การป องก นและการร กษา prevention and treatment ก.ข นปฐมภ ม

คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ I Citation: Office of Alcohol Control Committee. Manual of alcohol use disorder prevention and treatment for health promoting hospital. Bangkok: Aksorn graphic and design publisher; 2021. สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คู่มือ การดาเนินงานบริการป้องกันและบาบัดรักษา ผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ISBN : 978-616-11-4573-6 คณะท่ีปรึกษา 1. นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ 2. นายแพทยน์ พิ นธ์ ชนิ านนทเ์ วช 3. นายแพทยส์ รายทุ ธ์ บญุ ชยั พานชิ วทิ ยา 4. นายแพทย์เทอดศักดิ์ เดชคง 5. นางสาวมะลิ ไพฑูรย์เนรมิต 6. นายมงคล เงินแจ้ง คณะบรรณาธิการ 1. นายแพทย์พงศ์ธร ชาติพิทักษ์ 2. นางเมตตา คาพิบูลย์ 3. นางสาวณัฏฐธิดา สุขใหญ่ อธิบดีกรมควบคุมโรค ผอู้ า นวยการสา นกั งานคณะกรรมการ ควบคมุ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผอู้ า นวยการสถาบนั บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟู ผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี ผู้อานวยการสานักวิชาการสุขภาพจิต ผู้อานวยการกองสุขศึกษา นายกสมาคมหมออนามัย รองผอู้ า นวยการสา นกั งานคณะกรรมการ ควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สานักงานคณะกรรมการควบคุม เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สานักงานคณะกรรมการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ II คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คณะผู้จัดทา 1. แพทยห์ ญงิ ภทั รนิ ทร์ ชมภคู า 2. นายแพทย์อภิชาติ เรณูวัฒนานนท์ 3. นางวิมล ลักขณาภิชนชัช 4. นางสุภัชญา ยศประกอบ 5. ดร.โสฬวรรณ อินทสิทธ์ิ 6. นางสาวสิริกุล จุลคีรี 7. นางสาวจุฑาทิพ ต่อยอด 8. นายฤทธิรงค์ หน่อแหวน 9. นางสาวมณีรัตน์ ยินดี 10.นางสาวกัญญ์วรา เจนจรัสจินดา จัดพิมพ์โดย สานักงานคณะกรรมการควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 025903035 โทรสาร 0 2590 3035 ต่อ 111 พิมพ์ที่ สานักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2564 จานวน 11,000 เล่ม คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สถาบนั บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ แห่งชาติบรมราชชนนี กรมการแพทย์ สถาบนั บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ แห่งชาติบรมราชชนนี กรมการแพทย์ สถาบนั บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ แห่งชาติบรมราชชนนี กรมการแพทย์ กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สานักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต สานักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สานักงานคณะกรรมการควบคุม เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค สานักงานคณะกรรมการควบคุม เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) III

IV คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คานา ระบบสขุ ภาพในประเทศไทย มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ สามารถขยายการเขา้ ถงึ บรกิ าร สุขภาพไดค้ รอบคลมุ ประชาชนและพ้ืนที่มากขึ้น โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ที่ให้บริการในทุกด้าน ทั้งในด้านการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รวมถึง งานคุ้มครองผู้บริโภค ทาให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพท่ีจาเป็นได้ในหน่วยบริการ สุขภาพใกล้บ้าน ประกอบกับปัจจุบันสังคมไทยประสบปัญหาจากการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ในหลายมิติ เช่น สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งค่าใช้จ่ายในระบบบริการ สขุ ภาพ ตงั้ แตร่ ะดบั บคุ คล ชมุ ชน สงั คมและประเทศ ซง่ึ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บล เป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดประชาชน มีความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลใ์ นชมุ ชนเปน็ อยา่ งดี สามารถทจ่ี ะดา เนนิ งานตง้ั แตก่ ารบรกิ ารปอ้ งกนั และบา บดั รักษาผู้มีปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ หนังสือเล่มน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือสนับสนุนความรู้ให้บุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บลและศนู ยส์ ขุ ภาพชมุ ชน (ศสช.) นา ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดา เนนิ งาน บรกิ ารปอ้ งกนั และบา บดั รกั ษาผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ ซงึ่ เนอื้ หาหลกั ประกอบด้วย สถานการณ์การด่ืมเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ บทบาทของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บล การใหบ้ รกิ ารคดั กรอง บา บดั แบบสน้ั และสง่ ตอ่ การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจ เพอื่ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของผดู้ มื่ สรุ า การเฝา้ ระวงั และสง่ ตอ่ ผมู้ ภี าวะถอนพษิ สรุ าไปยงั โรงพยาบาลในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ และกระบวนการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดมื่ ทมี่ ี แอลกอฮอล์ในชุมชน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการดาเนินงานบริการป้องกันและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านท่ีเป็นบุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และศูนย์สุขภาพชุมชน เพื่อสามารถให้บริการส่งเสริม ป้องกันและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา จากการดม่ื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นระดบั ปฐมภมู ิ แกป่ ระชาชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพปญั หา และบรบิ ทของพนื้ ท่ี รวมทงั้ ประชาชนสามารถลด ละ เลกิ การดม่ื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลไ์ ด้ (นายแพทย์นิพนธ์ ชินานนท์เวช) ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ พฤษภาคม 2564 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ V สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

สารบัญ หน้า บทที่ 1 การดาเนินงานส่งเสริมป้องกันและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา 1 จากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์  สถานการณ์การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 2  การดาเนินงานบริการคัดกรองและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา 5 จากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์  บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) 9 ในการดาเนินงานส่งเสริมป้องกันและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา จากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ บทที่ 2 โทษ พิษภัยของเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 13  กลไกการออกฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย 15  ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดกับอาการที่แสดงออก 17 ของผู้ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์  ผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อตนเองและบุคคลอื่น 18 บทท่ี 3 การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของผดู้ มื่ สรุ า 23  ความสาคัญของการสนทนาสร้างแรงจูงใจเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 24 ของผู้ดื่มสุรา  Motivational Interviewing ในรูปแบบของการให้คาแนะนาแบบส้ัน 25 (Brief Motivational Advice: BMA)  Motivational Interviewing ในรูปแบบของการให้คาปรึกษาแบบสั้น 29 (Brief Motivational Intervention: BMI) VI คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

 ตัวอย่าง แนวทางการสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบส้ัน 32 (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับอาสาสมัครสาธารณสุข  ตัวอย่าง แนวทางการสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบสั้น 36 (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บทที่ 4 การคัดกรองการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การให้ความช่วยเหลือ 45 และการส่งต่อบาบัดรักษาในสถานบริการสุขภาพ  ทาไมต้องคัดกรองพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 46  ใครควรจะได้รับบริการคัดกรอง 46  การคัดกรองและการให้ความช่วยเหลือ 47  การสอบถามตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 48 (ASSIST 7 คาถาม)  การแจ้งผลระดับความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาจากการด่ืม 50 เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และให้การช่วยเหลือ  การบันทึกข้อมูลการให้บริการในระบบรายงาน HDC แฟ้ม Special PP 55 บทท่ี 5 การติดตามดูแลต่อเนื่องผู้มีปัญหาจากการด่ืมสุรา 59  ความสาคัญของการติดตามดูแลต่อเนื่อง 61  วิธีการติดตามดูแลต่อเนื่อง 61  กระบวนการดูแลต่อเนื่อง 61  การให้ความช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรค 62 ในการเลิกด่ืม  การให้คาแนะนาญาติ 64 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ VII สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ 6 การเฝ้าระวังและส่งต่อผู้มีอาการถอนแอลกอฮอล์ 67  อาการของการถอนแอลกอฮอล์ 68  การวินิจฉัยภาวะถอนแอลกอฮอล์ 69  ลักษณะทางคลินิกการถอนแอลกอฮอล์ 70  ปัจจัยเสี่ยงของภาวะถอนแอลกอฮอล์รุนแรง 73  ระดับความรุนแรงของภาวะถอนแอลกอฮอล์ 75  ข้อบ่งช้ีการรักษาแบบผู้ป่วยนอก 76  ข้อบ่งชี้การรักษาแบบผู้ป่วยใน 77 บทท่ี 7 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน 83  ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 84  ความสาคัญของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 86 การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน  กระบวนการ/ข้ันตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 89 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน  แนวทางการวัดและประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลด 95 และเลิกการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน  บทบาทหน้าที่และกิจกรรมหลักการดาเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 96 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กร หรือภาคีเครือข่ายในชุมชน VIII คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก 1 แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 104 ภาคผนวก 2 การบันทึกข้อมูลการให้บริการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา 106 การบาบัดแบบสั้น และการติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ภาคผนวก 3 แผนผัง : การคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา การบาบัดแบบสั้น 108 และการติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ภาคผนวก 4 แนวทางการรักษาตามระดับความรุนแรงของภาวะขาดสุรา 109 ภาคผนวก 5 แบบประเมินอาการขาดสุรา Alcohol withdrawal scale (AWS) 113 ภาคผนวก 6 แบบประเมินอาการขาดสุรา Clinical institute Withdrawal 116 Assessment of Alcohol Scale, Revised (CIWA-Ar) ภาคผนวก 7 แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุราหรือเครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ในชุมชน 120 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ IX สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

X คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทท่ี การดาเนินงานส่งเสริม ป้องกันและบาบัดรักษา ผู้มีปัญหาจากการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 1 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การดาเนินงานส่งเสริมป้องกันและบาบัดรักษา ผู้มีปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สถานการณ์การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบทั้งต่อตัวผู้ด่ืมเองและคนรอบข้าง ทาให้เกิดปัญหาทางสังคม อุบัติเหตุและอาชญากรรม เช่น การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ทางถนน อาชญากรรมและปัญหาความรุนแรง เป็นต้น ซึ่งเป็นปัญหาและภาระที่สาคัญ ท้ังต่อครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจในระดับประเทศ แม้ว่าจะมีมาตรการป้องกันการ บรโิ ภคแอลกอฮอล์ และมาตรการเฝา้ ระวงั ทางกฎหมาย แตก่ ไ็ มส่ ามารถทา ใหป้ ญั หาจาก การบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ลดลงได้ อีกทั้งเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เป็นสารเสพติด ประเภทหนึ่ง ที่ผู้ดื่มสุรามักไม่ตระหนักถึงปัญหาท่ีจะตามมา จากความเช่ือ ค่านิยม ท่ีแต่ละคนหรือกลุ่มเชื่อถือ การเข้าสังคม รวมพรรครวมพวก มีการสังสรรค์ต้องมี เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร่วมด้วย ดื่มแก้เหน่ือยหลังเลิกงานหรือด่ืมแก้เครียด แอลกอฮอลเ์ปน็ปจัจยัเสยี่งทางสขุภาพทสี่าคญั จากรายงานสถานการณแ์อลกอฮอล์ และสุขภาพ ปี พ.ศ. 2561 (Global status report on alcohol and health 2018) ข อ ง อ ง ค ก์ า ร อ น า ม ยั โ ล ก 1 พ บ ว า่ ใ น แ ต ล่ ะ ป มี ผี เ้ ู ส ยี ช วี ติ ท มี ่ สี า เ ห ต จุ า ก เ ค ร อ่ ื ง ด ม่ ื แ อ ล ก อ ฮ อ ล ก์ ว า่ 3.3 ลา้ นคนทวั่ โลก และการตายกอ่ นวยั อนั ควรทวั่ โลกประมาณ รอ้ ยละ 7.2 ทา ใหเ้ กดิ โรค และการเจ็บป่วยกว่า 230 ชนิด ตาม ICD-10 (บัญชีจาแนกทางสถิติระหว่างประเทศของ โรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10) เช่น โรคความผิดปกติ ของการใช้แอลกอฮอล์ (alcohol use disorder) โรคติดสุรา (alcohol dependence) โรคตบั แขง็ โรคมะเรง็ ตบั โรคมะเรง็ โรคกระเพาะอาหาร โรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs) โรคทางจติ เวช นอกจากนั้นการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ยังเพิ่มโอกาสต่อการติดเชื้อหรือเสียชีวิตจาก วัณโรคและโรคเอดส์มากย่ิงขึ้น นายแพทย์พงศ์ธร ชาติพิทักษ์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

รายงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ของประชากรไทยพ.ศ.25572พบวา่ การเสพตดิ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลเ์ ปน็ สาเหตลุ า ดบั ที่ 5 ของการสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะ (Disability-Adjusted LifeYears-DALYs)ในเพศชายคดิ เปน็ รอ้ ยละ4.5และการสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะจากภาวะบกพรอ่ ง ทางสขุ ภาพ(YearsofLifeLostduetoDisability-YLDs)การเสพตดิ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ เปน็ สาเหตลุ า ดบั ที่ 1 ในเพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.1 และเปน็ สาเหตลุ า ดบั ที่ 12 ในเพศหญงิ คิดเป็นร้อยละ 1.7 สาเหตุลาดับที่ 1 สาเหตุลาดับที่ 12 และการสา รวจพฤตกิ รรมการสบู บหุ รแี่ ละการดม่ื สรุ าของประชากร พ.ศ. 25603 พบวา่ ประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไป จา นวน 55.9 ลา้ นคน ดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลป์ ระมาณ 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 28.4) เป็นผู้ที่ดื่มสม่าเสมอ 7.0 ล้านคน (ร้อยละ 12.5) และ เปน็ ผทู้ ดี่ มื่ นานๆ ครง้ั 8.9 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 15.9) กลมุ่ อายุ 25-44 ปี มอี ตั ราการดมื่ สรุ าสงู สดุ ร้อยละ 36.0 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 20-24 ปี และ 45-59 ปี คือร้อยละ 33.5 และ 31.1 ตามลา ดบั เพศชายมอี ตั ราการดมื่ สรุ าสงู กวา่ เพศหญงิ ถงึ 4.5 เทา่ (รอ้ ยละ 47.5 และ 10.6 ตามลาดับ) ร้อยละ 1.7 ร้อยละ 13.1 กลุ่มอายุ 25-44 ปี ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จานวน 55.9 ล้านคน ดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลป์ ระมาณ 10.7 ลา้ นคน (ร้อยละ 28.4) กลุ่มอายุ 20-24 ปี กลุ่มอายุ 45-59 ปี ร้อยละ 36.0 ร้อยละ 33.5 ร้อยละ 31.1 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 3 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ผู้ท่ีดื่มสม่าเสมอ 7.0 ล้านคน ผู้ที่ดื่มนานๆ ครั้ง 8.9 ล้านคน ร้อยละ 12.5 ร้อยละ 15.9 จากรายงานสถานการณก์ ารบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นสงั คมไทยประจา ปี 25604 พบว่า นักดื่มเพศชายท่ีดื่มทุกวันมีสูงถึง ร้อยละ 12.54 และนักดื่มเพศหญิงที่ด่ืมทุกวัน ร้อยละ 5.67 และพบว่าอายุตอนเร่ิมดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์คร้ังแรกของนักดื่มปัจจุบัน และผู้ท่ีเคยดื่มแต่เลิกด่ืมแล้วเฉลี่ยอยู่ท่ี 20.31 ปี โดยอายุตอนเริ่มท่ีต่าที่สุดคือ 8 ปี นอกจากนั้นผลการสารวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 25565 พบวา่ คนไทยอายุ 18 ปขี นึ้ ไปทม่ี คี วามผดิ ปกตขิ องพฤตกิ รรมการบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ หรือ alcohol use disorders 2.7 ล้านคน โดยเป็นผู้ด่ืมแบบอันตราย (alcohol abuse) 1.8 ลา้ นคน และเปน็ ผดู้ มื่ แบบตดิ (alcohol dependence) 9 แสนคน แต่เข้ารับบริการสุขภาพเพียง ร้อยละ 1.6 ในปี พ.ศ. 2563 จากฐานรายงานระบบ 43 แฟ้มกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ผู้มีปัญหาจากการดื่มสุรา (F10.0 - F10.9) เข้ารับ การบาบัดในสถานบริการสุขภาพเพียงร้อยละ 9.47 (จานวน 255,625 ราย) แสดงถึง ช่องว่างการเข้าถึงบริการของผู้มีปัญหาจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่ยังสูงมาก 4 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การดาเนินงานบริการคัดกรองและบาบัดรักษาผู้มีปัญหาจากการ ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การปอ้ งกนั และควบคมุ ปญั หาจากเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ปน็ งานสา คญั ลา ดบั ตน้ ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ขององค์การอนามัยโลกและยุทธศาสตร์ความร่วมมือกับรัฐบาลไทย เพอื่ สนบั สนนุ การผลกั ดนั นโยบายการควบคมุ แอลกอฮอลใ์ นประเทศไทยใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ มากขึ้น สร้างสังคมที่ปลอดภัยจากปัญหาผลกระทบของการบริโภคแอลกอฮอล์ และองค์การอนามัยโลกได้ออกมาตรการแนะนาสาหรับการจัดการปัญหาแอลกอฮอล์ มีทั้งหมด 5 มาตรการ ซึ่งเป็นมาตรการที่ควรดาเนินการที่สุดและมีความคุ้มค่า เรียกว่า “SAFER” คือ SAFER การสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการควบคมุ และจา กดั การเขา้ ถงึ ทางกายภาพ S ของเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ (Strengthen restrictions on alcohol availability) การยกระดับและการบังคับใช้มาตรการควบคุมพฤติกรรมขับข่ี A ยานพาหนะหลังการดื่มแอลกอฮอล์ (Advance and enforce drink-driving countermeasures) การจดั ใหม้ กี ารเขา้ ถงึ ระบบบรกิ ารการคดั กรอง การบา บดั แบบสนั้ F และการบา บดั รกั ษาผมู้ ปี ญั หาเกย่ี วกบั การดม่ื สรุ า (Facilitate access to screening, brief interventions and treatment) คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 5 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การบงั คบั ใชก้ ฎหมายหา้ มหรอื จา กดั โดยครอบคลมุ การโฆษณา E การใหท้ นุ อปุ ถมั ภ์ และการสง่ เสรมิ การขายเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ (Enforce bans or comprehensive restrictions on alcohol advertising, sponsorship and promotion) การข้ึนราคาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ผ่านระบบภาษีสรรพสามิต R และมาตรการทางด้านราคาอ่ืน (Raise prices on alcohol through excise taxes and other pricing policies) ประเทศไทยมีการจัดการกับปัญหาเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ โดยนโยบายสาคัญ ในการควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ตามแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ (แผน 10 ปี : พ.ศ. 2554 - 2563) ซง่ึ ผา่ นการรบั รองจากกระบวนการสมชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาติ และได้รับความเห็นชอบโดยคณะรัฐมนตรี เป็นเครื่องมือสาคัญในการกาหนดทิศทาง และเป้าหมายของประเทศในการควบคุมปริมาณการบริโภค ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ และควบคมุ ความชกุ ของผบู้ รโิ ภค ลดความเสยี่ งของการบรโิ ภค จา กดั และลดความรนุ แรง ของปัญหา ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร6์ 5 ยุทธศาสตร์ 2 3 1 การควบคุมการเขŒาถึงทางเศรษฐศาสตร และทางกายภาพ การปรับเปลี่ยนค‹านิยมและแรงสนับสนุนในการดื่ม การลดอันตรายจากการบรโภค 4 การจัดการป˜ญหาแอลกอฮอลในระดับพื้นท่ี 5 การพัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนที่เขŒมแข็ง 6 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

