ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

การคิดอย่างเป็นระบบมีความสำคัญในหลายๆ ด้าน คือ ช่วยให้เกิดความคิดเพื่อพัฒนาองค์กรในภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสานงานร่วมกับบุคคลอื่นให้เป็นไปตามกระบวนการ และระบบการบริหารงานภายใน สามารถแก้ปัญหา ตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อมองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับระบบภายในองค์กรอย่างเป็นระบบเชื่อมโยงติดต่อกัน และสามารถแก้ไขสถานการณ์เอย่างมีประสิทธิภาพ

เทคนิคการคิดอย่างเป็นระบบ

ในการคิดอย่างเป็นระบบ จะมีเทคนิคที่ทำให้เกิดหรือส่งเสริมการคิดอย่างเป็นระบบ ดังนี้

  1. ยอมรับตนเองและเปลี่ยนใจตนเองให้ได้ว่าตนคือส่วนประกอบสำคัญที่เชื่อมโยงสิ่งต่างๆ
  2. เข้าใจธรรมชาติของระบบ และทุกสรรพสิ่งในโลกนี้สัมพันธ์กัน
  3. ฝึกการมองภาพรวมแทนสิ่งเล็กๆ แล้วค่อยๆ มองย้อนกลับ
  4. มองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อระบบ
  5. มองเห็น วัฏจักรของเหตุปัจจัย และการส่งผลย้อนกลับ
  6. เปิดอิสระในเรื่องการคิด ไม่ตีกรอบ ครอบงำความคิดของคนอื่น
  7. ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนเกิดแรงร่วมในกรสร้างความสัมพันธ์
  8. ยึดหลักการเรียนรู้ในองค์กรเป็นส่วนประกอบ คือ การเป็นนายตนเอง ลบความเชื่อฝังใจในอดีต สร้างความใฝ่ฝันถึงอนาคตร่วมกัน(Shared Vision) และฝึกการเรียนรู้ของทีม

อย่างไรก็ตามในการคิดอย่างเป็นระบบยังมีอุปสรรคหรือข้อจำกัดหลายประการ ที่ทำให้การคิดนั้นขาดความเป็นระบบ เช่น ผู้คิดหรือผู้นำขาดคุณลักษณะที่ดี ไม่กระตือรือร้น ไม่คิด ไม่สงสัย เชื่อง่าย ทำให้คิดอยู่ในกรอบ การใช้เหตุผลโดยการอ้างสิ่งที่เคยเกิดมาในอดีต ใช้เหตุผลโดยนำตนเองเป็นศูนย์กลาง ใช้เหตุผลแบบลวงตา ไม่ฟังใคร ถูกโน้มน้าวโดยคนหมู่มาก เชื่อมโยงเหตุผลผิด ขาดข้อมูล/ข้อเท็จจริง ขาดข้อมูลด้านวิชาการ ไม่รู้จักวิธีทางวิชาการ วิธีทางวิทยาศาสตร์

ประเภทของการคิดอย่างเป็นระบบ

การคิดอย่างเป็นระบบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

  1. การคิดอย่างเป็นระบบโดยตรง คือการมุ่งกระทำโดยตรง มีเป้าหมายกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่จำแนกรูปแบบการคิดตามพื้นฐานของมนุษย์ แต่แยกแบบการคิดโดยมุ่งเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ จำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ
  1. การคิดเพื่อเข้าใจหน่วยระบบ
  1. การคิดเพื่อวิเคราะห์ การอุปมาอุปมัย
  1. การคิดเพื่อออกแบบ และก่อตั้งหน่วยระบบ
  1. การคิดอย่างเป็นระบบทางอ้อม คือ การคิดอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยพื้นฐานแห่งการคิด เช่น การวิเคราะห์ การอุปมาอุปมัย การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การประเมินค่า ฯลฯ การคิดอย่างเป็นระบบทางอ้อม เป็นพฤติกรรมการคิดทางสมอง ที่สมองกระทำกับวัตถุ ซึ่งความคิด หรือ มโนคติ อาจมีหลายมิติ เกิดขึ้นจากประสบการณ์ และการคิดขึ้นเองจากโลกแห่งความเป็นจริง หรือ จินตนาการ

การคิดที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิตมนุษย์ มีหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการคิดเชิงระบบ เป็นวิธีการคิดเชิงบูรณาการ เป็นการขยายขอบเขตการคิดของเราที่มีต่อเรื่องนั้นๆ ออกไป โดยไม่ด่วนสรุปหรือตัดสินใจ แต่พิจารณาเรื่องนั้นอย่างละเอียด ทุกมุมมอง เปิดโอกาสให้ความคิดของคนเราได้มีการเชื่อมโยง เพื่อหาความเป็นไปได้ใหม่ๆ เห็นแนวทางแก้ปัญหาที่ดีกว่า และสร้างสรรค์ รวมทั้งให้เห็นความสัมพันธ์แบบเชื่อมโยงระหว่างเร่องนั้นกับปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

