การเข ยนบรรณาน กรม หน งส อไม ม ผ เเต ง

การเขยี นอ้างองิ และ

บรรณานุกรม

การอา้ งอิงเอกสาร

การอ้างอิงเอกสาร (Citations) คือ การบอกแหล่งท่ีมาของข้อมูลท่ีผู้เขียน นามาใช้อ้างอิงในการเขียนรายงาย หรือผลงานต่างๆ เพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคล หรือ องค์กรผู้เป็นเจ้าของความคิดเดิม และเพื่อแสดงเจตนาบริสุทธิ์ว่าไม่ได้ขโมยความคิด หรือลอกเลียนข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิงรวมท่ังสะดวกแก่ผู้อ่านท่ีประสงค์จะ ทราบรายละเอียดอ่ืนๆ และตรวจสอบความถกู ต้อง จากต้นฉบับเดิม

บรรณานุกรม ( Bibliography)

บรรณานกุ รม ( Bibliography) หมายถงึ รายการของทรพั ยากรสารนเิ ทศท่ีใชค้ น้ ควา้ ประกอบการเขียน รายงาน และนาํ มาอา้ งองิ ไวท้ า้ ยเลม่

ทาไมต้องเขยี นบรรณานกุ รม?

ทำไมตอ้ งเขยี นบรรณำนุกรม?

ความสาคญั ของบรรณานกุ รม

1. เพอ่ื แสดงวา่ รายงานฉบบั นนั้ เป็นรายงานท่มี เี หตุผล มีสาระนา่ เชื่อถอื ได้ 2. เพื่อแสดงว่าผเู้ ขียนรายงานเคารพสิทธแิ ละความคดิ เหน็ ของผ้แู ตง่ หนงั สือที่ไดน้ ามาใช้ ประกอบการเขยี นน้นั 3. เพอ่ื เป็นแนวทางใหผ้ ูส้ นใจไดศ้ ึกษารายละเอยี ด หรอื ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีนามาประกอบการเขียน เพม่ิ เติมไดอ้ ีก 4. เพอื่ ตรวจสอบหลกั ฐานดงั้ เดิมทผ่ี เู้ ขียนนามาประกอบในรายงาน

องค์ประกอบของการเขยี นอ้างอิง

ช่อื -สกลุ ผู้แตง่ ช่ือเรอ่ื ง พมิ พค์ ร้ังที่

ปที พ่ี ิมพ์ เมืองทพ่ี ิมพ์และ สานกั พมิ พ์

*หมายเหตุ (พมิ พ์คร้งั ท)ี่ ใหร้ ะบุตงั้ แต่คร้งั ท่ี 2 เปน็ ตน้ ไป

กำรใช้อักษรย่อ

ม.ป.ท. แทนคาเตม็ ว่า (ไม่ปรากฏสถานท่ีพมิ พ)์ N.P. แทนคาเต็มว่า (no Place of publication) ม.ป.พ. แทนคาเตม็ วา่ (ไม่ปรากฏสานักพิมพ)์ n.p. แทนคาเตม็ วา่ (no publisher) (ม.ป.ป.) แทนคาเตม็ ว่า ไม่ปรากฏปีพิมพ์ (n.d.) แทนคาเต็มวา่ no date (บ.ก.) แทนคาเต็มวา่ บรรณาธิการ (Ed.) หรอื (Eds.) แทนคาเต็มวา่ Editor หรือ Editors

รูปแบบการเขียนบรรณานกุ รม

APA หรือ (American Psychological Association) พัฒนามาจากนัก สังคมศาสตร์และนักพฤติกรรมศาสตร์มากว่า 80 ปี เพ่ือเป็นมาตรฐาน ในการเขียน อย่างเปน็ ระบบสาหรับการทาวจิ ัย รายงานการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม บทความ และกรณีศึกษา สาหรับนักเขียนและนักศึกษานามาใช้ในวิทยานิพนธ์ซ่ึงเป็นรูปแบบที่ นยิ มใช้อยา่ งแพร่หลาย

รปู แบบการเขยี นบรรณานกุ รม

การเขียนช่อื ผู้แต่ง

ตอ้ งเรยี งลาดบั ตามพจนานกุ รม (ก-ฮ) ไมต่ อ้ งลงคานาหนา้ นามตาแหนง่ ทาง วิชาการคาเรียกทางวชิ าชีพและตาแหนง่ ยศต่าง ๆ (ยกเว้น มีฐานนั ดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ และสมณศกั ดิ์) เชน่