โดยยุทธศาสตร์ที่ 3 การลดอันตรายจากการบริโภค เน้นไปที่การลดอันตราย จากการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (risk/harm reduction) เป็นการลดปัญหา หรือภาวะเสี่ยงหรือความสูญเสียที่อาจเกิดกับตัวบุคคล รวมท้ังบุคคลใกล้ชิดและสังคม โดยเนน้ ทกี่ ารปอ้ งกนั การเกดิ ปญั หาสขุ ภาพ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ลดการตายจากปญั หาดงั กลา่ ว ซงึ่ เปน็ การทา ใหผ้ ทู้ มี่ ปี ญั หาจากการบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ มีพฤติกรรมการบริโภคที่เป็นอันตรายน้อยลง ในขณะที่บุคคลเหล่านี้ยังไม่สามารถหยุด บริโภคได้ ท่ีผ่านมากระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินงานให้เกิด การขับเคลื่อนเชิงนโยบายจนเกิดผลสาเร็จในระดับหน่ึง7 โดยสร้างความร่วมมือและ บรู ณาการการทา งานรว่ มกนั ของภาคเี ครอื ขา่ ยทงั้ ภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ กรมควบคมุ โรค สถาบนั บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ แหง่ ชาตบิ รมราชชนนี กรมการแพทย์ กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิตและสานักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กองบริหารการสาธารณสุข ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุน บรกิ ารสขุ ภาพ กรมคมุ ประพฤติ กระทรวงยตุ ธิ รรม และศนู ยว์ จิ ยั ปญั หาสรุ า ตงั้ แตพ่ ฒั นา องค์ความรู้ พัฒนาศักยภาพบุคลากร เสริมสร้างเครือข่ายการดาเนินงานที่สนับสนุน ระบบบรกิ ารคดั กรอง บา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟสู ภาพผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ สาหรับการให้บริการบาบัดรักษา ผู้ติดเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ได้ดาเนินการมา อย่างต่อเนื่องตามความรับผิดชอบหลัก ของกระทรวงสาธารณสขุ ผา่ นสถานพยาบาล ในสงั กดั สา นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กรมการแพทย์ และกรมสุขภาพจิต คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 7

ในปี พ.ศ. 2561 คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาดา้ นการบา บดั รกั ษาฟน้ื ฟสู ภาพผตู้ ดิ สรุ า ไดจ้ ดั ทา แนวปฏบิ ตั กิ ารคดั กรองและบา บดั รกั ษาฟน้ื ฟสู ภาพผมู้ ปี ญั หาจากการดม่ื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล8์ เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการให้บริการ ซึ่งไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการบาบัดรักษา และฟื้นฟูสภาพในสถานพยาบาลเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมตั้งแต่การค้นหาและคัดกรอง ผู้ที่เสี่ยงต่อปัญหาจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การให้คาแนะนา คาปรึกษาเบื้องต้น การบา บดั รกั ษาและฟน้ื ฟสู ภาพ การดแู ลเชงิ รกุ ในชมุ ชนสา หรบั ผตู้ ดิ สรุ า : โปรแกรมใกลบ้ า้ น สมานใจ (PACT Model) และการดูแลช่วยเหลือผู้มีปัญหาการดื่มสุรา โดยอาสาสมัคร สาธารณสุข เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการบาบัดสามารถลดปริมาณการดื่ม หรือผู้ที่เลิกดื่ม ลดการกลบั มาดม่ื ซา้ และการกลบั มารกั ษาซา้ การคดั กรองผถู้ กู คมุ ประพฤตฐิ านความผดิ ขบั รถในขณะเมาสุราและส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการให้ได้รับการรักษาโดยเร็วเพื่อลดภาวะ แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งการลงข้อมูลคัดกรองและบาบัดแบบส้ัน ในระบบรายงาน 43 แฟ้มของกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือให้มีข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบายตั้งแต่ ระดับท้องถิ่นและประเทศของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการวางแผนใหบ้ รกิ าร ของหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ สา หรบั ผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลต์ อ่ ไป นอกจากน้ียังมีการดูแลและบาบัดทางเลือกโดยหน่วยบริการนอกระบบสุขภาพ ซง่ึ เปน็ การใหบ้ รกิ ารอกี รปู แบบหนงึ่ ทใ่ี หบ้ รกิ ารแกผ่ มู้ ปี ญั หาจากการดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ทไี่ มส่ ามารถเขา้ รบั บรกิ ารในโรงพยาบาลได้ หรอื เขา้ รบั บรกิ ารแลว้ ไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หา ไดส้ า เรจ็ ตวั อยา่ ง การใหบ้ รกิ ารบา บดั ฟน้ื ฟนู อกระบบสขุ ภาพ9 ไดแ้ ก่ ศนู ยป์ รกึ ษาปญั หา สุรา (1413 : Alcohol Help line) เป็นการเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงบริการดูแลช่วยเหลือ ผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลแ์ ละญาติ ผา่ นชอ่ งทางทไี่ มเ่ ผชญิ หนา้ คอื การให้ คาปรึกษาทางโทรศัพท์อัตโนมัติ 1413 ตลอด 24 ชวั่ โมง โดยบคุ ลากร ทางจิตเวชและมีการเชื่อมต่อกับ เครอื ขา่ ยตา่ งๆ เพอื่ ชว่ ยลด ละ เลกิ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ และการบา บดั ฟน้ื ฟแู บบการดแู ลชว่ ยเหลอื กนั เองและกลมุ่ ผตู้ ดิ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์นิรนามเป็นทางเลือก สาหรับผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีเป้าหมาย ในการหยุดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รวมตัวกัน โดยความสมัครใจ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ Alcohol Help line 1413 8 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทบาทของโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บล (รพ.สต.) ในการดา เนนิ งาน สง่ เสรมิ ปอ้ งกนั และบา บดั รกั ษาผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงการดาเนินงานส่งเสริมป้องกันและบาบัดรักษาผู้มีปัญหา จากการดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลไ์ ดอ้ ยา่ งครบวงจรและเขา้ ถงึ ชมุ ชน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล (รพ.สต.) ซึ่งเป็นหน่วยบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้ชิดชุมชน โดยพยาบาล หรอื เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ สามารถใหบ้ รกิ ารคน้ หาคดั กรอง ใหค้ า แนะนา /คา ปรกึ ษาแบบสนั้ แกผ่ มู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ สนทนาสรา้ งแรงจงู ใจเพอื่ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ของผดู้ มื่ สรุ า สง่ ตอ่ ผมู้ ปี ญั หาจากการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล/์ ผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการซบั ซอ้ น รวมทงั้ เฝ้าระวังและส่งต่อผู้มีภาวะถอนแอลกอฮอล์ ไปยังโรงพยาบาลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การรกั ษาทเี่ หมาะสม นอกจากนนั้ บคุ ลากรโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บล (รพ.สต.) ยงั มบี ทบาทสา คญั สา หรบั การดแู ลเชงิ รกุ ในชมุ ชน ตงั้ แตก่ ารเยยี่ มบา้ นหรอื บา บดั ฟื้นฟูหลังจากผู้ติดสุราที่ได้รับการรักษาแล้วกลับคืนสู่ชุมชน และสนับสนุนให้เกิด กระบวนการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอล์เพอื่ ใหช้ มุ ชนมบี ทบาท และส่วนร่วมท่ีจะทาให้คนในชุมชนห่างไกลจากปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ ผู้มีปัญหาจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือผู้ติดสุรา สามารถลด ละ เลิกการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ และกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 9 โรงพยาบาลส‹งเสรมสุขภาพตําบล สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

