนงง ทำ

อันตรายต่อระบบประสาทสว่ นกลาง ตบั เมือ่ สัมผสั เป็นเวลานาน หรือสมั ผัสซำ้

การหายใจ: ไอ ปวดศรี ษะ งว่ งซึม อ่อนลา้ ผิวหนัง : ผิวหนังแห้ง

ตา : ตาแดง ปวดตา ตาไหม้ การกลนื กิน :แสบปาก คอ

Teratogenicity:

Oral, Human - woman: TDLo = 41 gm/kg (female 41 week(s) after conception)

Effects on Newborn - Apgar score (human only) and Effects on Newborn - other neonatal

measures or effects and Effects on Newborn – drug dependence.

Reproductive Effects:

Intrauterine, Human - woman: TDLo = 200 mg/kg (female 5day(s) pre-mating) Fertility – female

Fertility index (e.g. # females pregnant per # sperm positive females; # females pregnant per

# females mated).

Neurotoxicity: ยงั ไม่มขี ้อมลู

12. ขอ้ มลู ดา้ นระบบนิเวศ (ecological information)

ข้อมลู เพ่ิมเติมทางนิเวศ: เก็บห่างจากท่อระบายนำ้ และทางระบายน้ำ การรายงานการรัว่ ไหล และเผยแพร่ให้

เป็นตามขอ้ บงั คับภายใตก้ ฎระเบียบของรัฐบาล

Ecotoxicity

- Ethyl alcohol 64-17-5 Toxicity to fish: LC50 Species: Leuciscus idus (Golden orfe) Dose: 8,140

mg/l Exposure time: 48 h

- Acute and prolonged toxicity for aquatic invertebrates: EC50 Species: Daphnia magna (Water

flea) Dose: 9,268 - 14,221 mg/l Exposure time: 48 h

13. ข้อพจิ ารณาในการกำจัด (disposal considerations)

การกำจัด: ทิง้ ภาชนะบรรจุทไ่ี ม่ได้ใช้เป็นขยะอันตราย ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของรฐั บาล

14. ขอ้ มลู สำหรับการขนสง่ (transport information) CFR Proper shipping name: Denatured Alcohol UN-No: 1987 Class: 3 Packing group: II Emergency Response Guidebook Number: 127

38

15. ขอ้ มูลเก่ยี วกับกฎข้อบงั คบั (regulatory information) TSCA Status: On TSCA Inventory DSL Status: All components of this product are on the Canadian DSL list. SARA 3 1 1 / 3 1 2 Hazards: Fire Hazard Acute Health Hazard Chronic Health Hazard

16. ขอ้ มลู อนื่ ๆ (other information) แหล่งข้อมูลและเอกสารทีใ่ ช้ทำเอกสารข้อมูลความปลอดภยั

1. http://www.chemtrack.org/ 2. http://ghs.diw.go.th/

Hydrochloric Acid 39

ข้อมูลสารเคมอี นั ตราย MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)

1. ขอ้ มลู ผลิตภณั ฑ์ (identification)

ชือ่ ผลิตภัณฑ์: กรดไฮโดรคลอรกิ 35% (Hydrochloric Acid 35%)

CAS registry number: 7647-01-0

ประโยชน์ : รีเอเจนต์สำหรับการวเิ คราะห์, การผลิตทางเคมี

ชอ่ื และหมายเลขโทรศัพท์ผ้จู ัดจำหน่าย: บริษัท อนั ช่งิ อนิ ดัสทรี จำกดั 109/20 หมู่ 9 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตำบล สวนหลวง อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110

2. ขอ้ มูลความเป็นอันตราย (hazards identification)

