กำหนดการอบรมส ขภาพจ ตด ช ว ม ส ขผ ส งอาย

ผลการดำเนินงานรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นกครงะขทอรงวนมงนกุาษายรยพ์ักฒันนผาตู้สตัพงรควงมจรแศา์ลชะกรคัาวงราษมีมสั่นวค่งาขงองมนุษย์

ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

ในเดือนกันยายน 2565

คำนำ

รายงานผลการดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อ รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565 ตามคำสั่งกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ที่ 569/2565 เรื่องหมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่ โดยมอบหมาย นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ และนายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับ ติดตาม ให้คำปรึกษาแนะนำ หรือดำเนินการอื่นใด ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินโครงการและกิจกรรมในภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกเกิดผลสัมฤทธิ์

ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำรายงานฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ในการนำไปวางแผนแนวทางการดำเนินงาน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนต่อไป

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก

หน้า ก

บทสรุปผู้บริหาร

1 การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100% 2 การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 3 การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย 4 การขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล 5 การเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาแนะนำหน่วยงานในสังกัด

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก (One Home)

6 การปฏิบัติราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง

หน้า ข

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีคำสั่งมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้ นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และนายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปฏิบัติหน้าที่ในการกำกับ ติดตาม ให้คำปรึกษาแนะนำ หรือดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการและกิจกรรมในภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกเกิดผลสัมฤทธิ์ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565

ในการนี้ ข้าราชการได้ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ คือ

  1. การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100% 2) การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 3) การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย 4) การขับเคลื่อนการ ดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล และการปฏิบัติราชการ อื่นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1 การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100%

ดำเนินการลงพื้นที่พบนายอำเภอทุกอำเภอ เพื่อหารือแนวทางการนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ให้ครบ 100% รวมถึงการลงพื้นที่สังเกตการณ์จุดรับลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐทุกอำเภอ พบว่ามีกลุ่มเปราะบางบางคน ไม่สามารถเข้าถึงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐได้ เนื่องจากเป็นผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่มีบัตรประจำตัวประชาชนแบบ อเนกประสงค์ (Smart Card) หรือบัตรประจำตัวประชาชนหมดอายุ จึงนำเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ในการจัดบริการ รถโมบายล์ทำบัตรประชาชนเคลื่อนที่ พร้อมเจ้าหน้าที่ออกไปให้บริการแก่คนเปราะบางดังกล่าว

กรณีคนเร่ร่อน และคนไร้ที่พึ่ง ดำเนินการร่วมกับศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงาน One Home จังหวัดพิษณุโลก สถานีตำรวจภูธรเมืองพิษณุโลก เทศบาลนครพิษณุโลก เทศกิจ ในการสำรวจกลุ่มคนเร่ร่อน และคนไร้ที่พึ่ง ตามที่สาธารณะ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐและอำนวยความสะดวกนำไปลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ สำนักงานคลังจังหวัดพิษณุโลกในทันที

ปัจจุบันมีผู้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 มีจำนวน ทั้งสิ้น 147,501 คน คิดเป็นร้อยละ 110.13 ของคนเปราะบางทั้งหมดในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก (จังหวัดพิษณุโลกมีครัวเรือน เปราะบาง จำนวน 53,488 ครัวเรือน จำนวนคน 133,933 คน)

2 การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver)

ดำเนินการเข้าพบนายชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก เพื่อหารือแนวทาง กเาพืร่อจัดดำกเนาิรนอโบครรมงกหาลรักหสลูัตกรสผููต้ดูรแกลาผรู้สดููงแอลาผูย้สุูง4อ2า0ยุชั่(วCโaมrงe(GCiavreer)Gแivลeะrก) าแรลพะัฒดำนเานิคนุณกภาราจพัดชีทวิำตบกันลุ่ทมึเกปข้รอาตะกบลางงครวะาหมวร่่าวงมสมำือนัก(MงาOนUพั)ฒนา พสัิงษคณมุโแลลกะคแวลาะมสมำั่นนัคกงงขานองส่มงเนสุษริยม์จกังาหรศวัึดกพษิษานณุอโกลรกะมบหบาแวลิทะยกาาลรัยศึรกาษชาภตัฏาพมิอบัูธลยสางศคัยรจาัมงหจัวงัหดพวัิดษพณิุษโณลุกโลนกอสกำจนาักกนงี้ามนีกสาารธบาูรรณณาสุกขาจรังคหววาัดม รส่วภมามกือาชกัาบดอไงทค์ยกรแแลละะหเนค่วรือยงข่าานยผทูี้่ดเูกแี่ยลวTข้hอaงiเMช่นOOโรCงพ(กยาารบศลึกพิษษาณแุบเวบชเพปิิษดณเพุืโ่อลกกาโรรเรงีเยรีนยรนู้ตชลาอติดตชรีวะิตก)ารวิทยา สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ และภาคกปารฏิอบับติรมจำหนลัวกนสูต2ร2ผู0้ดูชแั่วลโผูม้สงูงกอำาหยุน4ด2ก0ลุ่ชมั่วเปโ้มางห(มCาaยrเeข้าGร่ivวeมrอ)บแรบม่งเจปำ็นนว2นภ6า0ค คคืนอ โภดายคคทณฤะษพฎียจาบำนาลวนศา2ส0ต0ร์ ชั่วโมง มกหรามวิสทนยับาสลันยุนราบชริภกัฏาพริสบุูขลภสางพคร(าสมบจสัง.ห) สวัำดนพัิกษงณาุนโลพักฒเนป็านสัผูง้กคำมหแนลดะแคผวนามกมาั่รนจคัดงกขาอรงศมึกนุษษายแ์จลังะหยืว่ันดคพิำษขณอุรโัลบกรอเงสหนลอักโคสูรตงรกจาารกฯ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนผู้สูงอายุ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) สถานที่ในการอบรมภาคทฤษฎี คือ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก และสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอในพื้นที่ทุกอำเภอ และสถานที่ในการอบรมภาคปฏิบัติ คือ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สตำงคบรลาใมนจพัืง้นหทีว่ัดปัพจิษจุณบัุนโลอกยู่รโะรงหพว่ยางาพบิจาลารพิณษาณอุเนวุมชัพติิโษคณรุงโกลากรสกำานรัอกบงารนมสหาลัธกาสรูตณรสผุู้ขดูอแำลเผภู้สอูงใอนาพืย้นุ 4ที่2แ0ลชะั่วโรโมงพง ย(CาaบrาeลสG่งivเสeรrิ)มโสดุขยภาพ 4ค2ณ0ะกชั่รวรโมมงกา(CรบarรeิหGารivกeอrง)ทไุนด้ทผูั้สนูงทีอายุ เมื่อโครงการฯ ได้รับการอนุมัติสามารถดำเนินการจัดการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ

3 การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

ดำเนินการเข้าพบ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน เศรษฐกิจและสังคม สำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์สังกัดสาขา ภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อหารือแนวทางการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย และร่วมกำหนดแนวทางการอบรมพัฒนาศักยภาพครู และพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย โดยการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้าน 7Q และ 4C ให้แก่เด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมายเป็นครู และพี่เลี้ยงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 227 คน และขยายผลแก่ครูและพี่เลี้ยงเด็กในสถาน รับเลี้ยงเด็กเอกชน พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง และสภาเด็กและเยาวชนต่อไป ได้รับเกียรติจากนายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก และอาจารย์จากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นวิทยากรตลอดการอบรม

การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย มีการบูรณาการร่วมกับบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนครองเด็ก กรมกิจการเด็กและเยาวช ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นที่ปรึกษาโครงการฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์สังกัดสาขาภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหัวหน้าทีมในการพัฒนาหลักสูตรการอบรมฯ และมีคณะ แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นทีมสนับสนุน

4 การขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล

ดำเนินการประชุมหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่จังหวัด พิษณุโลก (One Home) เพื่อหาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล และร่วมกำหนดแนวทาง การขับเคลื่อนโดยการประเมินมาตรฐานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล 3 ด้าน คือ ด้านคณะทำงาน ด้านผลการทำงานของศูนย์ และด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ และจัดกิจกรรมประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติพร้อมมอบรางวัลศูนย์ช่วยเหลือสังคม ตำบลดีเด่น

5 การเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาแนะนำหน่วยงานในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก (One Home)

ดำเนินการลงพื้นที่เยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาแนะนำ และให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก (One Home) ทุกหน่วยงาน โดยให้คำแนะนำด้านกฎหมายในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งเน้นย้ำหน่วยงานนิคมสร้างตนเองทุ่งสาน จังหวัดพิษณุโลก และนิคมสร้างตนเองบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ในการออกเอกสารสิทธิ์ น.ค.1 น.ค.2 และ น.ค.3 การตรวจสอบคุณสมบัติราษฎรที่สมัครเป็นสมาชิกนิคมรายใหม่ การพิสูจน์ สิทธิสมาชิกนิคมรายเดิม ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 ให้คำแนะนำด้านสังคมสงเคราะห์ แก่หน่วยงานที่ให้บริการในการคุ้มครองสวัสดิภาพกลุ่มเป้าหมาย โดยให้คำนึงถึงจรรยาบรรณวิชาชีพและสิทธิมนุษยชน รวมถึงความปลอดภัยและสวัสดิภาพทั้งของผู้รับบริการและของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงเน้นย้ำการนำกลุ่มเปราะบาง ในพื้นที่ไปลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100%

6 การปฏิบัติราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง

ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนองค์กร และเครื่อข่ายที่ดำเนินงานขับเคลื่อนงานด้านสังคมและงานพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบาง เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินโครงการและกิจกรรมในภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกเกิดผลสัมฤทธิ์

การปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก โดยนางสาวแรมรุ้ง วรวัธ ตำแหน่ง รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ และนายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ตามภารกิจหลัก 4 ภารกิจ คือ 1) การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100%

  1. การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 3) การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย
  2. การขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล และการปฏิบัติราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง ดำเนินไปด้วยความ เรียบร้อย มีการขับเคลื่อนนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินโครงการและกิจกรรมในภารกิจของกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกจนเกิดผลสัมฤทธิ์โดยสมบูรณ์

สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก บทสรุปผู้บริหาร ข

1. Time line การปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกในเดือนกันยายน 2565 1

2. การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 2 3. การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ 17

4. การอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัยเพื่อเสริมสร้างทักษะ 7Q 30

5. การขับเคลื่อนศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล 38

6. การเยี่ยมเยียนหน่วยงาน One Home ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก 41

7. การปฏิบัติราชการอื่นๆ 52

ภาคผนวก

1. สำเนาคำสั่งกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่ 569/2565 เรื่อง มอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่

2. บันทึกข้อตกลง (MOU) การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 3. แผนการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 4. โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์รับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) 5. รายงานประจำวันการดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

ผลการดำเนินงาน ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ ในเดือนกันยายน 2565 นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง

รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้ตรวรราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

วันศุกร์ที่ 2 ก.ย.65 09.30 น. ร่วมพิธีมอบใบประกาศเกียรติบัตรปริญญาชีวิต 13.30 น. ข้าพบ ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันเสาร์ที่ 3 ก.ย.65 แก่ผู้สำเร็จการฝึกอบรม ณ ทต.ลายชุมพล อ.เมืองพิษณุโลก เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ณ มราชภัฏพิบูลฯ วันจันทร์ที่ 5 ก.ย.65 วันอังคารที่ 6 ก.ย.65 09.30 น. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมการดำเนินงาน 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร วันศุกร์ที่ 9 ก.ย.65 ของนิคมสร้างตนเองทุ่งสาน จ.พิษณุโลก เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาหลักสูตร ครูพี่เลี้ยงเด็ก วันเสาร์ที่ 10 ก.ย.65 10.00 น. ออกอากาศรายการห้องนั่งเล่า 11.00 น. เข้าพบ น.อ.ณวรุณ ดีมา 11.30 น. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม 14.00 น. เข้าพบนายอัครโชค สุวรรณทอง 15.00 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน วันจันทร์12 ก.ย.65 ช่อง NBT เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการกองบุญ รองผู้บัญชาการกองบิน 46 เพื่อประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานของสถาน นายอำเภอวังทอง เพื่อหารือแนวทางการรับลงทะเบียน ประจำจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ และประชาชน เพื่อกลุ่มเปราะบาง โครงการกองบุญเพื่อกลุ่มเปราะบาง ธนานุเคราะ์ 39 พิษณุโลก เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ ที่ว่าการ อ.วังทอง ที่มารับบริการวันแรก ณ จุดลงทะเบียน อบต.ชมพู

08.30 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประจำจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ 09.00 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประจำจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ 09.30 น. เข้าร่วมงานมหกรรมวันเยาวชนจังหวัดพิษณุโลก แห่งรัฐ และประชาชนที่มารับบริการ ณ จุดลงทะเบียน สนง.คลัง จ.พิษณุโลก และประชาชนที่มารับบริการ ณ จุดลงทะเบียนศูนย์ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น อ.เมืองพิษณุโลก ณ ห้องประชุมโรงเรียนพุทธชินราชพิทยา

09.30 น. ลงพื้นที่เตรียมความพร้อมการประชุมติดตามผลการดำเนินงาน 14.00 น. ร่วมประชุมติดตามผลการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบลบ้านกร่าง 16.00 น. ร่วมประชุมคณะผู้บริหารกระทรวง พม. โดยมีนายอนุกูล ปีดแก้ว อพส. ศชส.ต.บ้านกร่าง ณ อบต.บ้านกร่าง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. เป็นประธานฯ ณ อบต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก เป็นประธานฯ ณ ห้องประชุมพระบรมไตรโลกนาถ 741 อาคารศาลากลาง จ.พิษณุโลก

0ณใ9ห้.แ3ร0กร่.ปบน้รา.ะนรช่เวาขมชาพนสิธมทีเุอปกิแกดคลโุ่คลมรงวังริย้กวศาปิีรริส2ว่ังฒ5เ6สน5์รอิุมโปดกถยัามรมีภจ์ันดตากิ.ยวจัจงกุทตริอรไมงกสรอรฤ้.าวกังงษสท์รอรรงมค์วจส.ั.พนพิมทษ.นณเุาปโก็ลนากปร(รกะีฬธาา)นฯ 10.00 น. เยี่ยมให้กำลังใจผู้ลงทะเบียน 10.30 น. ร่วมพิธีเปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคม ต.วังนกแอ่น 11.30 น. เยี่ยมให้กำลังใจผู้ประสบปัญหา เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐปี 2565 ณ ที่ทำการ โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. เป็นประธานฯ ณ บ้านประธาน ทางสังคมและมอบถุงยังชีพ อำเภอวังทอง จ.พิษณุโลก ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ในพื้นที่ ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

08.00 น. พบผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก 09.00 น. มอบเงินกู้ยืม 09.30 น. ประธานในพิธีเปิดและมอบนโยบายการ 10.00 น. เป็นประธานเปิดงาน 13.30 น. เป็นประธานการประชุมติดตามความก้าวหน้า 17.00 น. ประชุมผ่านระบบออนไลน์ เพื่อหารือเรื่องโครงการลงทะเบียนเพื่อ เพื่อการประกอบอาชีพ ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ส่งเสริมความรับผิด และส่งมอบรหัสผ่านการใช้งาน อพม. การพัฒนาระบบ อพม.smart เพื่อเชื่อมต่อกับระบบ MSO เพื่อร่วมหารือแนวทางการ สวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 และโครงการการจัด คนพิการ ชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) จ.พิษณุโลก smart ณ โรงแรมดิ อิมพีเรียล ร่วมกับมูลนิธิศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ จัดอบรมหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง หลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก ครั้งที่ 1/2565 ณ ห้องประชุม สนง.สภาเกษตรกร โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัด และร่วมกันจัดทำ MOU การจัดอบรม ณ ศาลากลาง จ.พิษณุโลก ศาลากลาง จ.พิษณุโลก พิษณุโลก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ หลักสูตรดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่จังหวัด ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก พิษณุโลก