10 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) การดําเนินงาน ส‹งเสรมป‡องกันและบําบัดรักษาผูŒมีป˜ญหา จากการดื่มเคร่องดื่มแอลกอฮอล บรการบําบัดรักษาผŒูมีป˜ญหาจากการดื่มเคร่องด่ืมแอลกอฮอล บทบาท รพ.สต. สถานการณการดื่มเคร่องดื่มแอลกอฮอล คัดกรองเชิงรุก บําบัดแบบสั้น สงตอ สาเหตุลําดับที่ 5 ของการสูญเสีย ปสุขภาวะ (DALYs) ในเพศชาย คนไทยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล ประมาณ 10.7 ลานคน ผูที่ด่ืมสม่ําเสมอ 7.0 ลานคน เพศชายมากวาเพศหญิง 4.5 เทา ติดตาม เย่ียมบาน สาเหตุลําดับท่ี 1 ในเพศชายของการสูญเสีย ปสุขภาวะจากภาวะบกพรองทางสุขภาพ (YLDs) สรางการมีสวนรวม ของชุมชน ด่ืมแบบอันตราย 1.8 ลานคน ติดสุรา 9 แสนคน เขารับบริการสุขภาพ 2.5 แสนคน การลดอันตราย จากการบริโภค พัฒนาองคความรู พัฒนาศักยภาพ ยุทธศาสตร แอลกอฮอล ระดับชาติ ขับเคลื่อน การดําเนินงาน การใหบริการคัดกรอง และบําบัดรักษา เสริมสรางเครือขาย สนับสนุนระบบบริการ

เอกสารอ้างอิง 1. WorldHealthOrganization.Globalstatusreportonalcoholandhealth2018. Geneva: World Health Organization; 2018. 2. สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บ ของประชากรไทย พ.ศ. 2557. นนทบุรี: เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์; 2560. 3. สานักงานสถิติแห่งชาติ. การสารวจพฤติกรรมการสูบบุหร่ีและการด่ืมสุราของประชากร พ.ศ. 2560. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดีการพิมพ์; 2561. 4. สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. รายงานสถานการณ์การบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในสงั คมไทย ประจา ปี 2560. กรงุ เทพมหานคร: สหมติ รพฒั นาการพมิ พ์ (1992); 2562. 5. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, และคณะ. ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิต : ก า ร ส า ร ว จ ร ะ บ า ด ว ทิ ย า ส ขุ ภ า พ จ ติ ข อ ง ค น ไ ท ย ร ะ ด บั ช า ต ปิ ี พ . ศ . 2 5 5 6 . น น ท บ รุ : ี ส า น กั บ ร หิ า ร ระบบบริการสุขภาพจิต; 2559. 6. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ. นนทบุรี: เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์; 2554. 7. สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, อรทัย วลีวงศ์. รายงานสถานการณ์การดาเนินนโยบายควบคุม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2551-2561 ภายใต้โครงการ Joint Assessment Mission to Review Alcohol Control Policy and Strategy in Thailand. กรุงเทพมหานคร: สหมิตร พัฒนาการพิมพ์ (1992); 2563. 8. คณะอนุกรรมการพิจารณาด้านการบาบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้ติดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์. แนวปฏิบัติการคัดกรองและบาบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2561. 9. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, สุนันท์ จารูญสวัสดิ์. กึ่งทศวรรษแผนงานการพัฒนา ระบบการดูแลผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา; 2557. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการด่ื่ืมเครืื่่องด่่ืืมแอลกอฮอล์์ 11 สําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําาบล (รพ.สต.)

12 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทท่ี โทษ พิษภัยของเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 13 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ โทษ พิษภัยของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เมตตา คาพิบูลย์ ณัฏฐธิดา สุขใหญ่ มณีรัตน์ ยินดี เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสารเสพติดทาให้ผู้ดื่มมีปัญหาท้ังทางสุขภาพกายและ สุขภาพจิต และยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหา ทางด้านอุบัติเหตุบนท้องถนน อาชญากรรม ครอบครัว และสังคม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีสารท่ีเป็นพิษออกฤทธ์ิทาลายระบบอวัยวะในร่างกาย เกิดผลเสียต่อสุขภาพ มีผลต่อ ระบบประสาทส่วนกลางก่อให้เกิดความมึนเมา ฤทธ์ิเสพติดของแอลกอฮอล์ทาให้ผู้ดื่ม รสู้ กึ ผอ่ นคลาย เคลบิ เคลมิ้ งว่ งซมึ ลดความยบั ยงั้ ชงั่ ใจ อยากดม่ื ซา้ ๆ และตอ้ งเพมิ่ ปรมิ าณ การดมื่ ใหม้ าก หากลดปรมิ าณหรอื หยดุ ดมื่ รา่ งกายจะมอี าการขาดสรุ า เชน่ ใจสน่ั มอื สนั่ เหงื่อออก นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน1 เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์หมายถงึ เครอื่ งดมื่ ทกุ ประเภททม่ี สี ว่ นผสมของเอทลิ แอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) ได้แก่ สุรา เบียร์ ไวน์ กระแช่ อุ สาโท น้าตาลเมา น้าผลไม้ผสม แอลกอฮอล์ เคร่ืองด่ืมผสมแอลกอฮอล์ เหล้าปั่น2 ในผทู้ ดี่ มื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลอ์ าจจะมปี ญั หาความผดิ ปกตขิ องพฤตกิ รรมการดมื่ สรุ า (alcohol use disorder) ท่ีระบุตามรหัสของ ICD-10 โดยพิจารณาจากปัญหาการด่ืม และผลต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม ได้แก่ การดื่มแบบผิดปกติ (alcohol abuse) หรอื การดมื่ แบบอนั ตราย (alcohol harmful use) โรคตดิ สรุ า (alcohol dependent)2 การดื่มแบบผิดปกติ (alcohol abuse) หรือการด่ืมแบบอันตราย (alcohol harmful use) หมายถึง รูปแบบของการดื่มที่เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ทางร่างกาย เช่น ตับถูกทาลายจากการด่ืมสุรา หรือทางจิตใจ เช่น มีอาการซึมเศร้า หรือทางสังคม เช่น มีปัญหากฎหมาย ขาดเรียน ขาดงาน มีปัญหาสัมพันธภาพ 14 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

โรคติดสุราหรือผู้ติดสุรา (alcohol dependent) เป็นกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงสูงที่สุด และสมควรได้รับการช่วยเหลือทางการแพทย์ โดยผู้ดื่มที่ติดสุราจะมีการดื่มซ้าแล้วซ้าอีก ไม่สามารถควบคุมการดื่มได้จนเกิดปัญหาต่อพฤติกรรม ร่างกาย และจิตใจ อาการแสดง ที่พบบ่อย เช่น ต้องการด่ืมแอลกอฮอล์มากข้ึน มีอาการขาดสุราหากหยุดด่ืม มีความรู้สึก อยากดื่มอย่างมากไม่สามารถควบคุมการดื่มได้ ยังคงด่ืมต่อแม้รู้ว่าจะเกิดผลเสียตามมา หรือดื่มจนละเลยกิจกรรมอื่นๆ หรือหน้าที่รับผิดชอบ ผู้ติดสุรามีระดับความรุนแรงต้ังแต่ น้อยจนถึงติดหนักรุนแรง ในกลุ่มผู้ที่ติดหนักรุนแรงต้องเฝ้าระวังอาการขาดสุราหากลด หรือหยุดดื่มทันที เพื่อป้องกันอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนจากอาการขาดสุราได้ กลไกการออกฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย คนส่วนมากมักเข้าใจผิดว่าแอลกอฮอล์จะออกฤทธิ์ต่อร่างกายเมื่อถูกดูดซึม เขา้ กระแสเลอื ดเทา่ นน้ั แตท่ จี่ รงิ แลว้ แอลกอฮอลอ์ อกฤทธท์ิ า ลายตงั้ แตอ่ วยั วะแรกทสี่ มั ผสั และตลอดตามเส้นทางท่ีผ่านเข้าสู่ร่างกาย1,3 ดังน้ี ปากและลา คอ ทา ใหเ้ กดิ การระคายเคอื งชน้ิ เยอื่ บทุ ล่ี ะเอยี ดออ่ น ในปากและหลอดอาหาร มักมีอาการร้อนซู่เมื่อผ่านลงไป กระเพาะอาหารและลาไส้ เกิดการอักเสบของเยื่อบุช้ันใน ท่ีปกป้องกระเพาะอาหารและลาไส้ เป็นแผลหรือเลือดออก ในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กทะลุ การดูดซึมสารอาหาร บางชนิดลดลง เช่น วิตามินบี 1 วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 กรดโฟลิก ไขมัน และกรดอะมิโนต่างๆ กระแสเลอื ด แอลกอฮอลท์ เี่ ขา้ ไปในรา่ งกายรอ้ ยละ 95 จะถกู ดดู ซมึ เขา้ สกู่ ระแสเลอื ดโดยผา่ นเยอื่ บใุ นกระเพาะอาหารและลา ไส้ สว่นดโูอดนีมั่อยา่งรวดเรว็ ลดการสรา้งเมด็เลอืดแดงทาใหโ้ลหติจาง ทาให้เม็ดเลือดขาวทาลายแบคทีเรียช้าลง และการแข็งตัว ของเกล็ดเลือดช้าลง คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 15 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