นายทินกร กระแสเทพ เขียนได้เปน็ ทนิ กร กระแสเทพ หม่อมเจ้า นวพรรษ์ ยคุ ล เขยี นไดเ้ ปน็ นวพรรษ์ ยคุ ล, หม่อมเจา้ หากช่ือผแู้ ตง่ เปน็ ชาวต่างชาติ ให้เขยี นสลบั นามสกุลมาอยู่ข้างหน้าแล้วต่อ ด้วยเครอื่ งหมาย (,) จากนนั้ ค่อยเขียนตามด้วยชื่อ เชน่ Emma Watson เขียนเปน็ Watson, Emma Thomas Holland เขยี นได้เป็น Holland, Thomas

รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม

ช่อื ผ้แู ต่งทีเ่ ป็นนิติบคุ คล ตอ้ งลงรายการเป็น สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช รายการ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวิชา วทิ ยาลยั เทคนิคกรงุ เทพ. สานกั งานคณะกรรมการการ ศกึ ษาศาสตร์ อาชีวศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา วิทยาลยั เทคนิคกรุงเทพ

รูปแบบการเขียนบรรณานกุ รม

ครั้งทีพ่ มิ พ์

รปู แบบการเขยี นบรรณานกุ รม

สถานทพ่ี มิ พ์ ต้องลงรายการเปน็

รายการ กรุงเทพฯ

กรงุ เทพมหานคร ม.ป.ท. หรือ n.p. ไมท่ ราบชอื่ เมอื ง

รูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม

สานักพมิ พ์

รูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม

ปที ีพ่ มิ พ์

การเขียนช่อื ผแู้ ต่ง

ผูเ้ ขยี น 1 คน ผ้แู ตง่ 1.//(ปพี ิมพ)์ .//ช่อื เร่ือง.//(พิมพค์ ร้ังท่ี).//สถานท่พี ิมพ์/:/สานกั พมิ พ.์ ทินกร กระแสเทพ.//(ปพี ิมพ)์ .//ชอ่ื เรอื่ ง.//(พมิ พค์ ร้งั ท่ี).//สถานท่พี มิ พ/์ :/สานกั พิมพ.์

ผู้เขียน 2 คน ผแู้ ต่ง1,/และผู้แต่ง2.//(ปีพมิ พ)์ .//ชื่อเร่อื ง.//(พมิ พ์ครง้ั ท่ี).//สถานที่พิมพ:์ //สานักพิมพ์. ชนิสรา ปาวะร,ี ทารกิ า เปลง่ ปลัง่ .//(ปพี ิมพ)์ .//ช่ือเร่อื ง.//(พิมพ์คร้งั ท)ี่ .//สถานทพี่ มิ พ/์ :/สานกั พิมพ.์

การเขยี นชอื่ ผแู้ ต่ง

ผู้เขียน 3 คน ผแู้ ต่ง1,/ผแู้ ตง่ 2,/และผแู้ ตง่ 3.//(ปีพิมพ)์ .//ชอื่ เรอ่ื ง.//(พิมพ์ครั้งท่ี).//สถานทพี่ มิ พ:์ //สานกั พมิ พ.์ ใกล้รุง่ หมายชื่น, ขนิษฐา แผน่ ทอง, และประยทุ ธ์ จนั ทรอ์ ังคาร. //(ปีพมิ พ)์ .//ช่อื เร่ือง.//(พิมพค์ ร้ังที่). ///////สถานทีพ่ ิมพ/์ :/สานักพิมพ.์

ผ้เู ขยี นมากกวา่ 7 คน ผแู้ ตง่ 1,/ผู้แต่ง2,/ผแู้ ตง่ 3,/ผแู้ ต่ง4,/ผู้แต่ง5,/ผู้แตง่ 6,…ผู้แต่งคนสดุ ทา้ ย./(ปพี ิมพ)์ .//ชื่อเร่ือง//(พมิ พค์ รง้ั ท)่ี .// สถานท่พี มิ พ์://สานกั พิมพ.์

การเขียนบรรณานุกรม

1. หนังสอื ผแู้ ตง่ 1.//(ปีพมิ พ)์ .//ชื่อเรือ่ ง.//(พมิ พค์ รงั้ ท่ี).//สถานท่ีพิมพ:์ /สาํ นกั พิมพ.์

ตัวอยำ่ ง สุกญั ญา รอส. (2561). วัสดุชวี ภาพ. พษิ ณโุ ลก: สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลยั นเรศวร. จักรพันธ์ เพช็ รภมู .ิ (2563). พฤติกรรมสขุ ภาพ : แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้. พษิ ณุโลก: สานกั พมิ พ์ ///////มหาวิทยาลยั นเรศวร.