วันอังคารที่ 13 ก.ย.65 09.00 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ 10.00 น. ร่วมกับพระคูบาบุญล้อม 13.00 น. เข้าพบนายธราดล อภิจารี ปลัดอาวุโส 14.00 น. ร่วมฟังเทศน์มหาชาติ "กองบุญเพื่อกลุ่ม 16.30 น. ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนให้กำลังใจ ผู้กู้ยืมเงิน ผู้ปฏิบัติงานประจำจุดลงทะเบียน เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ มอบเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ อ.บางระกำ เพื่อหารือแนวทางการรับลงทะเบียน เปราะบาง" กัณฑ์ที่ 8 กัณฑ์กุมาร ณ วัดโพธิ์ทอง ประกอบอาชีพคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการ ใน ณ จุดลงทะเบียน อบต.พันชาลี อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ม.7 ต.หนองพระ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ ที่ว่าการอำเภอบางระกำ ต.บางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก พื้นที่ ม.9 ต.ชุมแสงฯ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก

วันพุธที่ 14 ก.ย.65 10.00 น. เข้าร่วมพิธีมอบโล่ เข็ม และประกาศเกียรติคุณแก่ อพม. และองค์การที่มีกิจกรรมทางสังคมดีเด่น 13.00 น. ร่วมกิจกรรมการให้บริการจดทะเบียนคนพิการเคลื่อนที่ (One Stop Service) ประจำปี 2564 ระดับภาคเหนือตอนล่าง โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม.เป็นประธานฯ และกิจกรรมเปิดจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐแก่ประชาชนกลุ่มเปราะบาง โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม ณ โรงแรมเมย์ฟลาเวอร์ แกรนด์ พิษณุโลก อ.เมือง จ.พิษณุโลก มอบนโยบายแก่ผู้นำท้องที่ท้องถิ่นในการค้นหาประชาชนกลุ่มเปราะร่วมลงทะเบียนฯ ณ อบต.ชมพู อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

วันพฤหัสบดีที่ 15 ก.ย.65 09.30 น. ร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิดโครงการมหกรรมสร้างรายได้ และการพัฒนาอาชีพแก่ 11.30 น. เข้าพบนายเฉลิมชัย ขวัญเมือง นายอำเภอบางกระทุ่ม เพื่อหารือแนวทาง 12.30 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประจำจุด แม่เลี้ยงเดี่ยวและบุคคลในครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก โดยมีนายรณรงค์ นครจินดา การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิกาแห่งรัฐให้ทั่วถึงครบ 100% ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เป็นประธานฯ ณ โรงแรมเมย์ฟลาวเวอร์ แกรนด์ จ.พิษณุโลก ณ ที่ว่าการอำเภอบางกระทุ่ม อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก อบต.นครป่าหมาก อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

09.00 น. เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก 11.00 น. พบปะและให้กำลังใจผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความรู้และพัฒนา 13.00 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ 13.30 น. เข้าพบนายสมศักดิ์ เกี้ยวเกิด นายอำเภอ 16.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ผอ.รร.สาธิต ม.นเรศวร เพื่อหารือแนวทางการ ระบบเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา ผู้ปฏิบัติงานประจำจุดลงทะเบียนเพื่อ นครไทย เพื่อหารือแนวทางการนำกลุ่มเปราะบาง นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือ วันศุกร์ที่ 16 ก.ย.65 พัฒนาหลักสูตรอบรมพัฒนาศักยภาพครูและ ทางสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางในพื้นที่รับผิดชอบของ สวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียนศูนย์ ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิกาแห่งรัฐให้ทั่วถึงครบ 100% สำหรับเด็ก เพื่อหารือแนวทางการพัฒนา พี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง จ.พิษณุโลก ณ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ประสานแผนพัฒนาท้องถิ้นประจำอำเภอ ณ ที่ว่าการอำเภอนครไทย อ.นครไทย จ.พิษณุโลก หลักสูตรอบรมพัฒนาศักยภาพครูและ อ.นครไทย จ.พิษณุโลก นครไทย จ.พิษณุโลก พี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

วันเสาร์ที่ 17 ก.ย.65 09.00 น. ร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิดการประชุมสะท้อนผลและขยายผลเพื่อพัฒนาทักษะทาง 10.30 น. เข้าพบ ภญ.วรรณศิริ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ประธาน 14.30 น. เข้าร่วมพิธีเปิดสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม 15.00 น. เข้าร่วมพิธีเปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล วันอาทิตย์ที่ 18 ก.ย.65 ปัญญาและการคิดวิเคราะห์ของเด็กระดับอนุบาลผ่านการเล่านิทานสองภาษาของครู เจ้าหน้าที่บริหารเครือข่าย รพ.พิษณุเวช เพื่อหารือแนวทางการ จ.พิษณุโลก โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. เนินเพิ่ม โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. ให้เกียรติ วันจันทร์ที่ 19 ก.ย.65 และผู้ปกครองจิตอาสา ณ โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค จ.พิษณุโลก พัฒนาหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชม. ณ ห้องประชุม ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดฯ ณ สถาบัน เป็นประธานในพิธีเปิดฯ ณ สถาบันเพาะกล้า รพ.พิษณุเวช จ.พิษณุโลก เพาะกล้า ต.เนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก ต.เนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

10.00 น. ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 11.30 น. เป็นประธานมอบ เกียรติบัตรแก่สภาเด็กและ 13.30 น. ร่วมการประชุมหลักสูตรการอบรมดูแล 14.00 น. ร่วมกิจกรรมการถ่ายทอดเมนูพร้อมองค์ความรู้หลักวิทยาศาสตร์ (MOU) การจัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ (CARE เยาวชน จ.พิษณุโลก ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชม. โดยมี ผศ.ดร.ชุมพล ให้กับผู้ประกอบการในชุมชน โครงการวิจัยเรื่อง“การยกระดับอาหาร GIVER) 420 ชั่วโมง โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์ เครือข่ายสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดพิษณุโลก เสมาขันธ์ อธิการบดี ม.ราชภัฏพิบูลฯ เป็นประธานฯ พื้นถิ่นจังหวัดพิษณุโลกไปสู่อาหารสุขภาพเพื่อการบำบัดและเชื่อมโยงการท่องเที่ยว” รมว.พม.เป็นประธานฯ ณ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม ณ ค่ายสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ณ ม.ราชภัฏพิบูลฯจ.พิษณุโลก ประจําปี 2565 โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. เป็นประธานฯ ณ หอสมุด จังหวัดพิษณุโลก ทน.พิษณุโลก อ.เมือง จ.พิษณุโลก

09.00 น. ประธานในพิธีเปิดโครงการศิลปะป้องกันตัวและการทำ 10.00 น. เข้าเยี่ยมให้กำลังใจนิคมสร้างตนเองบางระกำ 14.15 น. เป็นประธานการประชุมคณะทำงานฝ่าย 16.30 น. เข้าร่วมการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ CPR ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ปี 2565 ณ สคม. (บ้านสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก ณ นิคมสร้างตนเองบางระกำ จังหวัด พิธีการ งาน 20 ปี พม.ฯ ผ่านระบบ Zoom meeting พัฒนาระบบข้อมูล พม.หนึ่งเดียว ครั้งที่ 3/2565 ผ่านระบบ จ.พิษณุโลก ต.หนองกุล อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก ต.หนองกุลา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก Zoom meeting ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก

วันอังคารที่ 20 ก.ย.65 09.00 น. พิธีเปิดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนและการ 13.00 น. การประชุมหลักสูตรการอบรมดูแลผู้สูงอายุ 15.30 น. การเสนอหลักสูตร โครงการอบรมผู้ดูแล 17.00 น. ร่วมประชุมคณะกรรมการอำนวยการ 20 ปี พม. จัดการความรู้ (KM) การยกระดับศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล (Care Giver) 420 ชั่วโมง ร่วมกับ ผู้สูงอายุ (Care Give) เพื่อไปทำงานประเทศญี่ปุ่น เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคนทุกช่วงวัย" ครั้งที่ 3/2565 รายจังหวัด เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง ม.ราชภัฏพิบูลฯ ณ ห้องประชุม 410 อาคารทีปวิชญ์ จากคณะผู้บริหารโครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความสำเร็จ ผ่านระบบ Zoom Meeting ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก รายครัวเรือน ณ โรงแรมหรรษนันท์ อ.เมืองจ.พิษณุโลก ม.ราชภัฏพิบูลฯ อ.เมือง จ.พิษณุโลก (ATP) ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก

วันพฤหัสบดีที่ 22 ก.ย.65 ศค0ตัุ9.กณแ.ย0มภ่ภ0ราาะพนพกช.ีแาวปิกตอรนก.ะวนลัธุง่ำมาทเนเยอปพางิรวธาีจชเะป.นพิบิดสษูา่โองคณาุรณสโงลากกวสัาดมรับคค้่ารานพยัแพฒัผฒนวนา า ณเ1แจพื1.น่พอ.ิทว0ีษส่ทว0่ณวาาัุสนกงโดกลา.ิกรากเขอรา้นาำรพแำเภหกบ่อลงนุ่พรมัาฐรเยปใหอหร้มำทาัพเ่ะิวภรบถอึางาพมคงรลรอหบง.มพท1พะริ0หเรบ0ามีย%มพนิรเพาื่มอหารือ 1ตพอำ2.รพบ.ห0รลม0หใพมนินรพพ.ืาิ้รมนมาอทีมเ่บตพื่่ปจออ้.ไาดพปยิำษศเณูนณนิุนยโท์ลีกช่ว่กา่วารยกสเ่าหงรมลอืออำบสเัภใงหคอ้ศมพูนตรำยห์บชม่วลพิยรใเหาห้มนลืาอยสัองำคเมภอ เ1ณรืพอื4่อแ.ท0ีส่นว0่ววาัสนกทดา.าิกรงเขอกา้าำราพแเรภนหบ่อำงนวกรััาดฐลยุ่โใมอบห้เำสทปัเ่ถวภร์อถาอึะ.งววัคบัดดราโโบงบบลสส1งถถ0ท์์0ะเจพ%ืเ.่่บพอีิยษร่นวณมุโหลาก ก14ค25างร.03ชอุ0มชบั่วนรผโม.มอดปง.ูกแรณศละนผชูุส้.สมจูนงห.พงอาิ.าษพรืยอณมุุกจ(โัCบล.พaกนิrษาeเณยรืุ่Gออโลiนงvัแกนeนrต)์วทาง วันศุกร์ที่ 23 ก.ย.65 วันเสาร์ที่ 24 ก.ย.65 10.30 น.ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 11.00 น. ลงเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ 11.30 น. สำรวจสถานที่เพื่อเตรียม 12.00 น. เข้าพบนายธรรมศักดิ์ สายน้ำเย็น 13.30 น. ประชุมหารือกับนางยุพิน เสวิสทธิ์ รอง ผอ. วันจันทร์ที่ 26 ก.ย.65 ประจำจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ ผู้ปฏิบัติงานประจำจุดลงทะเบียน ความพร้อมเปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล ปลัดอาวุโส เพื่อหารือแนวทางการนำคนเปราะบาง รร.ชาติตระการวิทยา นายพงษ์ภัทร ยอดเพชร รอง ผอ. แห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียนที่ว่าการ เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน ชาติตระการ ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ม.9 ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ให้ครบ 100% รร.ชาติตระการวิทยา และคณะครูโรงเรียนชาติตระการวิทยา อำเภอชาติตระการ อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก อบต.ป่าแดง ต.ป่าแดง อ.ชาติตระการ ต.ชาติตระการ อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก ณ ที่ว่าการอำเภอชาติตระการ ต.ป่าแดง เรื่องแนวทางการอบรมดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) 420 ชม. จ.พิษณุโลก อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก

09.30 น. เข้าเยี่ยมให้กำลังใจศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จ.พิษณุโลก โดยมีนายณรงค์เกียรติ สิทธิเวช 11.00 น. สำรวจอาคารบ้านเติมฝัน เพื่อใช้เป็นที่พักสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมผู้ดูแล ผอ.ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จ.พิษณุโลก และคณะเจ้าหน้าที่ ให้การต้อนรับและรายงานผลการปฏิบัติงาน ผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง ณ บ้านเติมฝัน สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งวังทอง จ.พิษณุโลก ณ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จ.พิษณุโลก ต.วังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก ต.วังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

09.00 น. ประชุมร่วมกับนายอนันต์ คงชุม ผอ.กศน.จังหวัด 10.00 น. ประธานพิธีเปิด 11.00 น. ลงพื้นที่มอบผนมผง 13.30 น. ตรวจเยี่ยม ให้กำลังใจ 15.20 น. ตรวจเยี่ยม ให้กำลังใจ 16.30 น. ตรวจเยี่ยม ให้กำลังใจ พิษณุโลก และ ผอ.กศน.อำเภอในพื้นที่ จ.พิษณุโลก โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ ขวดนม และผลิตภัณฑ์ซักผ้าเด็ก และแนวทางการปฏบัติงานแก่ และแนวทางการปฏบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ และแนวทางการปฏบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ เพื่อหารือแนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชม. ไม่พร้อมในวัยรุ่น ให้ครอบครัวเด็กแรกเกิด เจ้าหน้าที่บ้านพักเด็กฯ ณ บ้านพัก ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงฯ สนง.เคหะ จ.พิษณุโลก ณ สนง.เคหะ ณ สนง.กศน.จังหวัดพิษณุโลก ณ โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา ฝาแฝด 3 คน ในพื้นที่ ม.1 ต.ท่างาม เด็กและครอบครัว จ.พิษณุโลก ณ ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจ.พิษณุโลก จ.พิษณุโลก ต.บึงพระ อ.เมือง จ.พิษณุโลก อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

วันอังคารที่ 27 ก.ย.65 09.00 น. ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 8/2565 09.30 น. การประชุมคณะกรรมการบริหารทรัพย์สิน แ1ค4ลน.ะเ0รพ่0ร่าอนไนป. ลลจงงำพทืน้นะวเทนบี่ีสย7ำนรรเวพาืจย่อคสนโวดัเสรย่ดรด่ิอกำนาเนรริแอนหบก่งาบรรัรฐพิเวจาณคำนนแวมเร่น่นร่้อ4ำนน่รไาาปนยท(ทจำีุ่ดบสัสำตวนรันปกกรงาะลนชางคาเชลมัืนงอจงัจง)หำเพนวืั่ดวอนพนิำษ3คณรนุาโเลยร่กร(่อจะนดลำงทเนะินเบกียารนพเพาื่ไอปสลวังสทดิะกเาบีรยแนห่เพงืร่อัฐสจวัาสกดิกกาารรลแงหพ่ืง้นรัทฐี่ตพ่อบไป) Zoom Meeting ณ สนง.กศน.จังหวัดพิษณุโลก Zoom Meeting ณ สนง.กศน.จังหวัดพิษณุโลก