16 ตับอ่อน ทาให้เซลล์ตับอ่อนระคายเคืองและบวมขึ้น น้าย่อย เข้าไปในลาไส้เล็กได้น้อยลงตับอ่อนอักเสบ การสร้างอินซูลินได้ ไม่ดี เมื่อเป็นนานเกิดโรคเบาหวานตามมา ตบั ทา ใหเ้ ซลลข์ องตบั บวมและนา้ ดซี มึ ผา่ นไปทวั่ ตบั เกดิ ขอบตา เหลอื งตวั เหลอื ง ทกุ ครงั้ ทดี่ มื่ เซลลข์ องตบั จะถกู ทา ลายเปน็ ผลให้ ตบั แขง็ เสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคตบั ถงึ 8 เทา่ เมอ่ื เทยี บกบั คนทไ่ี มด่ มื่ กระเพาะปสั สาวะและไต ทา ใหเ้ ยอ่ื บขุ องกระเพาะปสั สาวะบวม และไม่สามารถยืดได้ตามปกติ ไตระคายเคืองและร่างกาย สูญเสียน้ามากขึ้น ไตทางานหนัก ส่งผลให้ไตวายได้ ตอ่ มเพศ ทาให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะในส่วนของอวัยวะเพศได้ไม่ เต็มท่ีและความสามารถทางเพศลดลง หวั ใจ ทา ใหก้ ลา้ มเนอื้ หวั ใจเสอื่ มลง เกดิ ภาวะความดนั โลหติ สงู หัวใจเต้นผิดจังหวะ ใจสั่น อาจทาให้หัวใจหยุดเต้นได้ เสี่ยงเป็น โรคกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ สมอง เป็นอวัยวะท่ีไวต่อฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ พิษเฉียบพลัน ตามระดับของแอลกอฮอล์ในเลือด เช่น ร่าเริงกว่าปกติ มึนเมา เดินเซ พูดไม่รู้เรื่อง ควบคุมสติไม่ได้ ส่วนพิษเรื้อรังทาให้เซลล์ สมองเสอื่ ม มผี ลตอ่ ทางจติ เชน่ ขาดความรบั ผดิ ชอบ ความจา เสอื่ ม เมื่อเป็นมากมักเกิดประสาทหลอน หูแว่ว หลงผิด หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง โรคหรืออาการที่ผิดปกติทางจิต ทารกในครรภ์เกดิ ความผดิ ปกตขิ องทารกในครรภ์เพราะแอลกอฮอล์ สามารถผา่ นจากรกไปสเู่ ดก็ ในครรภไ์ ด้ สง่ ผลทา ใหท้ ารกเสยี ชวี ติ เกิดการแท้ง หรือทารกที่คลอดออกมาจะพบความผิดปกติ เช่น ปัญญาอ่อน กะโหลกศีรษะเล็ก ร่างกายเล็ก และเม่ือโตข้ึนมักมี ปญั หาทางพฤตกิ รรมเชน่ สมาธสิ นั้ มคี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดกับอาการที่แสดงออก ของผู้ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระดับแอลกอฮอลในเลือด มิลลิกรัม/100 มิลลิลิตร (mg %) 30% 50% 100% 200% 300% 400 ข้นไป อาการที่แสดง สนุกสนาน ราเริงกวาปกติ การยับย้ังช่ังใจลดลง การมองเห็นลดลง ความสามารถ ในการควบคุมรางกายชาลง คล่ืนไส อาเจียน มึนเมา เดินเซ พูดไมรูเรื่อง การตอบสนองและการตัดสินใจชาลง งุนงง เร่ิมสับสน สูญเสียความจําบางสวน เศรา อารมณฉุนเฉียวงาย งวงซึม รับรูชาลง มึนงง มองไมชัด ควบคุมสติไมได หายใจลําบาก หัวใจเตนผิดปกติ ตาพรา ขาดสติโดยสมบูรณ หมดสติ อาจถึงตายได คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 17 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อตนเองและบุคคลอื่น การดื่มแอลกอฮอล์ไม่เพียงมีผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมต่อผู้ดื่ม แต่ส่งผลกระทบหลายรูปแบบต่อบุคคลอื่นๆ ท่ีไม่ใช่ผู้ด่ืมด้วย ต้ังแต่สมาชิกในครอบครัว คู่สมรส บุตร คนรอบข้าง เพ่ือนร่วมงาน เพื่อน คนในชุมชน และสังคมท่ัวไปทั้งๆ ท่ีไม่ได้ รู้จักกัน4 เช่น การทะเลาะวิวาท เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลม์ ผี ลกระทบตอ่ สมองสว่ นหนา้ ที่เป็นส่วนควบคุมสติและการตัดสินใจ ดังนั้น คนทเี่ มาสรุ าจงึ หงดุ หงดิ และอารมณเ์ ปลย่ี นแปลงงา่ ย มกั หาเรอื่ งทะเลาะววิ าทกบั ผอู้ นื่ เปน็ ประจา สามารถนา ไปสู่ความรุนแรงได้ เกิดความสูญเสียต่อคนรอบข้าง เกิดการบาดเจ็บทางกายและเสียชีวิต ความรุนแรงในครอบครัว ครอบครัวที่มีผู้ดื่มสุราเป็นประจา จะมีปัญหา ทะเลาะววิ าททา รา้ ยจติ ใจดว้ ยคา พดู หยาบคายบนั่ ทอน ความรู้สึก จนถึงข้ันทาร้ายร่างกายหรือการข่มขืน5 อุบัติเหตุจากการเมาแล้วขับ เนอื่ งจากผทู้ ดี่ มื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ มกั มคี วามมนั่ ใจวา่ ไมเ่ มา ม่ันใจว่ามีสติขับรถได้จริงๆ แต่ในความเป็นจริงน้ัน แ อ ล ก อ ฮ อ ล จ์ ะ ก ด ป ร ะ ส า ท ส ว่ น ก ล า ง ท า ใ ห ก้ า ร ร บั ร เ้ ู ร อ่ ื ง ร า ว ตา่ งๆชา้ ลงและสง่ ผลกระทบตอ่ การตดั สนิ ใจไมส่ ามารถควบคมุ ตนเองไดเ้ ตม็ รอ้ ย จงึ ทา ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการขบั ขไี่ ดส้ งู มาก เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน การเสียชีวิตของผู้ดื่มและ คนรอบข้าง6 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 18 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การฆ่าตัวตาย การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปนานๆ มักทาให้ เกิดความเสื่อมถอยของร่างกาย จิตใจ และสังคม เกดิ ปญั หาสขุ ภาพรมุ เรา้ ทง้ั สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ส่งผลเสียต่อหน้าที่การงาน รวมถึงมีปัญหาด้าน สัมพันธภาพกับบุคคลอื่นๆ ก่อให้เกิดความเครียด สะสม ส่งผลให้เกิดการฆ่าตัวตายได้ นอกจากน้ี ผทู้ ร่ี สู้ กึ วา่ ตนเองไมม่ คี ณุ คา่ หรอื มคี วามคดิ อยากฆา่ ตวั ตายเปน็ พนื้ ฐานอยแู่ ลว้ หากดม่ื สรุ า เข้าไปฤทธ์ิของสุราซึ่งมีผลต่อสมองจะไปกดสมองส่วนคิดเอาไว้ ทาให้บุคคลน้ันขาดสติ ยับยั้ง และสามารถฆ่าตัวตายได้สาเร็จ การคุกคามทางเพศ การดื่มแอลกอฮอล์ทาให้คึกคะนอง หรือมึนเมา ขาดสติ เกดิ พฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม ซงึ่ การคกุ คามทางเพศ เป็นพฤติกรรมท่ีนามาสู่การก่ออาชญากรรมอ่ืนๆ เช่น การข่มขืนกระทาชาเรา อนาจาร รายได้และเศรษฐกิจของครอบครัว ครอบครัวไม่เพียงเป็นหน่วยสังคมแรกท่ีมีอิทธิพล ต่อการทาให้คนดื่มหรือไม่ดื่มเหล้า แต่ครอบครัวยังเป็น หน่วยสังคมท่ีได้รับผลกระทบมากที่สุดจากการดื่มของ คนในบา้ น สภาพสงั คมปจั จบุ นั แทบทกุ ครอบครวั สามี ภรรยา ตา่ งกต็ อ้ งชว่ ยเหลอื กนั ทา งานเพอ่ื เลยี้ งดสู มาชกิ ในครอบครวั และหาเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน หากสมาชิกคนใดคนหน่ึงในบ้านด่ืมแอลกอฮอล์ ก็จะเพิ่ม รายจา่ ยขนึ้ มากบั สงิ่ ทไี่ มเ่ ปน็ ประโยชน์ และซา้ รา้ ยยงั มโี ทษ อื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ครอบครัวขาดคนทางาน ช่วยครอบครัว ขาดรายได้ประจาที่เคยได้จากการทางาน เงนิ ทองไมพ่ อใช้ เกดิ ปญั หาทางดา้ นการเงนิ ของครอบครวั คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 19