การจำแนกสารเคมีอนั ตราย

สารท่รี ะเบดิ ได้ ก๊าซอนั ตราย/อดั แรงดนั ของเหลวไวไฟ/ตดิ ไฟ

ของแข็งไวไฟ สารท่เี ตมิ ออกซเิ จน สารเปน็ พษิ

สารกัมมนั ตรังสี สารทำกดั กร่อนได้ สารก่อมะเร็ง อ่นื ๆ ระบุ

3. สว่ นประกอบและข้อมูลเก่ียวกับส่วนผสม (composition/information on ingredients)

ชอ่ื สารเคมีท่เี ป็นส่วนประกอบ : Hydrochloric Acid 35% ประกอบดว้ ย

เลขรหัสซีเอเอส: 7647-01-0 เลขดชั นอี ีซี: 017-002-00-2

เลขยูเอ็น: 1789 เลขอไี อเอ็นอซี เี อสะ 231-595-7

มวลตอ่ โมล :36.46

สตู รโมเลกุละ HCI

แสดงสญั ลกั ษณ์ประเภทความเปน็ อนั ตราย

4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures เม่อื สดู คม: ให้รบั อากาสบรสิ ุทธ์ิ นำสง่ แพทย์ เมื่อถูกผิวหนัง: ชะล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ทาด้วยพอดีเอทิลีนไกลคอล 400 ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนออก ทันที เมอื่ เข้าตา: ชะออกด้วยนำ้ ปริมาณมากเป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย 10 นาที โดยลืมตากวา้ ง พบจกั ษุแพทยท์ ันที

40

เมอื่ กลนื กนิ : ใหผ้ ปู้ ว่ ยด่มื นำ้ ปรมิ าณมาก (หลายลติ รถา้ จำเป็น), ไมค่ วรทำให้อาเจียน (อาจทำให้เกิดการกัด

จนทะลุ) นำสง่ แพทยท์ ันที ห้ามปรบั สภาพสารใหเ้ ปน็ กลาง

5. มาตรการผจญเพลิง (firefighting measures

สารดับไฟที่เหมาะสม: เลือกใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับวัสดุท่ีอยู่ในบรเิ วณใกล้เดยี ง ลดอุณหภูมิของถัง บรรจดุ ้วยน้ำ ข้อมูลอันตรายอื่น:ไอระเหยทีห่ นักกว่าอากาศ หา้ มสัมผสั กับน้ำ เม่ือเกิดเพลิงไหม้ จะก่อให้เกิดแก๊สหรือไอ ระเหยทเ่ี ปน็ อนั ตราย ใชน้ ้ำกำจัดไอระเหย ลดอณุ หภูมิของถังบรรจุด้วยน้ำ อุปกรณ์ป้องกันพิเศษสำหรับการผจญเพลิง: ห้ามอยู่บริเวณที่อันตรายโดยปราศจากชุดปอ้ งกันสารเคมีที่ เหมาะสม และเครื่องชว่ ยหายใจ ขอ้ มูลอืน่ :ไมล่ กุ ไหมต้ ดิ ไฟ ป้องกันไม่ให้น้ำทใ่ี ช้ดับเพลิงแล้วไหลลงสแู่ หล่งน้ำบนดนิ หรือใตด้ นิ 6. มาตรการจดั การเมื่อมีการหกรัว่ ไหล (accidental release measures) ข้อควรระวงั ส่วนบุคคล: หา้ มสูดดมไอระเหย วิธีทำความสะอาด/ดูดชับ: อุดรอยรั่ว ข้าขถังบรรจุไปขังบริเวณที่ โล่ง ข้าขถังบรรจุออกจากบริเวณ อนั ตราย ลดอุณหภมู โิ ดยการฉีดพ่นดว้ ยนำ้ ใชน้ ้ำกำจดั ไอระเหย มาตรการปกป้องสงิ่ แวดล้อม: ป้องกนั ไมใ่ หไ้ หลลงสรู่ ะบบสุขาภบิ าล, ดิน หรือส่งิ แวดลอ้ ม 7. การใชแ้ ละการจดั เกบ็ (handling and storage) การจดั การ: ไม่มขี ้อบังคบั อื่น การเกบ็ : ปดิ ให้แน่น บริเวณท่ีมกี ารถา่ ยเทอากาศไดด้ ี หา่ งจากสารท่ไี หมไ้ ฟได้ เก็บห่างจากแหล่งกำเนิด ประกายไฟ มีอายุการใช้งานจำกัด ณ. อุณหภูม+ิ 15 ถงึ +25 องศาเซลเซยี ส