วันพุธที่ 28 ก.ย.65 09.30 น. ประชุมถอดบทเรียนผลการ 14.15 น. ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนและให้กำลังใจญาตของผู้สูงอายุที่ถูก 15.00น.พล.อ.อนุพงษ์เผ่าจินดารมว.มหาดไทยลงพื้นที่น้ำท่วมอ.วังทองจ.พิษณุโลกโดยการนำของนายรณชัยจิตรวิเศษผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ดำเนินงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก กระแสน้ำพัดเสียชีวิต ณ วัดวังพรม ต.วังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก พร้อมนี้นางสาวแรมรุ้งวรวัธรองปลัดกระทรวงพม.พร้อมด้วยนายกันตพงศ์รังษีสว่างผู้ตรวจราชการกระทรวงพม.ได้ร่วมลงพื้นที่เยี่ยมเยียนและให้กำลังใจประชาชน

ผู้ประสบภัยน้ำท่วม ในพื้นที่ตำบลวังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

หน้า 1

CARE GIVER

การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

ผู้สูงอายุ

ได้รับการดูแลอย่างมีมาตรฐาน

คนเปราะบาง

มีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง

หน้า 2

CARE GIVER

การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เข้ารันการอบรมเห็นถึงความสำคัญในการดูแลผู้สูงอาย มีเจตคติที่ดีในการดูแ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการดูแผู้สูงอายุ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ในสถานการณ์จริงได้ เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพให้แก่ผู้เข้าอบรมซึ่งเป็นกลุ่มเปราะนางในจังหวัดพิษณุโลกให้อาชีพมีรายได้ ในการเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล/การนริบาลที่ถูกต้องตามหลักมาตรฐานจากผู้ที่ผ่านการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย ความร่วมมือ

ประชาชนกลุ่มเปราะบาง อาสาสมัครพัฒนาสังคม หน่วยงานหลัก และความมั่นคงของมนุษย์ อาสาสมัครสาธารณสุข ม.ราชภัฏพิบูลสงครามฯ ประจำหมู่บ้าน และประชาชนชนที่สนใจ รวม 60 คน สสจ.พิษณุโลก กศน.พิษณุโลก หลักสูตร พมจ.พิษณุโลก

หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นสูง 420 ชั่วโมง หน่วยงาน/องค์กรสนับสนุน สำหรับประกอบอาชีพผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) รพ.พิษณุเวช พิษณุโลก แบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคทฤษฎี 200 ชั่วโมง สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ และภาคปฏิบัติ 220 ชั่วโมง สภากาชาดไทย Thai MOOC ระยะเวลาดำเนินโครงการ ผู้ทรวงคุณวุฒิจาก ม.สุโขทัยธร รมาธิราช เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2565 ถึงเดือน มีนาคม 2565 โรงเรียนชาติตระการวิทยา โดยใช้เวลาทำกิจกรรม 151 วัน งบประมาณ

จ(แ(กหำหรกนลม่แวงกสนงิจนบเกงสปินาอรระง6ผูหม้2สูาม1ืง่ณน,อ5หา6:ยน0ุึก่)งอบพังานททุหน้าผูร้้สอูงยอหากยุ สิบบาทถ้วน)

หน้า 3

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

วันศุกร์ที่ 2 ก.ย. 65 ข้าพบ ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนา เวลา 13.30 น. หลักสูตรอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ณ ม.ราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก

วันจันทร์ที่ 12 ก.ย. 65 พบผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพื่อหารือเรื่องโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 เวลา 08.00 น. และโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก

วันจันทร์ที่ 12 ก.ย. 65 ประชุมผ่านระบบออนไลน์ เพื่อร่วมหารือแนวทางการจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง เวลา 17.00 น. และร่วมกันจัดทำ MOU การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

วันเสาร์ที่ 17 ก.ย. 65 เข้าพบ ภญ.วรรณศิริ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเครือข่าย รพ.พิษณุเวช เพื่อหารือแนวทาง เวลา 10.30 น. การพัฒนาหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชม. ณ ห้องประชุม รพ.พิษณุเวช จ.พิษณุโลก

วันอาทิตย์ที่ 18 ก.ย. นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานฯ 65 เวลา 10.00 น. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER)

420 ชั่วโมง ณ ม.ราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก วันอาทิตย์ที่ 18 ก.ย. 65 ร่วมการประชุมหลักสูตรการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง โดยมี ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์

เวลา 13.30 น. อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นประธานฯ ณ ม.ราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก

วันอังคารที่ 20 ก.ย. 65 การประชุมหลักสูตรการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) 420 ชั่วโมง ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ เวลา 13.00 น. ม.ราชภัฏพิบูลฯโดยมี ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นประธานฯ ณ ม.ราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก

วันอังคารที่ 20 ก.ย. 65 รับฟังการเสนอหลักสูตร โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Give) เพื่อไปทำงานประเทศญี่ปุ่น เวลา 15.30 น. จากคณะผู้บริหารโครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความสำเร็จ (ATP) ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก

วันพฤหัสบดีที่ 22 ก.ย.65 ประชุมหารือกับนายอนันต์ คงชุม ผอ.กศน.จ.พิษณุโลก เรื่องแนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) เวลา 15.30 น. 420 ชั่วโมง ณ สนง.พมจ.พิษณุโลก

วันศุกร์ที่ 23 ก.ย. 65 ประชุมหารือกับนางยุพิน เสวิสทธิ์ รอง ผอ. รร.ชาติตระการวิทยา นายพงษ์ภัทร ยอดเพชร รอง ผอ. เวลา 13.30 น. รร.ชาติตระการวิทยา และคณะครูโรงเรียนชาติตระการวิทยา เรื่องแนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) 420 ชั่วโมง ณ โรงเรียนชาติตระการวิทยา

วันอาทิตย์ที่ 24 ก.ย.65 สำรวจอาคารบ้านเติมฝัน เพื่อใช้เป็นที่พักสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง เวลา 11.00 น. ณ บ้านเติมฝัน สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ต.วังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

วันจันทร์ที่ 26 ก.ย. 65 ประชุมร่วมกับนายอนันต์ คงชุม ผอ.กศน.จังหวัดพิษณุโลก และ ผอ.กศน.อำเภอในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เวลา 09.00 น. เพื่อหารือแนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) 420 ชั่วโมง ณ สนง.กศน.จังหวัดพิษณุโลก

CARE GIVER

หน้า 4

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

เวมเณัวขน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สพเวณูดว.ัลงนีบล6คจศฯาผัูนา5้รว0ล่ทาา8ารร.มก0์าทีช0ล่กา1นง2าจ.รักงจหั.งยหว.ัด6วัพด5ิพษิษณวเปผุณั่วโนุาลรลโกนละจาักชรนุะ1มทบ7เรร์.ืบท่0อี่อ0ง1อเรเวปนC2ัขวนพน้ร.aลาไกะเ.rลพาพสe.ธิยนาบษ1า์.Gรน0์ณ6ทภiุี.เv่53เจญeว้10าชr.7หวนรนณก.้รา.ณยทีร.่ศบพิ6รริ5.ิพหนิิเวผกณู่าษัว้มนสารลูณพรอมงเุิาคจอทเา.ัรวัรด1าทืกาชิอยอ0ตษุชข.์บ่ย0ภ(พา์Cัรท0ฏยีงมA่ศพน1ห์Rิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5ามกวเ)ดัวัูมนบ.4แลรอ2ลาMาม0าช.O1ทภริชั3ัตาU่ฏว.ชย3โพ์ภมิท0ีับ่งฏูน1ลพ8.ิฯบปูกลร.ฯยะช.ณุ6ม5ร่วกเวณมััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภผณวหเทูััวภี้0น่ฏสลัลูัฏ2อสงพกนาัิอพ0นงสบิูค1าูปบงตกลูย5า.รลุรพ.ฯร.ยะ3ฯจมทโ.ีช0าคุ่จ6มก2ร.น5พรง0่ิA.วกษTกรมาัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้วรณเดส่ัวูวนแนลมพสลาอกนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีวเณรรศท.น่ัีวพ.วน่นิร.ลมษ2ศร..ปาชุจ2ก.ณกรัรา.ุ1บพร.กะโต์ชิ3ิทคลษชี.ตา่ย.ุกณ3มณตร2.ิุ06ะตะ3โ5กคลรนกาะกร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ววเเััตวงนิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง เพผผวัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.จอท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ห้องรับรอง สำนักงานอธิการบดี อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์

เพื่อให้กลุ่มเปราะบางมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างมีมาตรฐาน

ความท้าทาย การยกระดับด้านอาชีพจากผู้ดูแลผู้สูงอายุสู่การเป็นผู้ช่วยพยาบาล การพัฒนาด้านภาษาสู่การไปทำงานต่างประเทศ เช่น ประเทศญี่ปุ่น

ผู้เข้าร่วมการประชุม

นายชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการประชุม นายชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก (ประธานการประชุมฯ) เห็นด้วยกับการ จัดอบรมสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) และการจัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) "การจัดอบรม หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง" โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก มีความพร้อมด้าน บุคลากรและสถานที่สำหรับการฝึกอบรมฯ ใน 3 หลักสูตร ดังนี้ 1.หลักสูตร 18 ชั่วโมง หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นเบื้องต้น สำหรับนำความรู้ไปใช้กับบุคคลในครอบครัวและชุมชนเบื้องต้น (ไม่ใช่เพื่อการประกอบอาชีพ) 2. หลักสูตร 70 ชั่วโมง หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นกลาง สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุระดับพื้นฐาน ที่ทำหน้าที่บทบาทจิตอาสา ภายใต้การกำกับดูแลของเจ้าหน้าที่วิชาชีพ (Care Manager) 3. หลักสูตร 420 ชั่วโมง หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นสูง สำหรับประกอบอาชีพผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) พร้อมให้ข้อเสนอแนะการอบรมรูปแบบ Module พัฒนาสู่การเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ช่วยพยาบาล หรือพยาบาลวิชาชีพ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) "การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง" 2. การร่างหลักสูตรการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง พร้อมการขอรับรองหลักสูตรจากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) 3. การเขียนโครงการอบรมหลักผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง เพื่อเสนอขอรับงบประมาณ 4. การประชาสัมพันธ์เพื่อรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย 5. ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง

หน้า 5

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

มณเพเววเณวััวขนน้.ลบลราจศศมาาัพาผุนาูก.ช้0ลวรบท1่8รภาาา์อัร3.ทก0ชร์ฏีท่ธ.ี0ลา3ิภ่พก2ัาช1ิ0นฏบาง2กกูจ.พรนลัิาก.งบยบ.สหร.ูยด.ลจงวี.ัั6คดงฯ65หพร5ิาษวัมดณุพโิลษกณุโลผวเปกั่วนารลนะจาัชรนุะ1มทบ7เรร์.ืบท่0อี่อ0ง1อเรปวเนC2ัวขนพน้ร.aลาไกะเ.rลพาพสe.ธิยนาบษ1า์.Gรน0์ณ6ทภiุี.เv่53เจญeว้10าชr.7หวนรนณก.้รา.ณยทีร.่ศบพิ6รริ5.ิพหนิิผเกวณู่าษัว้มนสารลูณพรอมงเุิาคจอทเา.ัรวัรด1าทืกาชิอยอ0ตษุชข.์บ่ย0ภ(พา์Cัรท0ฏยีงมA่ศพน1ห์Rิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5าเมวก)ดัวัูมนบ.4แลรอ2ลาMาม0าช.O1ทภริชั3ัตาU่ฏว.ชย3โพ์ภมิท0ีับ่งฏูน1ลพ8.ิฯบปูกลร.ฯยะช.ณุ6ม5ร่วกวณเมััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภหผเณวทูััวภี้0น่ฏสลัลูัฏ2อสงพกนาัิอพ0นงสบิูค1าูปบงตกลูย5า.รลุรพ.ฯร.ยะ3ฯจมทโ.ีช0าคุ่จ6มก2ร.น5พรง0่ิA.วกษTกรมาัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้เวรณดส่ัวูวนแนลมพสลาอกนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีรเวรณศท.น่ัีวพ.วน่นิร.ลมษ2ศร..ปาชุจ2ก.ณกรัรา.ุ1บพร.กะโต์ชิ3ิทคลษชี.ตา่ย.ุกณ3มณตร2.ิุ06ะตะ3โ5กคลรนกาะกร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา เเววััตวงนิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง พเผวผัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันจันทร์ที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 08.00 น. กิจกรรม : พบผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพื่อนำเรียนและหารือการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : บริเวณหน้าอาคารศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พร้อมด้วยนายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และนางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดพิษณุโลก พบนายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพื่อนำเรียนและหารือเรื่องการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) การนำคนเปราะบางลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ และภารกิจในการปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ในเดือนกันยายน 2565 นายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก มีความยินดี และพร้อมสนับสนุนภารกิจงานตามนโยบายของกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

หน้า 6

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

มเเณวัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงี6คฯ5ราม เปผวัว่นารลนจะาัชนรุ1ะมท7บเรร์.ืบท0่อี่อ0ง1อนC2น.aกไrลe.ยน์.G6iv5er ณกผเวูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง ณวกเััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม เวรณ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก วเวเััวตนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

เพวณวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก ปเวรเัวขพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทีร.่ศบพิ6รริ5.ิพหนิิ่าษมรณพเุิคทเวัรืกชอษข์่พายงศ์ วเกัวันบลอามา.1ทริ3ตา.ชย3์ภท0ีั่ฏน1พ8.ิบปูกลร.ฯยะช.ณุ6ม5ร่วม หวผเณูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ เรรณว่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผผวเพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.จอท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก ม.ราชภัฏพิบูลฯ

วันจันทร์ที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 17.00 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ผ่านระบบ Zoom meeting สถานที่ : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง เพื่อร่วมพัฒนาหลักสูตรการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมการประชุม

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประธานการประชุมฯ) ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก รศ.ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน์ ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รศ.ดร.ปิยฉัตร ล้อมชวการ ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผศ.ดร.ปณิชา บุญสวัสดิ์ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย รศ.ภก.ดร.อนุชัย ธีระเรืองไชยศร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม นางสาวพรภัทรา ฉิมพลอย นักวิชาการมาตรฐานวิชาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก ผู้แทนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สรุปผลการประชุม กำหนดการจัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง ระหว่างสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก สำนักสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก และสำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก ในวันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน 2565 โดย นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานฯ ณ อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงครามจังหวัดพิษณุโลก (ส่วนทะเลแก้ว) การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง แบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคทฤษฎี จำนวน 200 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ จำนวน 220 ชั่วโมง ซึ่งในการอบรมฯ ภาคทฤษฎี ควรมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพื่อความ เหมาะสมกับวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดการประชุม ร่วมพัฒนารูปแบบการเรียนภาคทฤษฎี ในวันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 210 สำนักงานอธิการบดี อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก

หน้า 7

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

มณวเเัวขน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม รปวเัวะนรลบะจาับชนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ณวเผกูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง ณวเกััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม วณรเ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เวเวััตวนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

พเวณวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก ปเเรวัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0ณ์ทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเควทัรชืกอษข์่พายงศ์ วกเัวันบลอามา.1ทริ3ตา.ชย3์ภท0ีั่ฏน1พ8.ิบปูกลร.ฯยะช.ณุ6ม5ร่วม เณวผหูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ วณรเร่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผเผวพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก ม.ราชภัฏพิบูลฯ