100 200 ผลกระทบจากการดื่มเคร่องดื่มแอลกอฮอลต‹อตนเองและบุคคลอ่ืน 300 400 300 mg% งวงซึม รับรูชาลง มึนงง มองไมชัด ควบคุมสติไมได หายใจลําบาก โทษ พิษภัยของ เคร่องดื่มแอลกอฮอล - มึนเมา - คุมสติไมได - การตอบสนองตัดสินใจชาลง - ประสาทหลอน - โรคทางจิต - ทารกเสียชีวิต - ปญญาออน - กะโหลกศีรษะเล็ก ระดับแอลกอฮอลในเลือดกับอาการที่แสดงออก ระบบหัวใจและหลอดเลือด ปากและทางเดินอาหาร 30 50 30 mg% ราเริงกวาปกติ ยับยั้งช่ังใจลดลง 50 mg% มองเห็นลดลง ความสามารถใน - หัวใจเตนผิดจังหวะ - กลามเนื้อหัวใจเส่ือม - ความดันโลหิตสูง - เลือดออกในกระเพาะอาหาร - ลําไสทะลุ - ตับออนอักเสบ - ตับแข็ง การควบคุมรางกายชาลง 100 mg% เดินเซ พูดไมรูเร่ือง การตอบสนอง และการตัดสินใจชาลง ความสามารถทางเพศลดลง 200 mg% เร่ิมสับสน สูญเสียความจําบางสวน อารมณฉุนเฉียวงาย เศรษฐกิจ หัวใจเตนผิดปกติ 400 mg% ตาพรา ขาดสติโดยสมบูรณ หมดสติ อาจถึงตายได กลไกการออกฤทธ์ของแอลกอฮอลต‹ออวัยวะต‹างๆ ในร‹างกาย สมอง ทารกในครรภ อวัยวะเพศ การทะเลาะวิวาท อุบัติเหตุจากการเมาแลวขับ การคุกคามทางเพศ ความรุนแรงในครอบครัว การฆาตัวตาย 20 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

เอกสารอ้างอิง 1. แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา. คู่มือสาหรับผู้อบรม : การดูแล ผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้น สาหรับบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรับปรุง 2554. พิมพ์คร้ังที่ 4. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์; 2556. 2. สาวติ รี อษั ณางคก์ รชยั , สวุ รรณา อรณุ พงศไ์ พศาล. ปญั หาและความผดิ ปกตจิ ากการดมื่ สรุ า : ความสา คญั และการดแู ลรกั ษาในประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร: สหมติ รพฒั นาการพมิ พ์ (1992); 2557. 3. สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. โทษ พิษ ภัยของสุราและผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งต่อตนเองและผู้ใกล้ชิด. นนทบุรี: เอ ดรีม สตูดิโอ; 2562. 4. รศั มี สงั ขท์ อง, และคณะ. รายงานผลการศกึ ษาผลกระทบจากการบรโิ ภคเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ ต่อบุคคลอื่น Harm to Others (HTO) from Alcohol Drinking. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา; 2562. 5. ทานตะวันสุรเดชาสกุล.แอลกอฮอล์กับความรุนแรง.เชียงใหม่:วนิดาการพิมพ์;2556. 6. อรทัย วลีวงศ์, จินตนา จันทร์โคตรแก้ว, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, ทักษพล ธรรมรังสี. การศึกษา ผลกระทบของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อบุคคลรอบข้างผู้ด่ืม ในประเทศไทย (ระยะท่ี 1). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา; 2558. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการดืื่่มเคร่่ืืองดื่ื่มแอลกอฮอล์์ 21 สําําหรัับโรงพยบลส่่งเสริิมสุุขภพตําําบล (รพ.สต.)

22 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การสนทนาสร้างแรงจูงใจ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผู้ดื่มสุรา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 23 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การสนทนาสร้างแรงจูงใจ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ดื่มสุรา นายแพทย์เทอดศักดิ์ เดชคง ดร.โสฬวรรณ อินทสิทธิ์ สิริกุล จุลคีรี ความสาคัญของการสนทนาสร้างแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของผู้ดื่มสุรา การสนทนาสร้างแรงจูงใจเพื่อการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของผู้ด่ืมสุรา ในบทน้ี ประกอบด้วยแนวคิดพื้นฐาน หลักการ แนวทางการสนทนาสร้างแรงจูงใจ และตัวอย่าง การสนทนาแบบสร้างแรงจูงใจ ท่ีเป็นพื้นฐานสาหรับบุคลากรสาธารณสุข อาสาสมัคร สาธารณสุขหรือแกนนาชุมชน ให้มีความเข้าใจและสามารถนาไปใช้ในการสนทนา เพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจภายใตบ้ รบิ ทชมุ ชน อยา่ งไรกต็ ามเนอื้ หาทนี่ า เสนอนี้ ยงั เออ้ื ตอ่ บคุ ลากร สหวิชาชีพของสถานพยาบาลระดับต่างๆ ในการนาไปใช้ประกอบการคัดกรอง การให้ บริการด้านจิตสังคมบาบัดสาหรับผู้ด่ืมสุราด้วย การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจ (Motivational Interviewing) เปน็ รปู แบบการสนทนา ที่ใช้แนวคิดพื้นฐานของการให้คาปรึกษา เช่น การสื่อสารสองทางและการสนับสนุนให้ ผู้รับคาปรึกษาได้คิดพิจารณาวางแผนด้วยตนเอง แต่ได้ขยายความเป็นไปได้ในการให้ คา ปรกึ ษา โดยเนน้ ทค่ี วามหลากหลายทเ่ี ปน็ ไปไดใ้ นการสนทนา ซงึ่ รปู แบบทใี่ ชม้ ากในงาน บาบัดผู้ป่วยสุรา คือ รูปแบบท่ีเรียกว่า BMA (Brief Motivational Advice) และ BMI (Brief Motivational Intervention) สา หรบั แนวทางการสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจ (Motivational Interviewing) นน้ั เปน็ การประยุกต์การให้คาปรึกษาควบคู่กับทฤษฎีเก่ียวกับแรงจูงใจ โดยเฉพาะทฤษฎีลาดับ ข้ันของการเปล่ียนแปลง (Stages of change) ซ่ึงมีแนวคิดท่ีสาคัญ คือ การเปล่ียนแปลง พฤติกรรม ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมสุขภาพหรือพฤติกรรมการเรียนการดาเนินชีวิต ล้วนต้องการแรงจูงใจทั้งนั้น บางอย่างเป็นพฤติกรรมที่ดี แต่คนกลับไม่ยอมทา เช่น การออกกา ลงั กาย การเลอื กกนิ อาหาร ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพราะขาดความรู้ แตเ่ กดิ จากการขาดแรงจงู ใจ หรอื การเหน็ ความสา คญั การสนทนาสรา้ งแรงจงู ใจจะเนน้ ไปทกี่ ารสรา้ งความตระหนกั ถงึ ปญั หา 24 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

