การเตร ยม 1 n naoh 10 ม ลล ล ตร

หน่วยนอร์แมลิตี (normality; N) หรือเรียกว่า นอร์แมล (normal) คือ ความเข้มข้นสารละลายบอกถึงจำนวนกรัมสมมูล (geq.wt.) ของตัวละลายในสารละลายปริมาตร 1 L เช่น สารละลายกรดไนทริก (HNO3) 1.0 N มีความหมายว่า ในสารละลายปริมาตร 1 L มีกรดไนทริกละลายอยู่ 1 กรัมสมมูล

การเตร ยม 1 n naoh 10 ม ลล ล ตร

geq.wt. = N x V

เมื่อ geq.wt. = จำนวนกรัมสมมูล (gram equivalent weight)

เมื่อ eq.wt. = น้ำหนักกรัมสมมูล

gFW = กรัมน้ำหนักสูตรตัวละลาย

n = จำนวนเวเลนซี

การเตร ยม 1 n naoh 10 ม ลล ล ตร

น้ำหนักสมมูลของสาร คำนวณได้จากสมการ (2.19) ซึ่งจำนวนเวเลนซีจะต้องพิจารณาจากชนิดของสารนั้น ๆ ดังนี้

  1. น้ำหนักสมมูลของกรด-เบส

กรด จำนวนเวเลนซี คือ จำนวน H+ ที่สามารถถูกแทนที่ได้ด้วยโลหะ เช่น

HCl มี n = 1

H2SO4 มี n = 2

เบส จำนวนเวเลนซี คือ จำนวน H+ ที่เข้าไปแทนที่ OH- ในเบส

NaOH มี n = 1

Ba(OH)2 มี n = 2

  1. น้ำหนักสมมูลของเกลือ พิจารณาจากจำนวนเวเลนซีของแคตไอออนและแอนไอออน โดยจำนวนเวเลนซีของเกลือไอออน คือ ผลคูณระหว่างเลขจำนวนอะตอม (เลขตัวห้อย) ของแคตไอออนและแอนไอออน เช่น

NaCl มี n = 1x1 = 1

Al2(SO4)3 มี n = 2x3 = 6

  1. น้ำหนักสมมูลของสารออกซิไดส์ (oxidizing agent) หรือสารรีดิวซ์ (reducing agent) ในปฏิกิริยารีดอกซ์ พิจารณาจากเลขออกซิเดชัน (oxidation number) ที่เปลี่ยนแปลงไปต่อ 1 โมเลกุล

สารออกซิไดส์หรือสารรีดิวซ์ที่นิยมใช้ในการไทเทรตหรือการวิเคราะห์ทางเคมี แสดงดังตารางซึ่งจะเห็นว่าเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยารีดอกซ์ขึ้นกับสภาวะกรด-เบสของสารละลายด้วย

ตารางที่ 1 น้ำหนักสมมูลของสารออกซิไดส์หรือสารรีดิวซ์

การเตร ยม 1 n naoh 10 ม ลล ล ตร

ที่มาจาก เคมีวิเคราะห์: หลักการและเทคนิคการคำนวณเชิงปริมาณ (หน้า 37) โดย วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ, 2565, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ

ข้อคิดเห็นที่ 1 ของผู้ทรงคุณวุฒิ

การเตร ยม 1 n naoh 10 ม ลล ล ตร
:

อันดับแรกต้องทราบน้ำหนักเชิงโมเลกุลของ NaOH ก่อนค่ะ ดูจากตารางธาตุ ก็บวกธาตุแต่ละตัวออกมาได้นะ

ส่วนหน่วย Normal (นอร์มัล) เนี่ย จะสัมพันธ์กับหน่วย Molar (โมลาร์) นะคะ แล้วเราจะคำนวณนอร์มัลอย่างไร ขึ้นอยู่กับความสมมูลของปฏิกิริยา

ลองเข้าไปอ่านวิธีการคิดในเวบที่ตามมาดูนะคะ ลอกมาให้อ่านบางส่วน..พอจะเข้าใจง่ายค่ะ

"Normality: There is a relationship between normality and molarity. Normality can only be calculated when we deal with reactions, because normality is a function of equivalents.

The example below uses potassium hydroxide (KOH) to neutralize arsenic acid. By studying the reaction it is possible to determine the proton exchange number to determine the normality of the arsenic acid.