วันเสาร์ที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 10.30 น. สนามฝึกภาคปฏิบัติ กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ห้องประชุมสานสัมพันธ์ ชั้น 6 โรงพยาบาลพิษณุเวช จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ : ผู้เข้าร่วมการประชุม

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก ภญ.วรรณศิริ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเครือข่าย โรงพยาบาลพิษณุเวช พิษณุโลก นางสาวอนงค์นาฏ เมฆประยูร ผู้อำนวยการสายปฏิบัติการ โรงพยาบาลพิษณุเวช พิษณุโลก

สรุปผลการประชุม โรงพยาบาลพิษณุเวช พิษณุโลก มีความยินดี ร่วมบูรณาการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) และสามารถใช้โรงพยาบาล พิษณุเวช พิษณุโลก เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน ของผู้เข้าร่วมอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ในส่วนของภาคปฏิบัติ

หน้า 8

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

ณวเเมัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม รเวปัวะนรลบะจาัชบนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน เผณวกูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง เวณกััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม รวเณ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เววเััตวนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

ณวเพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก เเวปรัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ กเวัวันบลอามา.1ทริ3ตา.ชย3์ภท0ีั่ฏน1พ8.ิบปูกลร.ฯยะช.ณุ6ม5ร่วม ณผเวหูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ ณรเรว่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผผวเพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.จอท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก ม.ราชภัฏพิบูลฯ

วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน 2565 เวลา 10.00 น. กิจกรรม : พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การจัดอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CARE GIVER) 420 ชั่วโมง สถานที่ : สำนักงานอธิการบดี อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก (ส่วนทะเลแก้ว) วัตถุประสงค์ : เพื่อประสานความร่วมมือระหว่าง 4 หน่วยงานในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ในการจัดอบรมหลักสูตร ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ผู้ร่วมงานประกอบด้วย : คณะผู้บริหารกระทรวง พม. อธิการบดี

ม.ราชภัฏพิบูลฯ และคณะเจ้าหน้าที่ นายแพทย์ สสจ. สสอ.และคณะ เจ้าหน้าที่ ผอ.กศน.จังหวัดพิษณุโลก คณะผู้บริหาร รพ.พิษณุเวช พิษณุโลก ผู้ทรงคุณวุฒิจาก ม.สุโขทัยธรรมาธิราช ผู้แทนจากสถาบัน คุณวุฒิวิชาชีพ ผู้แทนจากสภากาชาดไทย ผู้แทนจากโครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (กระทรวง อว.) หัวหน้าหน่วยงาน One Home จ.พิษณุโลก และคณะเจ้าหน้าที่ และผู้ผ่านการอบรม CG 70 ชั่วโมง

เนกปา็านรยพปจัุฒรติะนไธกาาสรนังฤใคกนมษพ์แิธลรีัฯฐะมคนวาตมรีมวั่่านกคางรขกอรงะมทนุรษวยง์

MOU พมจ.พิษณุโลก

ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม สสจ.พิษณุโลก1. ประสานความร่วมมือในการ ก2อ3ทนแแ1ดัแกั่...กลำาบกวล่ลรปสสุเะกไเร่่นะมปรฯนงรมริลีุทัยนเเ่าะบมใปสแนยรโหสัเสรลคร้พไปิาคมานนดะรนยัุร้วะแงพกแนาาาคับกลกศฒะกมว่ึขาาะกกบ้รรารนงูอส้ลษใมาุานมเ่นCมงาพูรัคื่ลกบGุ่เวออณปแามส้บพสล4ราุนภมครดหม2ะุื้อนาาลำ0ป.มพงใกเาอรานอนชชากิะยสีกามนรวรชมิชาต.โีาใ.รพคหช้รนง

กศน.พิษณุโลก3กอโพห2ใ1กใแคหั...าาลชฒ้ปลลรั้ครชสสุกป่ี่งระมนฯวพนงสกระทัเเาูาบแปะสตแสามหรลโัรสรรลารพริยลูมะนาน้ัะCแยชกุเะรแพคนพGลานสาัิบลว์ู่ฒกะมยตจขาะา4้รตไทารนงอมส่2ดัใอก้กานมนร0กแู่ยกัควษลกบากุอชามณ่ระาสกรบดมมรรแุนภอัลืก.บุคดอุล่บมนาเาลำรใะพพเรรนใือเาปด่หนมอช้กกง้ิำีามนสฯวราีเหิตกรนโร้ิมคาอานงรารบยงรม สบไ21เดคคทปุุ่ัด..ำงณวคก้ปรแเปาเษลสนราภกมริา่ระะะนากิระกูมบส้พโลสเรุสาคพา่ชมแืาน่รีงรแอน้วลเาิงคปลสตะคง้กวาะรกโสวา้าอหทาลานรมุงกั่มมรฯมบัอราพา่รเวสา่สปแยวยมชนลมรีาุแแมพนาะมกืลลอืะแพขรอะ้ัะใบลอใฒในเกนะนาพมิกนลูง่กรุกลม่ามาาาารยรร ให้ ส่งเสริม และสนับสนุนข้อมูล บุคลากร และทรัพยากร ในการ ดำเนินโครงการฯ และพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง 2. ส่งเสริมและสนับสนุน หลักสูตร CG และการพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง *หมายเหตุ MOU ในภาคผนวก หน้า 9

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

เณมเวัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม เรปวัวะนรลบะจาับชนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ณกเวผูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง กวเณััวนบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม ณเวร่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เเววััวตงนิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

ณวเพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก เวรเปัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ เวมพัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ ผณเวหูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ วรเณร่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผพผวเัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ห้องประชุม 210 สำนักงานอธิการบดี อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาหลักสูตรและกำหนดแผนการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของผู้เข้ารับการอบรม ผู้เข้าร่วมประชุม

ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก (ประธานการประชุมฯ) นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก รศ.ดร.ชมนาด วรรณพรศิริ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม ดร.ปภาดา ชมภูนิตย์คณะพยาบาลศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม รศ. ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน์ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช รศ.ดร.ปิยฉัตร ล้อมชวการ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช ผศ.ดร.ปณิชา บุญสวัสดิ์ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย ผศ.ดร.ปณิชา บุญสวัสดิ์ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย รศ.ภก.ดร.อนุชัย ธีระเรืองไชยศร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย กระทรวง อว. นางสาวพรภัทรา ฉิมพลอย นักวิชาการมาตรฐานวิชาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ภญ.วรรณศิริ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเครือข่าย รพ.พิษณุเวช นางสาวอนงค์นาฏ เมฆประยูร ผู้อำนวยการสายปฏิบัติการ รพ.พิษณุเวช

สรุปผลการประชุม

การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) แบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาคทฤฎี จำนวน 200 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ จำนวน 220 ชั่วโมง โดยภาคทฤษฎีใช้รูปแบบการเรียนแบบออนไลน์ร่วมด้วย ในส่วนภาคปฏิบัติให้บูรณาการสถานที่ฝึกปฏิบัติร่วมกับโรงพยาบาล พิษณุเวช พิษณุโลก การร่างแผนการอบรมฯ และยื่นคำขอรับรองหลักสูตรจาก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) รวมถึงประมาณการค่าใช้จ่าย ในการอบรมฯ ตลอดหลักสูตร โดย คณะพยาบาลศาสร์ ม.ราชภัฏ พิบูลสงคราม การเขียนโครงการฯ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนผู้สูงอายุ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) โดย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก การค้นหากลุ่มเป้าหมาย โดย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก โดย กำหนดกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครง การฯ จำนวน 60 คน การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ โดย สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

หน้า 10

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

มเณเวัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม วปเรัวะนรลบะจาัชบนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ผเณกวูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง วณกเัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม เณรว่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เเววััวตงนิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

เณวพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก ปเรเวัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ วมเพัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ ณวผหเูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ ณรวรเ่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา วเผผพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.จอท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันอังคารที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 13.00 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ห้องประชุม 410 สำนักงานอธิการบดี อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ : เพื่อพิจารณาร่างแผนการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ผู้เข้าร่วมประชุม

ผศ.ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจังหวัดพิษณุโลก (ประธานการประชุมฯ) นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รศ.ดร.ชมนาด วรรณพรศิริ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม ดร.ปภาดา ชมภูนิตย์คณะพยาบาลศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม อาจารย์ศิลปชัย ฝั้นพะยอม สรุปผลการประชุม ปรับช่วงเวลาเรียนในส่วนภาคทฤษฎีให้มีความยืดหยุ่น และผ่อนคลาย (ร่างแผนการอบรมฯ ในภาคผนวก) เสนอแนะให้นำการเรียนรูปแบบออนไลน์ในระบบ Thai MOOC ส่วนภาคทฤษฎี ในรายวิชาที่สามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง เช่น รายวิชาคุณธรรมจริยธรรม วิชาชีพ เพื่อลดระยะเวลาในการอบรมฯ

หน้า 11

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

วเณมเัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม วรเปัวะนรลบะจาับชนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน เณวกผูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง เณกวัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม เณวร่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เเววััวตนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

วณเพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก วเเปรัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ วพมเัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ ณวเหผูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ รณเรว่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผเผวพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันอังคารที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 15.30 น. กิจกรรม : รับฟังการเสนอหลักสูตร โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ จาก ATP สถานที่ : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก โครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความสำเร็จ (ATP) ซึ่ง ATP KAIGO เป็นโครงการ ฝึกสอนเพื่อพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ รวมถึงการชี้แนะแนวทาง ในการเตรียมความพร้อมเพื่อไปฝึกงานด้านบริบาลที่ประเทศญี่ปุ่น โดยสิ่งที่ได้ รับเมื่อเข้าสู่ขั้นตอนการพัฒนาเตรียมความพร้อมของโครงการ ATP เพื่อมุ่งสู่ ความสำเร็จ คือ

  1. ความรู้ด้านภาษาญี่ปุ่นและประสบการณ์ต่างแดน
  2. ประกาศนียบัตรของโครงการ ATP รับรองการเรียนภาษาญี่ปุ่น และ หลักสูตรงานบริบาลดูแลผู้สูงอายุ
  3. รายได้ระหว่างฝึกงานเป็น 4 เท่าของรายได้ในประเทศไทย เนื่องจากค่า ครองชีพที่ต่างกัน
  4. เมื่อครบกำหนดกลับประเทศไทย ทางโครงการ ATP มีการแนะนำงาน และให้คำปรึกษาร่วมวางแผนในการประกอบธุรกิจขนาดย่อมของตนเอง โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้

ค่าลงทะเบียน ๕,000 บาท คือ ค่าเครื่องแบบ นิฟอร์ม ชุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียน สมุด พจนานุกรม จะเก็บค่าลงทะเบียนต่อเมื่อผ่าน ๓ ผ่าน คือ ๑. ผ่านการคัดเลือกแล้ว ๒. ผู้ปกครองเข้าใจในภาพรวม ของหลักสูตรและอนุญาตให้ผู้สมัครเรียน ๓. ผ่านการตรวจสุขภาพ หลักทรัพย์ค้ำประกันราคาประเมินไม่ต่ำกว่า ๓ แสนบาท หรือใช้บุคคล ที่สามารถค้ำประกันจำนวน ๒ คน ได้แก่ ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการ ท้องถิ่น พนักงานบริษัทเอกชน ผู้ประกอบการกิจการห้างร้าน มีกองทุนกู้ยืมสำหรับผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยให้ "เรียนก่อน จ่ายทีหลัง" ค่าใช้จ่ายที่พักระหว่างเรียน

หน้า 12

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

ณเมเวัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม เวปรัวะนรลบะจาับชนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน เผวณกูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง ณวเกัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม วรเณ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก เววเััวตงนิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

ณพเววันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก รปเเวัวขพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ พวเมัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ หผเณวูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ รวณเร่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผผเวพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 15.30 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ :

รว่ มหาแนวทางในการค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ร่วมหาแนวทางในการจัดบริการสถานที่ในการเรียนระบบออนไลน์ สำหรับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ห่างไกล หรือ กลุ่มเป้าหมายที่ขาดสื่ออุปกรณ์ในการเรียนระบบออนไลน์ ผู้เข้าร่วมประชุม นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายอนันต์ คงชุม ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการประชุม สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด พิษณุโลก ดำเนินการผลิตโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ และ Google form การรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมอบรมฯ (โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การรับสมัครฯ ในภาคผนวก) สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก ดำเนินการประชาสัมพันธ์ รับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรมฯ โดยใช้การรับสมัครด้วยระบบ Google form สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก สนับสนุนสถานที่ในการ เรียนระบบออนไลน์ สำหรับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ห่างไกล หรือกลุ่มเป้าหมายที่ขาดสื่ออุปกรณ์ในการเรียนระบบ ออนไลน์

หน้า 13

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

วมเเณัวขน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม ปรเวัวะนรลบะจาัชบนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ผเวณกูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง เกวณัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม ณรวเ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก ววเเััตวนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

ณเวพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก วรเปเัวขพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ เพมวัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ วเผณหูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ เวณรร่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา ผพผเวัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ณ ห้องประชุมโรงเรียนชาติตระการวิทยา วัตถุประสงค์ : ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) ผู้เข้าร่วมการประชุม

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก นางยุพิน เสวิสทธิ์ รองผู้อำนวยการโรงเรียนชาติตระการวิทยา นายพงษ์ภัทร ยอดเพชร รองผู้อำนวยการโรงเรียนชาติตระการวิทยา ว่าที่ ร.ต.นิพล จันทะคุณ (ผู้แทน สจ.สิงห์ จันทะคุณ) นายปารมีน ทองอิสสระ ครูแนะแนว โรงเรียนชาติตระการวิทยา คณะครูโรงเรียนชาติตระการวิทยา สรุปผลการประชุม อาชีพการดูแลผู้สูงอายุ เป็นอาชีพที่นักเรียนในโรงเรียน ชาติตระการวิทยาให้ความสนใจอย่างมาก ในทุกปีการศึกษา

จะมีนักเรียนเข้าเรียนหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุไม่น้อยกว่า 10 คน (คิดเป็นร้อยละ 6) และพบว่าค่าใช้จ่ายสูงมาก นักเรียนบางคน ต้องกู้ยืมเงินเพื่อลงทะเบียนเข้าเรียน ดังนั้น โรงเรียนชาติตระการ วิทยา มีความประสงค์ให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก ร่วมแนะแนวและประชาสัมพันธ์ โครงการฯ แก่นักเรียนในโรงเรียน เนื่องจากเป็นโครงการที่ส่ง เสริมให้คนเปราะบางมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง เป็นโครงการ ที่ให้ความช่วยเหลืออย่างแท้จริง ไม่เป็นการแสวงหากำไร จากกลุ่มเป้าหมาย

หน้า 14

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

เณเวมัวขน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม วปรเัวะนรลบะจาับชนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ผณวกเูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง วณเกัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม วเรณ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก ววเเััตวนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

ณเวพวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก เเรวปัวขพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ เมพวัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ ณผเหวูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ รเรวณ่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา พวผเผัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 11.00 น. กิจกรรม : สำรวจอาคาร "บ้านเติมฝัน" สถานที่ : ณ "บ้านเติมฝัน" สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ : เพื่อสำรวจความเหมาะสมของอาคาร สถานที่ สำหรับเป็นที่พักของผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูง อายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver)