หากยังทาตัวแบบเดิมๆ และสามารถวางแผนเพ่ือสร้างพฤติกรรมใหม่ๆ ขึ้นมาได้ ทั้งน้ี อาจมีการสอดแทรกความรู้เข้าไปในบทสนทนาด้วย “เมื่อไรที่คนเราเกิดแรงจูงใจ การแสวงหาความรู้ก็จะเกิดตามมา” หัวใจหลักในการ สนทนาสร้างแรงจูงใจน้ี มี 3 ประการคือ Collaboration หมายถึง ร่วมมือและร่วมเดินทาง ใช้ความ เข้าใจและไม่เน้นการส่ังสอน Evocation หมายถึง การดึงความตั้งใจ เหตุผลในการ เปล่ียนแปลงที่มาจากใจผู้ป่วย Autonomy หมายถึง การมีอิสระในการพิจาณาตัดสินใจ เลือกเป้าหมายและวิธีการ รูปแบบของ MI ที่เรียกว่า BMA นั้น เหมาะสาหรับกลุ่มนักดื่มท่ีด่ืมไม่มากนัก ไม่ได้ติดสุรา เพื่อกระตุ้นความต้ังใจในการเลิกดื่มหรืออย่างน้อยก็ดื่มในปริมาณที่ไม่ อันตรายนัก รูปแบบของ MI ท่ีเรียกว่า BMI มีความเหมาะสมในการใช้เสริมสร้างแรงจูงใจใน การเลิกสุรา โดยเน้นที่การนาเสนอทางเลือกต่างๆ ในการรักษา มีความเหมาะสมสาหรับ กลุ่มดื่มที่มีปัญหาไม่ซับซ้อน ในกรณีนี้อาจใช้ BMI เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเป็นเรื่องๆ ซึ่ง อาจใช้เวลา 4 - 8 ครั้ง Motivational Interviewing ในรูปแบบของการให้คาแนะนาแบบสั้น (Brief Motivational Advice: BMA) การให้คาแนะนาแบบสั้น (Brief Motivational Advice) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า BMA หมายถึง การสนทนาสร้างแรงจูงใจท่ีใช้เวลา 5 – 10 นาที เพ่ือให้ผู้รับคาแนะนา เกิดความตระหนักในความเสี่ยงหรือปัญหาที่มองข้ามไปและรับทราบแนวทางการแก้ไข คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 25 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ประสิทธิผลของการให้คาแนะนาแบบสั้นน้ันเห็นได้อย่างชัดเจนในกรณีนักด่ืมซึ่ง ใชบ้ รกิ ารทหี่ อ้ งฉกุ เฉนิ โดยพบวา่ นกั ดมื่ ทไี่ ดค้ า แนะนา แบบสนั้ จะลดปรมิ าณการดมื่ ลงไป ถงึ รอ้ ยละ 27 และพบวา่ ยงิ่ ใหค้ า แนะนา แบบสนั้ นซี้ า้ อกี (ซงึ่ อาจเปน็ การกระตนุ้ เตอื นหลงั จากการให้คาแนะนาครั้งแรกผ่านไป) ก็จะทาให้ประสิทธิผลดียิ่งข้ึน นอกจากเรื่องการ ดมื่ สรุ าแลว้ การใหค้ า แนะนา แบบสนั้ ยงั ถกู ใชใ้ นการใหข้ อ้ มลู แกผ่ ทู้ มี่ คี วามเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพ โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของ Life Style Intervention สําหรับกรณีผู้ป่วยติดสุรํานั้น กํารใช้ BMA จะมีประโยชน์หลํายอย่ําง เช่น 12 เพิ่มความสนใจในการเลิกดื่มสุรา เพิ่มความต้ังใจในการรักษาจนจบ และเข้าสู่การบาบัด (Engagement) กระบวนการ (Adherence) “แน่นอนว่าความตั้งใจบาบัดย่อมตามมาด้วยโอกาสความสาเร็จท่ีสูงขึ้น” ขั้นตอนสําคัญของกํารให้คําแนะนําแบบส้ัน Engagement การสรา้ งสมั พนั ธภาพและความรว่ มมอื ไดแ้ ก่ แนะนาตัว การพูดคุยเร่ืองทั่วไปก่อนเข้าสู่ประเด็นที่สาคัญ คือ การสนทนาเกี่ยวกับสิ่งสาคัญในชีวิต รวมทั้ง ความดี ความภาคภูมิใจ ซึ่งอาจร่วมไปกับการแสดงความชื่นชมใน เรื่องต่างๆ เช่น ความรับผิดชอบ ความขยัน การใช้คาถามเพื่อสร้างแรงจูงใจ ได้แก่ การใช้คาถาม ถามเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับมุมมองของเขาว่า เขามองเห็นปัญหาต่างๆ ว่ามีความสาคัญหรือมีผลกระทบ เพียงไร 26 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

“คุณมีควํามเห็นอย่ํางไร เกี่ยวกับกํารดื่มของคุณ” “คุณได้รับผลกระทบจําก กํารดื่มสุรําบ้ํางไหม” “มีบํางครั้งไหมที่คุณอยํากเลิก ด่ืมสุรํา” (เพรําะเหตุใด ?) คําถํามที่ช่วยประเมินแรงจูงใจสํามํารถพูดคุยได้หลํายแบบ เช่น “คุณคิดว่ํามันสําคัญสักแค่ไหนที่จะต้อง เลิกดื่มสุรํา” (ประเมินระดับควํามสําคัญ) “ถ้ําคุณตั้งใจจะเลิกดื่มสุรํา คุณคิดว่ํา โอกําสสําเร็จจะมีสักแค่ไหน” (ประเมินระดับควํามมั่นใจ) กลุ่มคําถํามที่ใช้ในกํารสร้ํางแรงจูงใจ ได้แก่ 1 คุยเร่ืองผลเสียหากยัง มีพฤติกรรมเดิม เช่น “คุณมองภําพอนําคต อย่ํางไรหํากด่ืมสุรําต่อไป แม้ว่ํามันจะไม่ได้ มํากมํายนัก” คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 27 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

2 คุยเร่ืองผลดีหากเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได้ เช่น “จะเกิดอะไรขึ้นหํากคุณกลับไปเรียนหนังสือ หรือทํางํานได้ อย่ํางต่อเนื่อง” 3 คุยเร่ืองความสาคัญ เช่น “ลูกเขําจะรู้สึกอย่ํางไรกับ กํารดื่มสุรําของคุณ” “คุณตั้งใจทํางํานมําหลํายปี คุณมองอนําคตของงํานหรือแม้กระท่ัง ชีวิตคุณอย่ํางไร” การใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั วธิ กี ารหรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ิทจ่ี ะชว่ ยลดความเสยี่ ง หรือแก้ปัญหาการด่ืมสุรา การให้ข้อมูลในจังหวะที่ผู้ป่วย เรมิ่ เกดิ แรงจงู ใจบา้ งแลว้ จะมคี วามเหมาะสมเพราะผปู้ ว่ ยจะสนใจ จดจาและนาไปใช้มากกว่าสภาวะปกติ การให้ข้อมูลนี้ควร เ ป น็ ข อ้ ม ลู ส นั ้ ๆ ท เี ่ ข า้ ใ จ ง า่ ย เ ช น่ ก า ร ด มื ่ แ บ บ ไ ห น บ า้ ง ท เี ่ ก ดิ โ ท ษ จะเกิดผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร พร้อมทั้งอาจให้แผ่นพับ รายละเอียดเพ่ิมเติมที่ผู้ป่วยสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง ในภายหลัง การสรุปและให้กาลังใจ การใช้คาแนะนาแบบสั้นจะจบลง ดว้ ยการสรปุ เกยี่ วกบั ปญั หา (หรอื ความเสยี่ ง) ทเ่ี ผชญิ อยแู่ ละ ทางแกไ้ ข พรอ้ มทงั้ เนน้ วา่ แรงจงู ใจหรอื พลงั ใจ รวมทง้ั เหตผุ ล ที่จาเป็นในการเปลี่ยนแปลงจะได้มาจากส่ิงไหน 4 คุยเรื่องเป้าหมายในชีวิต เช่น 28 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

Motivational Interviewing ในรูปแบบของการให้คาปรึกษาแบบสั้น (Brief Motivational Intervention: BMI) การใหค้ า ปรกึ ษาแบบสน้ั เปน็ การสอ่ื สารสองทาง เพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในประเดน็ เฉพาะเจาะจง โดยมเี ปา้ หมายทจี่ ะสรา้ งแรงจงู ใจในการประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ และสามารถ วางแผน เพ่ือให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ต้องการ การใหค้ า ปรกึ ษาแบบสนั้ (Brief Motivational Intervention หรอื BMI) มอี งคป์ ระกอบ ที่ผสมผสานกันระหว่างการให้ความช่วยเหลือ (Intervention) และการสร้างแรงจูงใจ การให้คาปรึกษาแบบสั้น หมายถึง การให้คาปรึกษาแนะนาท่ีใช้เวลาไม่มาก ประเดน็ การสนทนากจ็ ะมคี วามเฉพาะเจาะจง โดยเนน้ ประเดน็ ทกี่ า ลงั มปี ญั หาหรอื มคี วาม สาคัญ เน้นการเสริมแรงจูงใจและการวางแผนปฏิบัติ มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ทมี่ พี ฤตกิ รรมเสยี่ ง แตม่ คี วามตระหนกั ในปญั หาอยบู่ า้ ง มแี รงจงู ใจอยบู่ า้ งแลว้ ในการทจี่ ะ ปรับเปลี่ยนตนเอง เพราะหากยังไม่มีแรงจูงใจเลยก็ไม่สามารถคุยเรื่องการวางแผนได้ การสนทนานี้ใช้เวลา 20 – 30 นาที ในการคุยอย่างเบ็ดเสร็จ กล่าวคือ คุยจนจบประเด็น โดยไม่ได้คาดหวังว่าจะมาคุยกันต่อเป็นครั้งท่ี 2 (แต่ก็สามารถนัดมารับคาปรึกษาต่อได้) จะเห็นได้ว่าแท้ท่ีจริงแล้ว Brief Motivational Intervention นี้ก็คล้ายๆ กับ การนาเอา Brief Motivational Advice มาบวกเข้ากับการวางแผนปฏิบัตินั่นเอง การให้คาปรึกษาแบบสั้นนั้น มีการ ศึกษาวิจัยมากมายที่ยืนยันถึงประสิทธิภาพ ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มนักดื่ม ซึ่งพบว่าการให้ ความช่วยเหลือแบบสั้นสามารถลดปริมาณ การดื่มลงได้ถึง ร้อยละ 25 (ผลดีที่ว่านี้ ยังคงต่อเนื่องยาวนานไปอีกหลายเดือน) คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 29