8. การควบคมุ การไดร้ ับสัมผัสและการป้องกนั สว่ นบุคคล (exposure controls/personal protection)

ตัวแปรควบคุมเฉพาะ:

การป้องกนั ระบบหายใจ: จำเปน็ เม่ือมีไอระเหยละออง

การป้องกนั ตา: จำเปน็

การปอ้ งกนั มือ: จำเป็น

อุปกรณ์ป้องกนั อ่ืนๆ: ตวั กรองชนดิ B (ตามมาตรฐาน DIN 3181) สำหรบั แก๊สและไอระเหยของสารอนนิ ทรีย์,

ตัวกรองชนดิ E (ตามมาตรฐาน DIN 3181) สำหรับ ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ และกรดไฮโดรคลอริก

ข้อควรปฏบิ ตั ิ เปล่ียนเสื้อผ้าท่เี ปอื้ นสารเคมีทนั ที ทาครมี ป้องกันผวิ หนงั ล้างมือและหน้าหลังจากการใช้สาร

ทำงานภายใตต้ ู้ควนั ห้ามสูดดมสาร

41

9. สมบตั ิทางกายภาพและเคมี (physical and chemical properties)

สถานะทางกายภาพ: ของเหลว,แก็ส ส:ี ไมม่ สี ี กลน่ิ : ฉุน

พเี อช ไมม่ ขี ้อมลู

ความหนดื ไดนามิค 0.0148 mPa*s

จุดเดอื ด/ชว่ งการเดือด -85 °C

จดุ หลอมเหลว/ช่วงการหลอมเหลว -112 °C

อณุ หภูมลิ กุ ติดไฟดว้ ยตนเอง ไม่มีขอ้ มูล

ถพ./ความหนาแน่น 1.18g/cm3

จุดวาบไฟ ไม่มีขอ้ มลู

ขอบเขตการระเบดิ ล่าง ไม่มีข้อมลู

บน ไมม่ ีข้อมูล

ความสามารในการละลาย นำ้ 720 g/l

10. ความเสถียรและการเกิดปฏิกริ ิยา (stability and reactivity)

สภาวะท่ตี ้องหลีกเลย่ี ง การให้ความรอ้ น

สารที่ตอ้ งหลกี เลยี่ ง โลหะอัลคาไล, อะลูมเิ นยี ม ในสภาพท่เี ป็นผง , กรดซัลฟิวรกิ เขม้ ข้น

ผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวท่ีเปน็ อันตราย ไม่มขี อ้ มลู

11. ข้อมูลด้านพิษวทิ ยา (toxicological information) พษิ เฉยี บพลนั LC50 (inhalation, rat): 3124 ppm(V) /1 h ความเปน็ พิษกึ่งเฉยี บพลนั ถึงเรอื้ รัง ไมส่ ่งผลกระทบท่เี ป็นพษิ ต่อทารกในครรภภ์ ายใต้ปรมิ าณความเขม้ ข้นท่ยี อมให้มีได้ ข้อมูลเพิ่มเติมทางพษิ วทิ ยา เมือ่ สูดดม: เป็นพิษไอ , หายใจล าบาก การสดู ดมอาจทำให้เกดิ อาการบวมนำ้ (edema) ในทางเดนิ หายใจ เมอื่ สมั ผัสผิวหนัง: แผลไหม้ เม่ือเขา้ ตา: แผลไหม้ ; อาจก่อใหเ้ กิดต้อในตา เมื่อกลืนกนิ : แผลไหม้ในหลอดอาหารและกระเพาะ เม่อื ได้รับสารปริมาณมาก: ตัวเขยี ว , หลอดเลอื ดเล้ียงหัวใจตีบตัน หยุดหายใจทนั ที ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ควรใช้ผลิตภณั ฑ์ดว้ ยความระมดั ระวังเช่นเดยี วกับเม่อื ท างานกับสารเคมี