"บ้านเติมฝัน" เป็นสถานที่ ที่เหมาะสมสำหรับ เป็นที่พักของผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้ดูแล ผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) โดยสามารถ รองรับได้มากถึง 60 คน ใน 1 ห้องมีห้องน้ำ 1 ห้อง มีตู้เสื้อผ้า 4 หลัง สามารถพักได้ จำนวน 4 คน ต่อ 1 ห้อง และบริเวณโดยรอบ "บ้านเติมฝัน" มีบรรยากาศเหมาะสมแก่การพักอาศัย มีรั้วกั้น ที่ปลอดภัย บริเวณโดยรอบด้วยหน่วยงานราชการ

หน้า 15

การอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง

มเณเวัขวน้.ลราศมาพาุก.ชรบ1รภา์อั3ทชฏี่ธ.3ิภพก2ัิ0ฏบากูพรนลิ.บยบ.สูด.ลงีค6ฯ5ราม วรปเัวะนรลบะจาัชบนุมอ1ทเอ7รรื่น์.อท0ีไง่0ล1Cนน์2a.reก.Gยi.v6e5r ผ่าน ผกณเวูัว้นสาลูรอมงาจอา.ัรด1าทาิยอ0ตุช.บย0ภ(์Cัรท0ฏีมA่ พน1หRิบ8.EลูัพลกกิGฯธส.ีIูยลVต.งEรน6Rผู้5า)ดูม4แ2ลM0OชัU่วโมง ณวกเัวันบลอมาัมง.ร.ค1รา3าาชร.ช0ภทัภี0่ฏัฏ2พนิพ0บิูปบกลูรล.ฯยะฯ.ชุ6ม5ร่วม ณรวเ่ัววนลมพสากนฤั1บงห5ั.ผพส.อ3บม.0กดจีศท.นีพ่นิ.ษ2.ปจ2ณร.ุพกะโิลษช.ยุกมณ.ุ6โ5ลก วเวเััวตนงิลมทอาฝอาัน1งทิ1ตจณ.ย.0พ์ท0ิสีษ่ถน2ณาุ4.นโสลกคุำก้.มรยคว.6จร5อองาคคนารไบร้้ทาี่นพึ่ง

พวเณวันลบจศาัผนาู้0วลท่8าาร.ก0ร์ที0ลา่าช1นง2กจ.ัากงหร.ยจว.ััดง6หพ5ิษวัดณุพโิลษกณุโลก ปวเรเัขวพน้รลาะเ.พาพสธิาบษ1ารน0์ณทภุี.เ่3เจญว้10าช.7หวนรนณก.้รา.ณยทรี.่พศบิ6ร.ริพ5ิิหนษิ่ามณรุพเิเคทวัรชืกอษข์่พายงศ์ วเพมัวิน.บลรูอาลาาชฯ1ทภิั3ตฏ.ย3พ์ิท0ีบู่น1ล8.ฯปกณร.ยะมช.ุ.6มร5าร่ชวมภักฏับ หณเผวูัว้นสลลูัอสงกาัอนงสูค1างตย5า.ุรพร.3จมทโี0าค่จก2ร.นพง0ิA.กษTกราัณบP.รุยอฟโ.ัลบง6กกร5มารผูเ้ดสูแนลอ วเณรร่ัว.วนรลมศร.าชุก.กรัา1บร.ต์ช3ิทคีตา่.ณ3ตร2ิ0ะตะ3กครนกาะร.ูร.ปกยวาริ.ท6ระ5วยชิุทามยา วผเผพัวินออษลจ..ณากกันุศศโ0ทลนน9รก..์.อจท0ีั่ำงณ02หเภน6วสัอ.ดนกใปพงน.ิยร.ษกพ.ะื้ณศนช6ุุน5มโทีล่.รจจ่กัวง.พมหแิกษวลัับดณะุโลก

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. กิจกรรม : การประชุมการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) สถานที่ : ณ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์ : เพิื่อประสานความร่วมมือการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) กับผู้อำนวยการ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ทั้ง 9 อำเภอ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ผู้เข้าร่วมการประชุม :

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก นายอนันต์ คงชุม ผอ.สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก ผู้อำนวยการ และผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ทั้ง 9 อำเภอ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก คณะเจ้าหน้าที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการประชุม นายอนันต์ คงชุม ผอ.กศน.จังหวัดพิษณุโลก แจ้งผลการ ดำเนินงานประชาสัมพันธ์การรับสมัครผู้เข้าอบรม หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง (Care Giver) โดย ประชาสัมพันธ์ผ่านกลุ่มไลน์ ผอ.กศน.อำเภอ และครู กศน.ในพื้นที่ ซึ่งมีคนให้ความสนใจเข้าร่วม การอบรมฯ เป็นจำนวนมาก สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอ ทั้ง 9 อำเภอ ให้การสนับสนุน สถานที่ในการเรียนระบบออนไลน์ สำหรับกลุ่มเป้า หมายในพื้นที่ห่างไกล หรือกลุ่มเป้าหมายที่ขาดสื่อ อุปกรณ์ ในการเรียนระบบออนไลน์

หน้า 16

การนำกลุ่มเปราะบางลงทะเบียน เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 จังหวัดพิษณุโลก

หน้า 17

Tiลmงทeะliเnบีeยนกเาพื่รอนสำวกัสลุด่มิกเาปรรแาหะ่บงราัฐง

เข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัด และ นายอำเภอ เพื่อหารือแนวทาง การรับลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ครบ 100%

และเยี่ยมให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและประชาชนประจำจุดลงทะเบียน

5 ก.ย. 65

-เข้าพบนายอัครโชค สุวรรณทอง นายอำเภอวังทอง ณ ที่ว่าการ อ.วังทอง -เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน อบต.ชมพู

6 ก.ย. 65

-เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน สนง.คลัง จ.พิษณุโลก -เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน ศูนย์ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น อ.เมืองพิษณุโลก

10 ก.ย. 65

-เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน ที่ทำการอำเภอวังทอง จ.พิษณุโลก

12 ก.ย. 65

-พบนายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพื่อหารือเรื่องโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 และโครงการการจัดหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ 420 ชั่วโมง ณ ศาลากลาง จ.พิษณุโลก

13 ก.ย. 65

-เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน อบต.พันชาลี อ.วังทอง จ.พิษณุโลก -เข้าพบนายธราดล อภิจารีปลัดอาวุโส อ.บางระกำ ณ ที่ว่าการอำเภอบางระกำ

15 ก.ย. 65

-เข้าพบนายเฉลิมชัย ขวัญเมือง นายอำเภอบางกระทุ่ม ณ ที่ว่าการอำเภอบางกระทุ่ม อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก -เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน อบต.นครป่าหมาก อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

16 ก.ย. 65

-เข้าพบนายสมศักดิ์ เกี้ยวเกิด นายอำเภอนครไทย ณ ที่ว่าการอำเภอนครไทย อ.นครไทย จ.พิษณุโลก -เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน ศูนย์ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นประจำ อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

22 ก.ย. 65

-เข้าพบนายสมศักดิ์ ชุ่มแจ่ม นายอำเภอพรหมพิราม ณ ที่ว่าการอำเภอพรหมพิราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก -เข้าพบนายสุพจน์ รัตนรุ่งเรือง นายอำเภอวัดโบสถ์ ณ ที่ว่าการอำเภอวัดโบสถ์ อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

23 ก.ย. 65

-เข้าพบนายธรรมศักดิ์ สายน้ำเย็น ปลัดอาวุโส ณ ที่ว่าการอำเภอชาติตระการ ต.ป่าแดง อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก -เยี่ยมจุดลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ จุดลงทะเบียน อบต.ป่าแดง ต.ป่าแดง อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก

27 ก.ย. 65

-สำรวจคนเร่ร่อนขอทานบริเวณริมแม่น้ำน่าน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ -นำคนเร่ร่อนที่มีบัตรประชาชนลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ณ สนง.คลังจังหวัด -นำส่งคนเร่ร่อนที่ไม่มีบัตรประชาชนเข้ารับการคุ้มครองที่ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง เพื่อนำไปทำบัตรประชาชน และนำไปลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

หน้า 18

ถอดบทเรียนการขับเคลื่อน

การลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 จังหวัดพิษณุโลก

ประโยชน์ที่ได้รับ

รับทราบแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนของแต่ละอำเภอ รับทราบปัญหา อุปสรรค ในการขับเคลื่อน เพื่อนำมาพิจารณาวางแนวทาง ในการแก้ไขปัญหา

จุดเด่นของพื้นที่

จังหวัดมีการประชุมวางแผนการทำงานที่เป็นแนวทางเดียวกัน มีการแบ่งกลุ่มความรับผิดชอบในการลงทะเบียน มีการวางTimeline ในการรับลงทะเบียน ที่ชัดเจน ทำให้ทุกอำเภอสามารถรับลงทะเบียนได้ครบทุกพื้นที่ภายใน 30 ก.ย. 65 และสามารถ เก็บตกผู้ที่ตกหล่นได้ในระหว่างวันที่ 1-19 ต.ค. 65 ใช้เครือข่ายที่เป็นกลไกผู้นำท้องที่ ในการสำรวจสมาชิกในชุมชนที่มีคุณสมบัติในการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ แห่งรัฐ ในบางพื้นที่ใช้ อพม. ในการเข้าทำงานในพื้นที่เพื่อให้กลุ่มเปราะบางได้เข้าถึงสวัสดิการแห่งรัฐ บางอำเภอ เช่น อ.วัดโบสถ์ ได้มีการรายงานการลงทะเบียนแบบเรียลไทม์ สามารถแยกกลุ่มเปราะบางได้ เพื่อนำมาวางแผนการช่วยเหลือแบบพุ่งเป้า มีการประสานงานกับศูนย์บริการทะเบียนภาคในการทำบัตรประชาชนให้แก่กลุ่มเปราะบางที่บัตร หมดอายุ ที่ไม่สามารถเดินทางไปต่ออายุบัตรประชาชนได้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการใช้ ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ เช่น อ.นครไทย อ.พรหมพิราม อ.บางระกำ และ อ.บางกระทุ่ม

ปัญหาและข้อท้าทาย

ในอำเภอห่างไกล เช่น ชาติตระการและนครไทย มีกลุ่มชาติพันธ์ุบนพื้นที่สูง ซึ่งเข้าไม่ถึงการประชาสัมพันธ์ในการรับลงทะเบียน และการเดินทางมาลง ทะเบียนก็ยากลำบาก อำเภอจึงได้มีแผนให้หน่วยงานไปรับลงทะเบียนในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาขน โดยได้มอบหมายให้ศูนย์พัฒนา ราษฎรบนพื้นที่สูงร่วมดำเนินการ ในชุมชนเมืองพบกลุ่มคนเร่ร่อนไร้ที่พึ่งที่ยังไม่ได้รับการลงทะเบียน ได้มอบหมาย ให้ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งดำเนิ นการเชิงรุกและต่อเนื่ องเพื่อค้นหาและอำนวย ความสะดวกในการลงทะเบียนเพื่อให้เข้าถึงสวัสดิการแห่งรัฐ

พม.ช่วยเติมเต็ม

พมจ.ส่งข้อมูลผู้ที่ได้รับเงินอุดหนุนของกระทรวง พม. เพื่อตรวจสอบว่าบุคคลเหล่านี้ได้ลง ทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐหรือยัง มีการแบ่งพื้นที่ให้หน่วยงาน One Home ในการรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และอำนวยความ สะดวกให้กลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อให้เข้าถึงสิทธิสวัสดิการแห่งรัฐ

ข้อเสนอแนะจากพื้นที่

ควรมีการปรับคุณสมบัติให้ผู้ที่ต้องโทษจำคุก หรือผู้ที่ได้รับคุ้มครองในสถานสงเคราะห์ของรัฐ ได้มีสิทธิลงทะเบียน เพื่อที่เมื่อบุคคลเหล่านี้พ้นโทษ หรือพ้นการอุปการะจากภาครัฐ จะได้เข้า ถึงสิทธิสวัสดิการแห่งรัฐ

หน้า 19

อ.ชาติตระการ การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ทั้ง 6 ตำบล มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการ ค้นหากลุ่มเปราะบาง โดยขอข้อมูลจากพัฒนาการ ธ.ออมสิน : ต.บ้านดง , ป่าแดง , ท่าสะแก อำเภอ (TPMAP)

ธ.ธกส. : ต.บ่อภาค , สวนเมี่ยง , ชาติตระการ

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

อ.ชาติตระการ มีพื้นที่ห่างไกล มีกลุ่มชาติพันธุ์ กระจายจุดรับลงทะเบียนไปตามหมู่บ้าน เพื่อให้ อาศัยอยู่จำนวน และบางรายเป็นกลุ่มคนไร้สถานะ ประชาชนสามารถเดินทางไปลงทะเบียนได้ และควรประสาน ทางทะเบียนราษฎร์ จึงทำให้ไม่สามารถลงทะเบียน อพม. ในการสำรวจกลุ่มคนเปราะบางในพื้นที่ นอกจากใช้ เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐได้ และพบคนพิการที่ยังไม่ได้รับ ข้อมูลกลุ่มเปราะบางตาม TPMAP และให้ศูนย์พัฒนา การจดทะเบียนคนพิการ ราษฎรบนพื้นที่สูง ร่วมดำเนินการอำนวยความสะดวกแก่ กลุ่มคนเปราะบางในการมาลงทะเบียน

หน้า 20

อ.นครไทย การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.นครไทย มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการค้นหากลุ่ม เปราะบาง โดยเคาะประตูบ้านทุกหลังคาเรือน เพื่อ ธ.ออมสิน : ต.บ้านแยง , ห้วยเฮี้ย , หนองกะท้าว ประชาสัมพันธ์ให้ไปลงทะเบียน มีการเตรียมความพร้อมใน การทำบัตรประชาชนให้แก่ผู้ที่บัตรประชาชนหมดอายุ ธ.ธกส. : ต.นาบัว , นครชุม , น้ำกุ่ม

ธ.กรุงไทย : ต.เนินเพิ่ม , บ่อโพธิ์ , บ้านพร้าว ,

ยางโกลน

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

อ.นครไทย มีพื้นที่ห่างไกลจากตัวอำเภอ กระจายจุดรับลงทะเบียนไปตามหมู่บ้าน เพื่อให้ ประชาชนสามารถเดินทางไปลงทะเบียนได้ และควรประสาน อพม. ในการสำรวจกลุ่มคนเปราะบางในพื้นที่ และให้ศูนย์ พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง ร่วมดำเนินการอำนวยความ สะดวกแก่กลุ่มคนเปราะบางในการมาลงทะเบียน

หน้า 21

อ.เนินมะปราง การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.เนินมะปราง , บ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพม. อสม. ดำเนินการ ค้นหากลุ่มเปราะบาง เช่น ครอบครัวยากจนที่มีเด็กเล็ก ธ.ธกส. : ต.ชมพู , บ้านมุง , วังยาง ครอบครัว แม่เลี้ยงเดี่ยว ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่อยู่ในภาวะยากลำบาก และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือ ธ.ออมสิน : ต.วังโพรง , ไทรย้อย ให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ แห่งรัฐ เช่น การลงทะเบียนผ่านโทรศัพท์มือถือให้แก่กลุ่ม ปัญหาอุปสรรค คนโสดไม่มีครอบครัว