การเขียนบรรณานกุ รม

1.1 หนงั สือไมป่ รากฏชอ่ื ผู้แต่ง ชื่อเร่ือง.//(พิมพค์ ร้งั ท่ี).//(ปพี ิมพ)์ .//สถานท่ีพิมพ/์ :/สานกั พิมพ.์

ตวั อย่าง หลากความคดิ ชีวิตคนทางาน. (2551). กรุงเทพฯ : แผนงานสุขภาวะองคก์ รภาคเอกชนสานกั งานกองทนุ ///////สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ.

การเขยี นบรรณานกุ รม

2. หนงั สอื แปล ชื่อผแู้ ต่งตน้ ฉบับ.//(ปีพมิ พ)์ .//ชื่อเรื่องท่แี ปล [ช่ือต้นฉบบั ] (ชือ่ ผูแ้ ปล, แปล).//สถานทีพ่ มิ พ์: สานักพิมพ.์ (ตน้ ฉบบั พิมพ์ปี ค.ศ. หรือ พ.ศ.) แบรี่ สมาร์. (2555). มเิ ชล ฟโู กต์ [Michel Foucault] (จามะรี เชียงทอง และสนุ ทร สราญจติ , แปล). กรงุ เทพฯ: //////// ศนู ย์มานุษยวิทยาสิรธิ ร (องค์การมหาชน). (ตน้ ฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 1994).

การเขยี นบรรณานุกรม

3. หนงั สอื พมิ พ์

ผูเ้ ขยี นบทความ.//(ปี, เดือน วนั ท)่ี .// “ช่อื บทความ.”//ชื่อหนังสือพมิ พ์.//เลขหน้า.

ตวั อยา่ ง ปรยี า เหลา่ ววิ ฒั น์. (2548, กุมภาพนั ธ์ 5). “อาหารเพ่อื สขุ ภาพ.” มติชน.

หน้า 5.

การเขยี นบรรณานกุ รม

4. อนิ เทอร์เน็ต

ผูเ้ ขยี นบทความ.//(ปี).// “ช่อื บทความ.”/ [ประเภทของสอ่ื ท่ีเขา้ ถงึ ].//เขา้ ถงึ ได้จาก/:/ ///////แหล่งขอ้ มลู หรอื ชอ่ื ของเว็บไซต/์ /สืบคน้ //วนั //เดอื น//ปีท่ีสืบคน้ .

ตัวอยา่ ง กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์. (2548). “พาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส.์ ” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :

http://www.moc.go.th/thai/dbe/ecoco/e-com 3.htm. สบื ค้น 3 กรกฏาคม 2554.

การเขียนบรรณานุกรม มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

1. บรรณานุกรมสากล รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทโดยไม่จำกัดว่าเป็นทรัพยากรสารสนเทศของชาติใด ภาษาใด 2. บรรณานุกรมแห่งชาติ รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศของประเทศใดประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ 3. บรรณานุกรมร้านค้า รวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่จัดพิมพ์โดยร้านค้าหรือสำนักพิมพ์เพื่อแนะนำทรัพยากรสารสนเทศใหม่ ๆ

ประโยชน์ของการเขียนบรรณานุกรมมีอะไรบ้าง

1. เพื่อแสดงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล 2. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นามาใช้ 3. เพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่องที่สนใจได้ 4. เพื่อเป็นการให้เกียรติเจ้าของผลงานที่นามาอ้างอิง และเป็นการแสดงถึงจริยธรรมของ ผู้เขียนผลงาน 5. ไม่เป็นการละเมินลิขสิทธิ์เจ้าของงาน

การเขียนบรรณานุกรมมีจุดประสงค์เพื่ออะไร

บรรณานุกรมเป็นส่วนที่มีความสำคัญในการทำผลงานทางวิชาการ เนื่องจากส่วน ของบรรณานุกรมเป็นส่วนที่แสดงถึงการค้นคว้าศึกษาอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ ที่นำมาเป็นข้อมูลความรู้ประกอบในการทำผลงานทางวิชาการ ดังนั้น การเขียนบรรณานุกรม

การเรียงรายการบรรณานุกรมมีวิธีการอย่างไร

หลักการเขียนบรรณานุกรมเบื้องต้น ○เรียงล าดับบรรณานุกรมตามตัวอักษรตัวแรกของรายการบรรณานุกรม ○สิ่งพิมพ์ภาษาไทย ให้เรียงตามล าดับอักษรชื่อผู้แต่ง ก - ฮ ○สิ่งพิมพ์ภาษาอังกฤษ ให้เรียงตามล าดับตัวอักษรชื่อสกุลของผู้แต่งA -Z ○แยกรายการภาษาไทย รายการภาษาต่างประเทศ โดยเรียงภาษาไทยก่อน