42

12. ขอ้ มูลดา้ นระบบนเิ วศ (ecological information)

ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศน์: ไมม่ ขี ้อมลู เฉพาะ

ขอ้ มลู อ่นื ๆเกยี่ วกับระบบนเิ วศน์

ด้วย น้ำ : สามารถเกิดเป็น กรดไฮโดรคลอรกิ

ข้อมลู สำหรับกรดไฮโดรคลอรกิ โดยท่วั ไป: เป็นพษิ ตอ่ สิง่ มีชีวติ อาศัยอยู่ในนำ้ อนั ตรายเกดิ จากการเปลย่ี นค่าพี

เอช ผลกระทบทางชีวภาพ: กรดไฮโดรคลอริก (รวมทั้งที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา): ปลาตายตั้งแต่ 25 mg/;

Lcuciscus Idus LC50: 862 mg/ (สารละลาย IN) อันตรายเริ่มท่ี: พืช 6 mg/l ไม่ก่อให้เกิดการขาดออกซิเจน

ในระบบชีวภาพหา้ มทิ้งลงสรู่ ะบบน้ำ, นำ้ เสยี หรือดนิ

13. ข้อพจิ ารณาในการกำจัด (disposal considerations)

ผลิตภัณฑ์: ไม่มีกฎข้อบังคับของอีซีว่าด้วยการกำจัดสารเคมีหรือกากเคมีซึ่งมักจะถือว่าเป็นของเสียเฉพาะ

ประเทศสมาชิกอีซีมีกฎหมายและข้อบังกับในการกำจัดของเสียเฉพาะเหล่านั้น โปรดติดต่อผู้รับผิดชอบหรือ

บริษทั รับกำจัดของเสียท่ีได้รบั อนุญาตเพื่อปรกึ ษาวิธีกำจัด

บรรจุภณั ฑ:์ กำจดั ตามระเบียบราชการ หบี หอ่ ทปี่ นเปือ้ นสารเคมีใหจ้ ดั การเช่นเดียวกับตัวสารเคมี สำหรับหีบ

ห่อที่ ไม่เปื้อนให้กำจัดเหมือนของเสียตามบ้านหรือนำมาใช้ใหม่ หากไม่มีข้อกำหนดอื่นเป็นพิเศษ ติดต่อ

บริษทั ผูผ้ ลติ ตามทร่ี ะบุในฉลาก

14. ขอ้ มูลสำหรับการขนส่ง (transport information)

ชือ่ ทางการขนสง่ : Hydrochloric acid

รหัส UN : 1789

ประเภทอันตราย: 8

ประเภทการบรรจหุ บี หอ่ :กลุ่ม II

15. ขอ้ มลู เกีย่ วกับกฎขอ้ บังคบั (regulatory information)

สัญลักษณ์: C กดั กร่อน

T เป็นพษิ

ข้อมูลเก่ยี วกบั อนั ตราย: R 23-35 เปน็ พษิ เมอ่ื สดู ดม ทำใหเ้ กิดแผลไหมอ้ ย่างรนุ แรง

ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภยั : S 9-26-36/37/39-45 เกบ็ ภาชนะในท่ีอากาศระบายได้ดเี ม่ือเข้าตา ล้างทันที

ด้วยนำ้ ปริมาณมาก, พบแพทย์ สวมชดุ ปอ้ งกัน, ถุงมอื และอุปกรณป์ อ้ งกันตาและหนา้ ทีเ่ หมาะสม ในกรณีทเี่ กิด