ยังมีกลุ่มเปราะบางที่เป็นคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา ติดเตียงบางรายที่มีบัตรประชาชนหมดอายุ ยังไม่ได้รับ การทำบัตรประชาชนใบใหม่ จึงทำให้ไม่สามารถลง ประสานศูนย์บริการทะเบียนภาค 6 สาขาจังหวัดพิษณุโลก ทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐได้ เพื่อนำชุดเคลื่อนที่ทำบัตรประชาชน (Mobile Unit) ลงพื้นที่ ทำบัตรประชาชนแบบเอนกประสงค์ (smart card) ให้แก่ กลุ่มเปราะบาง คนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ และ ผู้ป่วยติดเตียง เพื่อให้สามารถลงทะเบียนเข้าถึงสิทธิโครงการได้

หน้า 22

อ.บางกระทุ่ม การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.ไผ่ล้อม , เนินกุ่ม , วัดตายม มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการค้นหากลุ่มเปราะ บาง โดยยึดฐานข้อมูล จปฐ. และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือ ธ.ธกส. : ต.ท่าตาล , นครป่าหมาก , สนามคลี ให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ทั้งนี้อำเภอได้มีการสำรวจผู้ที่ไม่มีบัตรประชาชน หรือบัตร ธ.ออมสิน : ต.บางกระทุ่ม , โคกสลุด , บ้านไร่ ประชาชนหมดอายุ และได้ดำเนินการจัดทำบัตรให้ใหม่เรียบร้อย สำหรับกลุ่มเปราะบางที่ไม่สามารถเดินทางมาได้ด้วยตนเองทาง ธ.ออมสินจะดำเนินการลงไปรับลงทะเบียนให้ถึงที่พักอาศัย

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

ยังมีกลุ่มเปราะบางที่เป็นคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ควรประสาน อพม. อสม. ในการสำรวจกลุ่มคนเปราะบาง ติดเตียงบางรายที่มีบัตรประชาชนหมดอายุ ยังไม่ได้รับ ในพื้นที่ นอกจากใช้ข้อมูลกลุ่มเปราะบางตาม จปฐ. เพื่อป้องกัน การทำบัตรประชาชนใบใหม่ จึงทำให้ไม่สามารถลง ไม่ให้มีกลุ่มเปราะบางตกหล่น และประสานศูนย์บริการทะเบียน ทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐได้ ภาค 6 เพื่อลงพื้นที่ทำบัตรประชาชนแบบ smart card ให้แก่ กลุ่มเปราะบาง คนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้

หน้า 23

อ.บางระกำ การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ธ.ออมสิน : ต.ชุมแสงสงคราม , บางระกำ มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพม. และ อสม. ดำเนินการค้นหากลุ่มเปราะบาง โดยยึดฐานข้อมูล ธ.กรุงไทย : ต.ปลักแรด , บ่อทอง TPMAP และกลุ่มเปราะบางของ พม. และอำนวยความ สะดวกช่วยเหลือให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียน ธ.ธกส.หนองกุลา : ต.หนองกุลา , บึงกอก , นิคมพัฒนา เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ทั้งนี้อำเภอได้มีการสำรวจผู้ที่ไม่มีบัตร ประชาชน หรือบัตรประชาชนหมดอายุ และได้ดำเนินการ ธ.ธกส.บางระกำ : ต.คุยม่วง , ท่านางงาม , พันเสา , จัดทำบัตรให้ใหม่เรียบร้อย

วังอิทก

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

กลุ่มเปราะบางที่คู่สมรสไม่อยู่ในพื้นที่ ทำให้มี กรณีที่คู่สมรสอยู่นอกพื้นที่ ทางอำเภอได้ดำเนินการคัด ปัญหาในการยื่นเอกสารประกอบการลงทะเบียน สำเนาเอกสารของคู่สมรสให้แก่ผู้ลงทะเบียนและลงนามเอกสาร และยังมีกลุ่มเปราะบางรายที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ ที่มี รับรอง เพื่อให้กลุ่มเปราะบางสามารถลงทะเบียนได้ และกรณีบัตร บัตรประชาชนหมดอายุ ยังไม่ได้รับการทำบัตรประชาชน ประชาชนหมดอายุควรประสานศูนย์บริการทะเบียนภาค 6 ใบใหม่ จึงทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่ง เพื่อนำชุดเคลื่อนที่ทำบัตรประชาชน ลงพื้นที่ทำบัตรประชาชน รัฐได้ แบบ smart card ให้แก่กลุ่มเปราะบาง ที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้

หน้า 24

อ.พรหมพิราม การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.พรหมพิราม , หอกลอง มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพม. และ อสม. ธ.กรุงไทย : ต.ดงประคำ , ทับยายเชียง ดำเนินการค้นหากลุ่มเปราะบาง โดยยึดฐานข้อมูล ธ.ออมสิน : ต.ท่าช้าง , มะตูม , ตลุกเทียม , TPMAP และกลุ่มเปราะบางของ พม. และอำนวยความ ศรีภิมย์ สะดวกช่วยเหลือให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียน ธ.ธกส. เพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ทั้งนี้อำเภอได้มีการสำรวจผู้ที่ไม่มีบัตร : ต.วังวน , วงฆ้อง , มะต้อง , ประชาชน หรือบัตรประชาชนหมดอายุ และได้ดำเนินการ หนองแขม จัดทำบัตรใหม่เรียบร้อย

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

ยังมีกลุ่มเปราะบางบางรายที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ กรณีบัตรประชาชนหมดอายุควรประสานศูนย์บริการ ที่มีบัตรประชาชนหมดอายุ ยังไม่ได้รับการทำบัตร ทะเบียนภาค 6 เพื่อนำชุดเคลื่อนที่ทำบัตรประชาชน ลงพื้นที่ ประชาชนใบใหม่ จึงทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนเพื่อ ทำบัตรประชาชนแบบ smart card ให้แก่กลุ่มเปราะบาง สวัสดิการแห่งรัฐได้ ที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้

หน้า 25

อ.เมืองพิษณุโลก การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : เทศบาลนครพิษณุโลก มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพม. อสม. ดำเนินการ

สนง.คลังจังหวัด : ต.ในเมือง , อรัญญิก , กลุ่มเปราะบาง ค้นหากลุ่มเปราะบาง เช่น ครอบครัวยากจนที่มีเด็กเล็ก

ธ.ออมสิน : ต.หัวรอ , งิ้วงาม , ดอนทอง ,ท่าโพธิ์ , ครอบครัว แม่เลี้ยงเดี่ยว

ท่าทอง ,บ้านกร่าง ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่อยู่ในภาวะยาก

ธ.ธกส.พิษณุโลก: ต.วัดจันทร์ , ปากโทก , มะขามสูง , บึงพระ ลำบาก และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือให้ประชาชนกลุ่ม

ธ.ธกส.บ้านกร่าง: ต.บ้านคลอง , ไผ่ขอดอน , พลายชุมพล เปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

ธ.ธกส.บ้านใหม่ : ต.วังน้ำคู้ , วัดพริก

ธ.ธกส.อินโดจีน : ต.สมอแข , บ้านป่า

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา

อ.เมืองมีความเป็นสังคมเมือง มีประชากรย้ายเข้ามา One Home บูรณาการร่วมกับ สภ.เมืองพิษณุโลก อาศัยอยู่จำนวนมาก รวมถึงพบกลุ่มคนเร่ร่อนตามบริเวณ เทศบาลนครพิษณุโลก เทศกิจ ร่วมกันสำรวจกลุ่มคนเร่ร่อน ที่สาธารณะซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลที่เข้าไม่สิทธิสวัสดิการต่างๆ ตามที่สาธารณะ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ ของรัฐ คนเร่ร่อนบางรายไม่มีบัตรประชาชน บางรายมี แห่งรัฐและอำนวยความสะดวกนำไปลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการ อาการทางจิตประสาท แห่งรัฐ ณ สนง.คลังจังหวัด

หน้า 26

อ.วังทอง การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.วังทอง , ดินทอง , หนองพระ , มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อพม. และ อสม. ดำเนิน การค้นหากลุ่มเปราะบาง โดยยึดฐานข้อมูล TPMAP และ ชัยนาม กลุ่มเปราะบางของ พม. และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือให้ ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ธ.กรุงไทย : ต.แม่ระกา , วังพิกุล โดยให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการคัดกรอง ลูกบ้านของตน และช่วยลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์สำหรับ ธ.ออมสิน : ต.บ้านกลาง , ท่าหมื่นราม กลุ่มคนโสด และแนะนำในการกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียน สำหรับกลุ่มคนมีครอบครัว ธ.ธกส. : ต.แก่งโสภา , วังนกแอ่น , พันชาลี ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา ปัญหาอุปสรรค ประสานศูนย์บริการทะเบียนภาค 6 เพื่อนำชุด ยังมีกลุ่มเปราะบางบางรายที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ เคลื่อนที่ทำบัตรประชาชน ลงพื้นที่ทำบัตรประชาชนแบบ ที่มีบัตรประชาชนหมดอายุ ยังไม่ได้รับการทำบัตร เอนกประสงค์ (smart card) ให้แก่กลุ่มเปราะบาง ประชาชนใบใหม่ จึงทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนเพื่อ คนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ สวัสดิการแห่งรัฐได้

หน้า 27

อ.วัดโบสถ์ การนำกลุ่มเปราะบาง ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ

จุดรับลงทะเบียน แนวทางการค้นหากลุ่มเปราะบาง

ที่ว่าการอำเภอ : ต.วัดโบสถ์ , ท้อแท้ มอบหมาย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ดำเนินการค้นหากลุ่ม เปราะบาง โดยยึดฐานข้อมูล TPMAP และกลุ่มเปราะบาง ธ.ออมสิน : ต.ท่างาม , บ้านยาง ของ พม. และอำนวยความสะดวกช่วยเหลือให้ประชาชนกลุ่ม เปราะบางได้ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ทั้งนี้อำเภอได้มี ธ.ธกส. : ต.คันโช้ง , หินลาด การสำรวจผู้ที่ไม่มีบัตรประชาชน หรือบัตรประชาชนหมดอายุ และได้ดำเนินการจัดทำบัตรใหม่เรียบร้อย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา - กรณีเด็กกำพร้าที่อายุไม่ถึง 18 ปี ที่อาศัยอยู่กับ ปู่ย่าตายาย ไม่สามารถติดต่อบิดามารดาได้ เด็กเหล่านี้ ประสาน อพม. ให้ร่วมดำเนินการสำรวจกลุ่มคนเปราะบาง จะไม่สามารถลงทะเบียนได้ ในพื้นที่ เพื่อป้องกันไม่ให้มีกลุ่มเปราะบางตกหล่น และดำเนินการตรวจสอบสถานะการลงทะเบียน หากลง -กรณีที่คู่สมรสเลิกราแยกทางกันไป แต่ยังไม่ได้จด ทะเบียนไม่สมบูรณ์จะได้ดำเนินการยื่นเอกสารเพิ่มเติม ทะเบียนหย่าร้าง ทำให้ข้อมูลการลงทะเบียนไม่สมบูรณ์ และยืนยันการลงทะเบียนใหม่อีกครั้ง เพื่อไม่ให้ขาด คุณสมบัติในการลงทะเบียน

หน้า 28

ข้อมูลการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 จังหวัดพิษณุโลก

อำเภอ จำนวนผู้ถือ จำนวนครัว จำนวนครัว จำนวนผู้ลง บัตรสวัสดิการ เรือนเปราะ เรือนที่ได้รับ ทะเบียนเพื่อ บาง ตาม เงินอุดหนุน สวัสดิการแห่งรัฐ แห่งรัฐ TPMAP ปี 2560 จาก พม. ปี 2565

ชาติตระการ 14,777 2,378 429 12,172

นครไทย 25,819 6,520 764 22,553

เนินมะปราง 17,916 2,669 1,051 12,713

บางกระทุ่ม 10,955 3,230 493 8,734

บางระกำ 22,287 6,864 599 15,057

พรหมพิราม 20,172 6,868 692 14,685

เมืองพิษณุโลก 41,192 14,206 760 33,090

วังทอง 29,583 7,658 1,214 19,755

วัดโบสถ์ 8,777 3,095 564 8,742

ผู้ลงทะเบียน ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 มีจำนวนทั้งสิ้น 147,501 คน

ผู้มีบัตร ปี60 เปราะบาง TPMAP ผู้เคยได้รับเงินอุดหนุน พม. ผู้ลงทะเบียนปี 65

50,000

40,000

30,000

20,000

10,000

0

ชาติตระการ นครไทย

เนินมะปราง บางกระทุ่ม

บางระกำ พรหมพิราม เมืองพิษณุโลก

วังทอง วัดโบสถ์

หน้า 29

การพัฒนาศักยภาพ

ครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานด้านเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจังหวัดพิษณุโลก ผ่านการเล่านิทานสองภาษาเพื่อเสริมสร้าง

ความฉลาดทั้ง 7 ด้าน (7Q) ประจำปี 2566 หน้า 30

กาครรพูแัลฒะพนี่เลาี้ยศงัเกด็กยปภฐามวพัย วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อหารือแนวทาง การพัฒนาหลักสูตรอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์ สังกัดสาขาภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 16.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก ต.ท่าทอง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก วันเสาร์ที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. ร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิดการประชุมสะท้อนผลและขยายผลเพื่อพัฒนาทักษะทางปัญญา และการคิดวิเคราะห์ของเด็กระดับอนุบาลผ่านการเล่านิทานสองภาษาของครูและผู้ปกครอง จิตอาสา ณ โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค อ.เมืองพิษณ จ.พิษณุโลก วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก ต.ท่าทอง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

หน้า 31

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย 1 Critical Thinking IQ (Intelligence Quotient) ความ 2 Creative EQ (Emotional Quotient) ร่วมมือ 3 Computer MQ (Moral Quotient) 4 Communication CQ (Creativity Quotient) ผ:ู้รพับมผจิด. ช+อบบ้าโคนรพังกกเาด็รกฯฯ :ทีผมศพั.ดฒรน.สาุดหาลกักาสญูตจรนฯ์ ปัทมดิลก 4C 7Q AQ (Adversity Quotient) ที่ปรึกษาโครงการฯ SQ (Social Quotient) : ศ.(พิเศษ) ดร.กาญจนา เงารังษี : ทคีณมสะนแับพสทนยุศนาสตร์ ร.พ.ม.นเรศวร (น2ิทภาาษนา) PQ (Play Quotient) :: วนคิทณายยะเาพรืกอยรงาศบักาดลิ์ศปิา่นสปตรร์ะมที.ปนเรศวร