วันนี้อยากแลกเปลี่ยนเรื่องที่ผมพัฒนาตัวเองเองโดยการนำแนวคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) มาช่วยทำให้ผมสามารถแก้ปัญหาและป้องกันปัญหาได้ดีขึ้น ทำให้ผลงานออกมาเป็นที่ยอมรับจากบุคคลที่เกี่ยวข้องมากขึ้น มีความใจเย็นในการแก้ปัญหามากขึ้น ไม่เร่งรีบที่จะแก้ไขปัญหามากเกินไป

ในความคิดของผมนั้นคิดว่า การคิดอย่างเป็นระบบ คือ การมองที่ภาพกว้างมากกว่าจุดที่เป็นอยู่ ยอมรับว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของระบบ และระบบย่อยย่อมมีผลกระทบกับระบบที่ใหญ่กว่า วันนี้คงไม่ได้มาบอกว่า นิยามหรือความหมายคืออะไร แต่จะชี้ประเด็นสำคัญของการคิดอย่างเป็นระบบที่ผมประยุกต์ใช้อยู่ เช่น

การแก้ไขปัญหา เป็นวิธีจัดการปัญหาในระยะสั้น การคิดเชิงระบบ เป็นการแก้ปัญหาที่ส่งผลกระทบระยะยาว

ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

การประยุกต์ใช้ของผมนั้น ผมจะพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น คือ เหตุการณ์ที่ต้องแก้ปัญหาทันที เพื่อให้ปัญหาลดน้อยลงหรือหมดไป รูปแบบที่เกิดขึ้นซ้ำๆ ผมจะสั่งเกตการแก้ปัญหาของตัวเอง ว่าเป็นปัญหาที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหรือยัง เป็นปัญหาที่มีลักษณะคล้ายกับปัญหาอื่นๆ หรือไม่ แล้วพิจารณารูปแบบของปัญหาว่า เกิดขึ้นบ่อยที่จุดไหน หรือสาเหตุใด โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของปัญหา และมีผลกระทบมาก ผมก็จะนำปัจจัยสำคัญนั้นๆมาพิจารณาเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างนั้นๆใหม่เสียก่อน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นอีก หรือ อาจทำให้กระบวนการและขั้นตอนเปลี่ยนไปเลย ปัญหาเก่าก็จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย เพราะทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปแล้ว

การแก้ไขปัญหาในระยะหลังของผมนั้น จะไม่แก้ไขที่ตัวปัญหาแต่จะมองที่ ที่มาของปัญหาและสิ่งที่จะกระทบ หากเกิดปัญหานั้นขึ้น ก็จะดำเนินการปรับโครงสร้างที่เกี่ยวข้องใหม่เพื่อไม่ให้ปัญหาประเภทนี้เกิดขึ้นอีกเด็ดขาด แล้วทุกอย่างก็ดีขึ้นครับ

ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

ตัวอย่าง การ คิด อย่าง เป็น ระบบ

คิดอย่างเป็นระบบมีกี่ขั้นตอน

กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 7.1 การประเมินสถานการณ์ 7.2 การวิเคราะห์ปัญหา 7.3 การวิเคราะห์การตัดสินใจและการจัดการความเสี่ยง 7.4 การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

คิดอย่างไรให้เป็นระบบ

1. ยอมรับตนเองและเปลี่ยนใจตนเองให้ได้ว่าตนคือส่วนประกอบส าคัญที่เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ 2. เข้าใจธรรมชาติของระบบ และทุกสรรพสิ่งในโลกนี้สัมพันธ์กัน 3. ฝึกการมองภาพรวมแทนสิ่งเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ มองย้อนกลับ 4. มองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยต่าง ๆ ที่เอื้อต่อระบบ 5. มองเห็นวัฏจักรของเหตุปัจจัย และการส่งผลย้อนกลับ

การคิดอย่างเป็นระบบก่อให้เกิดอะไรบ้าง

การทำงานโดยใช้การคิดอย่างเป็นขั้นเป็นตอนจะช่วยให้สามารถมองเห็นภาพรวมของสถานการณ์ งานและปัญหาที่เกิดขึ้น สามารถเข้าใจรายละเอียดต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของเหตุการณ์หรือปัญหาต่าง ๆ มองเห็นว่าองค์ประกอบเหล่านั้นสัมพัทธ์กันอย่างไร และจะต้องทำอะไรหรือแก้ตรงจุดไหนเพื่อให้ผ่านพ้นปัญหาไปได้ หรือทำให้ผลลัพธ์ของการทำงานออกมาดี ...

การคิดอย่างเป็นระบบคืออะไร และดีอย่างไร

การคิดเชิงระบบ ( Systems Thinking ) เป็นการคิดในภาพรวมที่เป็นระบบ และมีส่วนประกอบที่สัมพันธ์เชื่อมโยงจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ เป็นการคิดอย่างมีเหตุมีผล เน้นการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาดเพื่อให้เกิดความถูกต้อง แม่นยำ รวดเร็วในองค์รวม