วัตถุประสงค์ (เสทพเแเเี7พปพพิ่ืืืลา้ผษ่่่Qูาอออ้มะมณหีสสใ)าคุสหม่รรรโแ้ว้้วลเถาาาลาดนกงงย็นมะกรศคใำู่สเเวปนนวตไพาืมาปฐจ่รยมอัี์มแมยงปพานัลหรมวร่รฒัำวะยวคะถัรมนสดไ่ยวอดุมตมาพาก้ืงิรอเามาัษตใดบ์มชแ็หพใิณก้กทกลชศุริ้เู้าโสะใศลอนล็หรเากทม้ยคพกเม์ัตาเหพร้ฒขาัืงใน้อมฒรหาขนแ้ขาถสอ่เนูาบ่ะาปเศง็าพยสบินเพตเ่สใมมดทศวลนี็รู่ศกกริชนัเักม่กบมรเวยืาลสษ์ยอบ็ยรพกรภัทง้พรพีาฒอิั่โัืบา่ฒงฒลน2พนคทก1นๆนอาวศาเาางขดตศคม็7ูอ์กวนคฉQงรเยลวลทร์็ุาพาใกษกันมดแฒทภีรจทูู่หัั้มน้่งงิ2ทงภหาั1คก7เุาวดณัษค็ดดก้ภะาเลาน็พก งบประมาณ แจ๙ก(กำหอ๙รนงล๕ม่ทวงุก,น๘นิงจบคเ๗ุกง้มิป๐นาครรบรเะดอา็มกงทาแเดณล็กะเยาวชน) ระยะเวลาดำเนินโครงการ : : 5 - 18 พ.ย. 65 : คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ 7 ธ.ค.65 - 12 มี.ค.66 : จัดอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่ กลุ่มเป้าหมาย เลี้ยงเด็กปฐมวัย จำนวน 9 รุ่น 13 มี.ค.66 - 5 พ.ค. 66 : กลุ่มเป้าหมายทดลองใช้สื่อฯ ครูใน ศพด. (อปท.) 227 คน 5 พ.ค.66 - 9 มิ.ย.66 : การทิเทศ/ติดตามผลการใช้สื่อฯ ครูในสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน 26 มิ.ย.66 : ประชุมถอดบทเรียน (สังกัดพม.) 7 แห่ง พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง สภาเด็กและเยาวชน

หน้า 32

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 ณวสขรเว่ิัววเยนอคลมาโงเารรสเภยาปงา0ผ็าะแนร9ษลห์รทเ์.เีามก0ข่พีขื0ยเ่อ1อรอรืง7อพนงตเัิดนค.ฒกใ็ักรนแนูนแรพพยาิะลธาทดีระัเัยอกปผบูิน้ยษปดอัละกกน2ุทาคบ5ปราร6าาปงอล5รป์รงคผั่ะจญาิชตนุญจมอก.าสพาาิแสะษรลาทเณ้ละุอ่กาโนลนาิผกรทลคาิแดนละ วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. 2565 เวลา 16.00 น. เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี เวลา 09.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนา อดีตอธิการบดี ม.นเรศวร เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ นามปากกา "ตุ๊บปอง" ศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมือง ปัทมดิลก นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก จ.พิษณุโลก อาจารย์ ม.นเรศวร ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. กิจกรรม : เข้าพบ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร สถานที่ : ณ บ้านพักส่วนตัวของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี ต.สมอแข อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก วัตถุประสงค์

เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย เพื่อหารือแนวทางการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

ผู้เข้าร่วมการประชุม

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางศิริกานต์ ชาวห้วยหมาก หัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สนง.พมจ.พิษณุโลก นายพิทักษ์ บุญฤทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการประชุม นำการเล่านิทานเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะ 4C และ 7Q แก่เด็กปฐมวัย นิทานที่ใช้ต้องเหมาะสมกับพัฒนาการแต่ละช่วงวัย และสอดคล้องกับวัฒนธรรม พื้นถิ่น เช่น นิทานชาดก หรือนิทานพื้นบ้าน นำภาษาอังกฤษมาร่วมในการเล่านิทาน เพื่อให้เด็กมีทักษะด้านภาษาอังกฤษ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมประกอบด้วย ครูและพี่เลี้ยงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานรับ เลี้ยงเด็กเอกชนในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และขยายผลสู่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และสภาเด็ก และเยาวชน ดำเนินการประสาน ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์ สังกัดสาขาภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อร่วมร่างและพัฒนาหลักสูตรในการอบรมพัฒนาศักยภาพครู และพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

หน้า 33

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 ขรเสวณว่ิัววเยนอคลมาโงเารรสเภยาปงา0ผ็าะแนร9ษลห์รทเ์.เีามก0ข่พีขื0ยเ่อ1อรอรืง7อพนงตเัิดนค.ฒกใ็ักรนแนูนแรพพยาิะลธาทดีระัเัยอกปผบูิน้ยษปดอัละกกน2ุทาคบ5ปราร6าาปงอล5รป์รงคผั่ะจญาิชตนุญจมอก.าสพาาิแสะษรลาทเณ้ละุอ่กาโนลนาิผกรทลคาิแดนละ วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. เวลา 09.00 น. เวลา 16.00 น. เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนา อดีตอธิการบดี ม.นเรศวร ปัทมดิลก นามปากกา "ตุ๊บปอง" ศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมือง อาจารย์ ม.นเรศวร นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก จ.พิษณุโลก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก

วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น.

กิจกรรม : เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์สังกัดสาขาภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

สถานที่ : ณ ร้านกาแฟพันธุ์ไทย ปั้มน้ำมัน Pt สาขามหาวิทยาลัยนเรศวร วัตถุประสงค์

เเปพื้่าอหสมร้าายงคในวจาัมงหร่ววัมดมพืิอษแณลุโะลเกคใรืหอ้เขป่็านยศใูนนกย์าพัรฒพันฒานเดา็ศกูนเล็ยก์พแัฒห่นงคาุณเด็ภกาเลพ็ก เพื่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบที่ช่วยพัฒนา 7Q ในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อนำร่องให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอื่นๆ ของทุกภูมิภาคสามารถนำไปประยุกใช้ ใเหพื้่เอหสมร้าาะงสบมทกเัรบียบนริกบิจทกรรมและหลักสูตรต้นแบบในรูปของคู่มือที่เป็นเอกสาร และในรูปของสื่อผลมจากการใช้เทคโนใลยีที่เหมาะสม ที่เกิดจากความต้องการของผู้มีส่วนร่วมและสมาชิกในกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมการประชุม สรุปผลแสนผนลนกศาาะงงง.าดศส.ปรพิรารปริ.มวกสะรุจแาธดะ.รนาพาชมินตกุษ์มรหุา้ณชงญลุาัวโกจวลรสนหกูว์้ัตวธปรยัรทหกอมมศงดาปมิลก.ลัก(ดหภักอวาราหษะจนาท้าอารัรกงยว์กลุสง่ัฤมกงษกกาั)ารดรพคสัพฒณาัฒขนะานศาภึาสกาัสงษษัคงาาคมศอมัแางแลสกละตฤะครษ์สวมวาภัหสมาดามคัิ่วกนวิิทาชครยางากขลาอัยรงศนมึกเนรุษษศายว์ร

ความร่วมมือ - สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก ผู้รับผิดชอบโครงการ - แผลศะ.ดปรร.สะุดธาานกาหญลักจนสู์ตปรัทกมศดมิล.ก(ภอาาษจาาอรังย์กสัฤงษกัด) สคาณขะาศภึกาษษาาศอัางกสฤตษร์ มภหาาคววิิทชยากาลาัรยศนึกเรษศาวร เป็นหัวหน้าทีมพัฒนาหลักสูตร - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร กกทผูโั้าาทดศรรยนรอปงคคบุรคณตุคะรกริณ-ชชชค่เาเมร่่่ล(มูรุวววณชCวืง่ทิพ่มุ่ีองงงนกัฒ่oวเะฒทททเงิลีีีางgปีแ่่่ศ7ด้้รทnยัน้าี243Qพกาด่iงาหtนดทำเ1ิ:::iค์vดมเเย:็กกกรปศeนกูาิิีแิศจจาน)รนยนลรากกจษขาปกตสะรรายอฐิราพดตกรรีงจกะรุ่ิมมตรคเศทจตโลูีโีิสอาคร่น้แปรูยมพะภไรยีลงงิ่์กกทงเ(พปเพะ้ลนดกัรีาอ้็รสยฒยากาฤรันาางมงรนปกนยคบเผปำดฐษขาแม็ลา์าสมกเืยบลก่ดก่อวสร็ามงััโากกยไฐำยดกรหปาเินมผยลจดนัาใ็"กนลกำกชำวตอุ้ิงกเ๊ตรรทใบาน่โานรอาิรจดยปนีนมรงพวายาือ่วดง้ราินล4นองจาำัยกัย"ท์ำนอยเีอจ)า่นนรจกแำิาส่รเอน่เรกเหเพวกริืภป่งงง่มน็งศอรจาอนชหเใวะปำนพนาืารโทน4่รโดตอววคัิะิวรเนยทปชปรเน(่ว็กทมวยวรงีนิิงั่จชงาบนก4กท2กล.าีคสั)าืมอยร่รเอวรเปรำสนปา็นพโม็เนนิเัมดนภัทรชฒกบ่ยสศทอิวาีจำ่เสนวงนปชกเนริเารสรญชุร็ึ้สนจกแอราัผงขูมเลษง้ปมคอภะภ็ีานสมกงโาา่ิกควโแจษคคนารกปลารรงไระฏงบดก(ิร้Mกคบสรามั่าวรรตวoชิร่ยานวvสมางeเรยสบม้ีัา่เ่ยUานรงื่ยอสpคื(่เSงอ)ปงคt็กขนaวาอkการeมงาเลhมรส่าบoำนนุรคlิษัdทรญยยeา์ขานrเsอยสป)งแ็อนเลข7ง้ปกภQาเรราป่วะแษลมีธลา่ยดาแะ้นนกลวเยาะใรีรนเยคปพนริรื่รัธอูบ้ีเงปมิืดอ

หน้า 34

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 สเวณวรข่ิัววเยนอคลมาโงเารรสเภยาปงา0ผ็าะแนร9ษลห์รทเ์.เีามก0ข่พีขื0ยเ่อ1อรอรืง7อพนงตเัิดนค.ฒกใ็ักรนแนูนแรพพยาิะลธาทดีระัเัยอกปผบูิน้ยษปดอัละกกน2ุทาคบ5ปราร6าาปงอล5รป์รงคผั่ะจญาิชตนุญจมอก.าสพาาิแสะษรลาทเณ้ละุอ่กาโนลนาิผกรทลคาิแดนละ วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. 2565 เวลา 16.00 น. เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี เวลา 09.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนา อดีตอธิการบดี ม.นเรศวร เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ นามปากกา "ตุ๊บปอง" ศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมือง ปัทมดิลก นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก จ.พิษณุโลก อาจารย์ ม.นเรศวร ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก

วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 16.00 น.

กิจกรรม : เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก

สถานที่ : ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก ตำบลท่าทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์

เพื่อหารือการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย โดยใช้การเล่านิทานเป็นสื่อในการพัฒนาทักษะ 4C และ 7Q

ผู้เข้าร่วมการประชุม

นายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือ สำหรับเด็ก นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นางศิริกานต์ ชาวห้วยหมาก หัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สนง.พมจ.พิษณุโลก สรุปผลการประชุม กิจกรรมสาธิตการเล่านิทานให้สนุก การเล่านิทานให้สนุกใช้วิธี ในการเล่าที่แตกต่างกันไป เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจ ติดตามฟังเนื้อเรื่องจนจบ ในบางเรื่องอาจเป็นการเล่าปากเปล่า บอกเล่าเรื่องราวด้วยการเน้นน้ำเสียงและท่าทางที่น่าสนใจ หรือในบางเรื่องอาจเป็นการเล่าแบบการใช้อุปกรณ์ เช่น หุ่นมือ หุ่นนิ้ว ตุ๊กตา หรืออุปกรณ์รอบตัวที่มีอยู่ในบ้าน หรือเล่าแบบการ ใช้กิจกรรม เช่น การเล่าไปวาดรุปไป หรือเล่าไปพับกระดาษไป จะช่วยให้นิทานมีความสนุกสนานและน่าสนใจขึ้นได้ เด็กแต่ละคนจะมีความชอบที่แตกต่างกัน มีบุคคลิก และลักษณะ นิสัยที่ชัดเจนมากขึ้น ดังนั้นหนังสือที่เหมาะสม จึงควรเป็นนิทาน ภาพที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว ที่เด็กสามารถเชื่อมโยง ตนเองกับตัวละครได้ อาจะเป็นเรื่องราวของคน สัตว์ สิ่งของ หรือสถานที่ที่เด็กๆ คุ้นเคย เน้นภาพที่สวยงามสดใส เนื้อหา เข้าใจง่าย และไม่ยาวเกินไป เพื่อให้เด็กๆ สามารถทำความเข้าใจ และติดตามเรื่องราวได้จนจบ นายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือ สำหรับเด็ก มีความยินดีเป็นวิทยากรในการอบรมพัฒนาศักยภาพ ครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

หน้า 35

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 วเขสวรณ่ิัววเยนอคลมาโงเารรสเภยาปงา0ผ็าะแนร9ษลห์รทเ์.เีามก0ข่พีขื0ยเ่อ1อรอรืง7อพนงตเัิดนค.ฒกใ็ักรนแนูนแรพพยาิะลธาทดีระัเัยอกปผบูิน้ยษปดอัละกกน2ุทาคบ5ปราร6าาปงอล5รป์รงคผั่ะจญาิชตนุญจมอก.าสพาาิแสะษรลาทเณ้ละุอ่กาโนลนาิผกรทลคาิแดนละ วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. 2565 เวลา 16.00 น. เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี เวลา 09.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนา อดีตอธิการบดี ม.นเรศวร เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ นามปากกา "ตุ๊บปอง" ศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมือง ปัทมดิลก นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก จ.พิษณุโลก อาจารย์ ม.นเรศวร ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก

สกผวแูัิ้ลจนถเขะกาเ้สากรนราาร่อผศทูวีรุึมร้่บปก์คมท:ิีษรถ:่ดิัปหณมาร1ว่นาริภวเิ7์รคะเม)โทแรชรเแกุลศปงัามล็นะกแะนะ์คยหรเโส์รกมราขูีพงยยเโอเปรรรรนืงีงอ.ตยเพเิดินนรใ2็ษีนยกวแ5ัณนพรดพุ6ิะอโโธ5บลีดนเรัุปกสบบอิเถดวอาเ์ยขักลลนลตุาพาบิรปษ1าป0ณาล9รุรผโ์ะ.่คล0าชกุน0มจกโส.นรพาะิงร.ษทเเร้ลีณอยุ่านนโนลผบิ้ทกลาานแนกลสระ่าอขงงยภ(าพายรษผะาลขขเาพอวื่ชงอัคยพัรสฒูิแทลนธิ์ะ)าผทโูัร้ปกงกเษรีคะยรทนอบา้งงาจปนิัตญเขอญาาสสามาอแคลง (ริ้วศิริวัฒน์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษี ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และอดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นประธานเปิดฯ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก หัวหน้าโครงการฯ กล่าวรายงาน นายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก วิทยากร

โรงเรียนร่วมพัฒนาหลักสูตร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1.โรงเรียนบ้านกร่าง (พระขาวชัยสิทธิ์) 2.โรงเรียนบ้านเขาสมอแคลง (ริ้วศิริวัฒน์อุปถัมภ์) 3. โรงเรียนวัดโบสถ์

ได้จัดทำคลิปนิทานจำนวน 21 เรื่อง (1 โรงเรียน:จัดทำคลิปนิทานภาษาไทย 2 เรื่อง สองภาษา 2 เรื่อง ภาษาอังกฤษ 2 เรื่อง และท้องถิ่น 1 เรื่อง) ซึ่งทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง และเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบ การประชุมฯ ในครั้งนี้

การประชุมปฏิบัติการจำนวน 3 หลักสูตร เพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ หน้า 36 สร้าง/คัดเลือกสื่อสำหรับการอ่านนิทานสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) รวมทั้ง ผลิตสื่อการเล่านิทานผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้ครู/ผู้ปกครองใช้สำหรับ การเล่านิทานสำหรับเด็ก ดังนี้ หลักสูตรที่ 1: การพัฒนาทักษะการเล่านิทานสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ของครูปฐมวัยและผู้ปกครองจิตอาสา กรณีโรงเรียนร่วมพัฒนา หลักสูตรที่ 2: การเสริมทักษะการเล่าเรื่องภาษาอังกฤษ และความรู้เรื่อง การผลิตวีดีโอสั้นเพื่อเล่านิทานสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ให้กับเด็กอนุบาล หลักสูตรที่ 3: การประเมินทักษะทางปัญญาและการคิดวิเคราะห์ของเด็ก ชั้นอนุบาลผ่านกิจกรรมการเล่านิทานสองภาษา (ไทย-อังกฤษ)

กคราูแรลพะัพฒี่เลนี้ยางศเัด็กกยปภฐมาวพัย

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 วันศุกร์ที่ 16 กันยายน วันศุกร์ที่ 16 กันยายน 2565 ณรวเวสข่ิัววเยนอคลมาโงเารรสเภยาปงา0ผ็าะแนร9ษลห์รทเ์.เีามก0ข่พีขื0ยเ่อ1อรอรืง7อพนงตเัิดนค.ฒกใ็ักรนแนูนแรพพยาิะลธาทดีระัเัยอกปผบูิน้ยษปดอัละกกน2ุทาคบ5ปราร6าาปงอล5รป์รงคผั่ะจญาิชตนุญจมอก.าสพาาิแสะษรลาทเณ้ละุอ่กาโนลนาิผกรทลคาิแดนละ วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. 2565 เวลา 16.00 น. เวลา 13.30 น. เข้าพบ ดร.กาญจนา เงารังษี เวลา 09.00 น. เข้าพบคุณเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนา อดีตอธิการบดี ม.นเรศวร เข้าพบ ผศ.ดร.สุดากาญจน์ นามปากกา "ตุ๊บปอง" ศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย ณ บ้านพัก ต.สมอแข อ.เมือง ปัทมดิลก นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก พิษณุโลก จ.พิษณุโลก อาจารย์ ม.นเรศวร ณ บ้านพักเด็กฯ จ.พิษณุโลก

วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 13.30 น. กิจกรรม : ประชุมแนวทางการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย สถานที่ : ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก ตำบลท่าทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก วัตถุประสงค์

เพื่อหารือแนวทางการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย

ผู้เข้าร่วมการประชุม

นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายนิตินัย อุทัยรังษี หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก คณะเจ้าหน้าที่บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก สรุปผลการประชุม บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก และสำนักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก ร่วมบูรณาการจัดการอบรมพัฒนาศักยภาพครูและพี่เลี้ยง เด็กปฐมวัย โดยใช้การเล่านิทาน 2 ภาษา (ไทย - อังกฤษ) เป็นสื่อในการพัฒนาทักษะ 4C และ 7Q แก่เด็กปฐมวัย พร้อมดำเนินการประสาน ผศ.ดร.สุดากาญจน์ ปัทมดิลก อาจารย์สังกัดสาขาภาษาอังกฤษ ภาควิชาการศึกษา และประธานหลักสูตร กศม. (ภาษาอังกฤษ) คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหัวหน้าทีมในการพัฒนา หลักสูตรการอบรม และเรียนเชิญนายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีบ นามปากกา "ตุ๊บปอง" นักเขียนหนังสือสำหรับเด็ก เป็นวิทยากร

หน้า 37

ศู น ย์ ช่ ว ย เ ห ลื อ สั ง ค ม ตำ บ ล

ศู น ย์ ก ล า ง บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม ร่ว ม มื อ ใ น ก า ร บ ริก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม สำ ห รับ ค น ทุ ก ช่ ว ง วั ย

หน้า 38

ศู น ย์ ช่ ว ย เ ห ลื อ สั ง ค ม ตำ บ ล

ศู น ย์ ก ล า ง บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม ร่ว ม มื อ ใ น ก า ร บ ริก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม สำ ห รับ ค น ทุ ก ช่ ว ง วั ย

Timeline

FRIDAY 01 ร่วมประชุมติดตามผลการดำเนินงาน 02 ของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล Sep. 9th บ้านกร่าง โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ รมว.พม. เป็นประธานฯ 14:00 - 16:00 น. ณ อบต.บ้านกร่าง อ.เมืองพิษณุโลก ร่วมพิธีเปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคม ตำบลวังนกแอ่น โดยมี นายจุติ ไกรฤกษ์ SATURDAY

รมว.พม. เป็นประธานฯ Sep. 10th ณ บ้านประธานศูนย์ช่วยเหลือสังคม ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 10:30 - 11:30 น.

SATURDAY 03 เข้าร่วมพิธีเปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคม 04 ตำบลเนินเพิ่ม โดยมีนายจุติ ไกรฤกษ์ Sep. 17th รมว.พม. ให้เกียรติเป็นประธานใน

15:00 - 16:00 น. พิธีเปิดฯ ณ สถาบันเพาะกล้า ต.เนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก พิธีเปิดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ถอดบทเรียนและการจัดการความรู้ TUESDAY (KM) การยกระดับศูนย์ช่วยเหลือสังคม ตำบล รายจังหวัด เพื่อการพัฒนา Sep. 20th คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ณ โรงแรมหรรษนันท์ อ.เมืองพิษณุโลก 09.30 - 10:30 น.

THURSDAY 05 มอบป้ายศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล 06 ให้นายอำเภอพรหมพิราม เพื่อดำเนินการ Sep. 22th ส่งมอบให้ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล 12:00 - 12:30 น. ในพื้นที่ต่อไป ณ ที่ว่าการอำเภอ

สำรวจสถานที่เพื่อเตรียมความพร้อม พรหมพิราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก เปิดศูนย์ช่วยเหลือสังคมตำบล FRIDAY ชาติตระการ ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน ม.9 ต.ชาติตระการ อ.ชาติตระการ Sep. 23th จ.พิษณุโลก 11.30 - 12:00 น.

หน้า 39

ศู น ย์ ช่ ว ย เ ห ลื อ สั ง ค ม ตำ บ ล

ศู น ย์ ก ล า ง บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม ร่ว ม มื อ ใ น ก า ร บ ริก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม สำ ห รับ ค น ทุ ก ช่ ว ง วั ย

ถอดบทเรียนการขับเคลื่อน

จุดเด่น จุดอ่อน/ข้อท้าทาย

1.มีคณะกรรมการที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน และ 1.อาจมีการดำเนินงานที่ซ้ำซ้อนกับระบบงาน ครอบคลุม โดยเป็นความสมัครใจและได้รับ ในพื้นที่ และไม่มีกฎหมายรองรับ การรับรองจากพื้นที่ 2.ขาดการประชาสัมพันธ์ ทำให้ศูนย์ช่วยเหลือ 2.สามารถให้ความช่วยเหลือหรือให้บริการ สังคมตำบลอาจยังไม่เป็นที่รับรู้แก่ประชาชน ประชาชนในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว โดยทั่วไป

3.เป็นศูนย์บูรณาการทีมสหวิชาชีพระดับตำบล 3.งบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ/ โดยทำงานเชิงรุกและยึดชุมชนเป็นศูนย์กลาง ขาดงบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินงาน

5.มีเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการทำงาน เช่น Line “พม.พร้อมช่วย” , อพม.Smart

ข้อเสนอแนะ

การประเมินมาตรฐานศูนย์ช่วยเหลือ สังคมตำบล

1.One Home ร่วมกันจัดทำเกณฑ์ การประเมิน

-ด้านคณะทำงาน -ด้านผลการทำงานของศูนย์ -ด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 2.ประชาสัมพันธ์รับสมัครการประเมิน มาตรฐาน 3.One Home ลงพื้นที่ประเมินและร่วม กันพิจารณาคัดเลือกศูนย์ช่วยเหลือสังคมที่มี ความเข้มแข็ง 4.ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติพร้อมมอบ รางวัลศูนย์ช่วยเหลือสังคมดีเด่น

หน้า 40

One Homeจังหวัดพิษณุโลก

เยี่ยมเยียนให้กำลังใจและคำแนะนำ ในการปฏบัติงานแก่หน่วยงาน One Home

ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

หน้า 41

เยี่ยมเยียนให้กำลังใจและคำแนะนำในการปฏบัติงาน แก่หน่วยงาน One Home ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก

วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09.30 น. วันจันทร์ที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 11.30 น. นิคมสร้างตนเองทุ่งสาน สถานธนานุเคราะ์ 39 พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก วันจันทร์ที่ 19 กันยายน 2565 เวลา 10.00 น. วันจันทร์ 19 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. นิคมสร้างตนเองบางระกำ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหาย จังหวัดพิษณุโลก จากการค้ามนุษย์ (บ้านสองแคว) จังหวัดพิษณุโลก วันเสาร์ที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 11.00 น. สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งวังทอง วันเสาร์ที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09.30 น. จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จังหวัดพิษณุโลก วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 15.20 น. ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา13.30 น. จังหวัดพิษณุโลก บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดพิษณุโลก โดย นายกันบ้ตาพ*นหงสศมอ์างรยัแงเคษหีเวสมตืุจ่วอั่สงาวหัถงนวา(ัอนดกังคพาคุิ้รมษาตครณรทรุีว่อโจล5งรกแกาลตชระกรกพวฎาัฒจราฯเคนยีม่รยาออม2บาแ5ชล6ี2้พว5) หน้า 42 วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 16.30 น. สำนักงานเคหะจังหวัดพิษณุโลก

นิคมสร้างตนเองทุ่งสานเยี่ยมเยียน One Home จังหวัดพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

วันเสาร์ที่ 3 ก.ย. 65 เวลา วันจันทร์ที่ 5 ก.ย. 65 วันจันทร์ 19 ก.ย. 65 วันจันทร์ที่ 19 ก.ย. 65 วันเสาร์ที่ 24 ก.ย. 65 วันเสาร์ที่ 24 ก.ย. 65 วันจันทร์ที่ 26 ก.ย. 65 วันจันทร์ที่ 26 ก.ย. 65 วันจันทร์ที่ 26 ก.ย. 65 09.30 นสนิาค.นมสจร.้พาิงษตณนุโเลอกงทุ่ง เวลา 11.30 น. เวลา 09.00 น. เวลา 10.00 น. เวลา 09.30 น. เวลา 11.00 น. เวลา13.30 น. เวลา 15.20 น. เวลา 16.30 น.

สถานธนานุเคราะ์ สคม. (บ้านสอง นิคมสร้างตนเอง ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง บ้านพักเด็กและ ศูนย์พัฒนาราษฎรบน สำนักงานเคหะ 39 พิษณุโลก แคว) จ.พิษณุโลก บางระกำ จ.พิษณุโลก จ.พิษณุโลก วังทอง จ.พิษณุโลก ครอบครัว จ.พิษณุโลก พื้นที่สูง จ.พิษณุโลก จ.พิษณุโลก

ตำบลณวทัันบนเยิสคาามยร์สเทชี่รี้ยา3งงกตัอนนำยเเอภางยอทุนพ่งรส2หา5มน6พ5ิจัรงเาวหมลวัาจดัง0พิห9ษว.3ัณดุ0พโิลนษก.ณุโลก

นจผังลาหงกสวาัาดรสกไชเกเแขกสโเเยเทขตนวดปปพมท่ัพกศดไใทเดุาือจภาาลวงาาีพวิร้ศนด่ำ่ัคืยรรษรงััรกาอ้มษครดย่งรรพตาะัศอสเาาษนรบงดเจตคสพแพดิคมนเัสณิกศะะยาวสสกหิัคนฐำกวรรุตวำุไปบบรนนรรเฒา้รข่ม้มักดรโเาลาปาา้เาษไรืญนกิาาจ้ืนTงาลมอภนมงลมสจรัอนิงิลมงงิฐงาง่รPนนอคกนเหกยรรานหรรสตหิาอหคกโน้ใ่Mเงางคมาพวะิาเำารนาเมนงลจวดปวมแางคีกยมศแดุักมงฯ้ม่Aาด์ดพตนายัเนัภาาลจเคเลไกบักรอบฯนPัาพมพระหันงมดอเพสนยืะะืบษวิาร้ง6ว่ดอ่สบันรษมเ1เอแีรคใีวจูาแ่รไฒถ้ศอพ5ยัฐ้มวึหแนใูาดากณกเีมนขงลณ้2อนงนน้ก่พยมคัยลุนคไนจสิษคิทะรบใ่โอูย่มุงโแภจ์มร้เแะมวำหา่ล์งยนพ้รรจงือรเชกบไัืลา้ัแนเคลอาเผผค่ส่กวญงกำอฒอำผจูุสวมสยะ้ะณ่บว่้เเูาลเลนป1รเยง่ยืาชรรบไชรสภนนสใ่นิืโิืผะบ่อ0กูวมั3เกหมอภนอใงวดรงหา่าอน0ดลนานบม3อยรนคกณานคนชคัมิจยวัลีู%ิรุบต้บ5ัยพเนงืญรจรดนมมำ5ดชาาหอาทิ้9ส่คผผกณอนก9คชรโวททกไชา์สาิลีาีบรุดลดรัรืถ1่งยรวคงวมาต้นกงาใอ้นาิิวะชสนผชนรรทคนหรตกแวคคุิเงัย้ดัอพถมมวสลมสนมำคยกวากรลั์รัรืิ2าัเบบ่ััดฒมตรชตกอรตมาลอวรว(ะา3้้Bุิืศพา่าผใอยกเาเำนยจจมกงรืสยน2รรึ่Cนจ้งนัชบืืนนาลจไงากตรเองอราิรพด้ปคมกGง้ไรกกาลผทรรรค้อานนีาีมยัซุใร.เาวักร่ึสบมาร่ลองอณั่ย่นักเหงแ่งวสิไราตปรแมส้วต.ตยำยไนดษเ้)ลระสแภาเืเ้ถบริดนามัภเนนาพทกืรคุบไบะ่้มภตกนือาหัปงคดจ่าใ่าับตเษศมาอพ้ิาาพอสรนเหบมอูชลยตรวปงานสทงริสดตวชม็าญะสรงกงาุ่มกใ้ัเีรแนถร้ยดงนวร่ววยนพาท้มอสน์บาหาิืาลุเสคสอโตย้ชุเ้ช่วนสนย่มมงรงงบบนลิาะิัรางำิืคกจ่กตัคัเค้สรทคนนรคกสัวแออมน์ีิกรายนน่มรัาาเสมรถปคงนลอวาิัวษรรั์วเ้ใยคนตวืำเฯรยระงออกทอ้หรตัเเนรงมชถื้กรตรงนสำยอืืเรูว้าญออ่ากอนจนิรนนดงา ข้อเสนกกกคกุจเแอาาาาณัปดล็แรรรรนสทะตอปพีน่ิสมดอรรสนิะัมบูวนบกจั.าตจคเเปนิพอชต์สื.ิ่ร3สกอกุาอิงทสกมนใบภิหูธาามคิมค้รรสุิเามณปทคสมต็ัิรนศรทราสาอนไาชธมยิ์ปิง์กใ2บชนตัหีน2พตา.ิิมคคมร่(พ.1มาพ1ร)ษ.รารศน–าษฎะ.ย.รฎร(2คเ7าทร5ด.ี)ช่ิ2ตส1ม้บอ1มััญงคมญรีัติ