30 ขั้นตอนกํารให้คําปรึกษําแบบส้ัน Engagement การสร้างสัมพันธภาพ ได้แก่ การทักทาย เชอื้ เชญิ ใหน้ งั่ แนะนา ตวั พดู คยุ เรอื่ งสา คญั หรอื มคี วามหมาย ต่อชีวิตผู้ป่วย รวมท้ังสิ่งที่น่าภูมิใจ ประเมินปญัหาและระดับแรงจงูใจขน้ัตอนนค้ีลา้ยๆกบัการ ให้คาแนะนาแบบส้ัน โดยอาจถามความเห็นเกี่ยวกับปัญหา หรอื ความเสยี่ ง พรอ้ มทง้ั ความคดิ ทจี่ ะเปลยี่ นแปลงตนเอง เชน่ “คุณคิดอย่ํางไรกับกํารด่ืมสุรํา/ เบียร์ในขณะน้ี” “ถ้ําปล่อยไว้คงมีผลเสียแน่นอน คุณตั้งใจที่จะหยุดดื่มขนําดไหน ?” การใชค้ า ถามเพอื่ สรา้ งแรงจงู ใจ ไดแ้ ก่ ขอ้ คา ถามทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั 3.1 ผลเสียของพฤติกรรมเดิม 3.2 ผลดีของพฤติกรรมใหม่ 3.3 เรื่องของเป้าหมายในชีวิต / อนาคต “จะมีร่ํางกํายแข็งแรง.......... ต้องทําอะไรบ้ําง ?” 3.4 เรื่องความสัมพันธ์หรือคนที่รัก (ซึ่งช่วยสร้างแรงจูงใจในการดูแลตนเอง) “ถ้ําคุณเลิกเหล้ําได้ ลูกคุณจะรู้สึกอย่ํางไร” คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

สิ่งสําคัญท่ีจะสนทนําในกํารให้ควํามช่วยเหลือแบบสั้น คือ 1. กํารช่ังน้ําหนักผลดี ผลเสีย ผู้ที่มีแรงจูงใจหรือเห็นความสาคัญของปัญหาและความเสี่ยงอยู่บ้างแล้ว การชกั ชวนใหพ้ วกเขาลอง “ชงั่ นา้ หนกั ” ผลดผี ลเสยี ของการเปลยี่ นแปลงตนเอง (หรอื การ ไมเ่ ปลย่ี นแปลง) จะชว่ ยทา ใหพ้ วกเขามองเหน็ สง่ิ ทคี่ วรกระทา ไดช้ ดั เจนขนึ้ การชงั่ นา้ หนกั ผลดีผลเสียท่ีว่านี้ อาจทาได้ด้วยการสนทนาเชิงเหตุผล หรืออาจใช้ตารางการชั่งน้าหนัก มาช่วยในการขบคิดก็ได้ 2. กํารแก้ไขควํามเช่ือที่คลําดเคลื่อนไปจํากควํามเป็นจริง มีความเชื่อหลายประการที่ต่อต้านการมีพฤติกรรมสุขภาพ เช่น 2.1 ไม่ใช่ปัญหา(หรือไม่ใช่เร่ืองที่ต้องใส่ใจ)เช่นอาจคิดว่าเพียงดื่มสุราบาง วนั ในปรมิ าณไมม่ ากนน้ั ไมน่ า่ มผี ลเสยี เขาอาจคดิ วา่ เขาดมื่ สรุ าไมม่ ากหากอยากหยดุ กไ็ ม่ ยาก (ทั้งที่ดื่มมากและเกิดปัญหาสุขภาพ) 2.2 ใครๆ เขาก็ทากันแบบน้ี เช่น เห็นเพื่อนๆ เขาดื่มกัน อาจคิดว่าใครๆ เขาก็ด่ืมสุรากันทั้งน้ัน เรื่องน้ีก็ต้องแก้ไขโดยอาจสอบถามหลักฐานท่ีแย้งกัน เช่น มีบางคนไหมที่ไม่ได้ด่ืมสุรา อาจบอกเล่าถึงข้อมูลว่าคนส่วนใหญ่เขาดื่มสุราไม่มาก เหมือนที่คุณคิด เป็นต้น กระบวนกํารให้คําปรึกษําแบบสั้น มีดังนี้ 1 สร้างสัมพันธภาพ 2 ประเมินความเสี่ยง ปัญหาและระดับแรงจูงใจ 3 ใช้คาถามและการสนทนาเพื่อสร้างแรงจูงใจ 4 ให้ข้อมูลท่ีจาเป็น 5 ชักชวนให้วางแผนปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สรุปและคาดหวังด้านบวก คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 6 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 31

ตัวอย่าง แนวทางการสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบสั้น (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับอาสาสมัครสาธารณสุข การพดู คยุ กบั ผดู้ ม่ื สรุ าในชมุ ชน โดยเฉพาะกลมุ่ ผดู้ มื่ สรุ าทมี่ คี วามเสย่ี งตอ่ อนั ตราย ด้านสุขภาพหรือผู้ดื่มสุราที่มีโรคประจาตัวทางกาย ผู้ดื่มสุราท่ีมีความเส่ียงด้านเศรษฐกิจ สังคม เช่น มีรายได้ไม่สม่าเสมอ หาเช้ากินค่า ทะเลาะเบาะแว้งกับคนในครอบครัวหรือ บา้ นใกลเ้ รอื นเคยี งในชมุ ชน และผดู้ มื่ สรุ าทเ่ี สยี่ งตอ่ การตดิ สรุ า ไดแ้ ก่ กลมุ่ ทดี่ มื่ ทกุ วนั เปน็ ประจา ดมื่ หนกั ดมื่ แบบเมาหวั รานา้ รวมถงึ ผตู้ ดิ สรุ าทค่ี วรไดร้ บั การชกั ชวนใหล้ ด ละ เลกิ และเขา้ รบั การรกั ษา ตลอดจนผผู้ า่ นการบา บดั รกั ษามาแลว้ ซงึ่ ยงั ตอ้ งไดร้ บั การดแู ลอยา่ ง ต่อเน่ือง เป็นเรื่องที่ดูเหมือนไม่ง่ําย และไม่ค่อยมีใครอยํากยุ่ง แต่ ก็ไม่ได้ยํากจนเกินไป ถ้าใช้หลักการพูดคุย ในรูปแบบ การสนทนาสรา้งแรงจงูใจแบบสนั้ (BriefMotivationAdvise:BMA)โดยเทคนคิ 3 A (3 เป็น) คือ Affirm ชม - Ask ถาม – Advise แนะนา หรือถ้าจะเรียกให้ง่าย ต่อการจดจา ก็อาจเรียกสั้นๆ ว่า เทคนิค 3 เป็น ชมเป็น – ถํามเป็น - แนะนําเป็น 3A Affirm ชมเปšน Ask ถามเปšน 32 Advise แนะนําเปšน คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

จุดมุ่งหมายและแนวทางการใช้เทคนิคชมเป็น ถามเป็น และแนะนาเป็น มีดังนี้ ชม ถาม แนะนา (แนะนาแบบมีทางเลือก) ชม เพื่อสร้ํางสัมพันธภําพ อย่ํางรวดเร็ว (เห็นอะไร ชมสิ่งนั้น) - เช้านี้ดูสดชื่นแจ่มใส - ตัดผมทรงใหม่ดูเก๋ขึ้น - ปั่นจักรยานมาดีจังเลย ได้ออกกาลังไปในตัว - ขยันจังเลย ถําม เพื่อหําข้อมูลทั่วๆ ไปเพิ่ม เติม เช่น กํารนอนหลับ กํารรับประทํานอําหําร - เมอื่ คนื นอนหลบั เปน็ อยา่ งไรบา้ ง - ทานอะไรเมื่อเช้านี้ - กินยาตามที่หมอให้มาแล้ว เป็นอย่างไรบ้าง แนะนํา ทํางเลอื กเพมิ่ เตมิ ทํางเลอื กอื่นๆ ที่เป็นไปได้ แต่คนตัดสินใจเลือกคือ ตัวเขําเอง ไม่ใช่คนแนะนํา - ห า น ม อ น่ ุ ๆ ด มื ่ ช ว่ ง ห วั ค า ่ กน็ า่ จะดีนะ จะช่วยให้ หลับสบาย ไม่รู้สึกแสบท้อง - ทานผัก ผลไม้ เพิ่มเติม จะช่วยให้ขับถ่ายง่าย - อบต. มปี ระกาศรบั สมคั รงาน อยู่นะตอนนี้ - เข้าพรรษานี้ ลองมาเข้า โครงการหยดุ เหลา้ เขา้ พรรษา กันน่าจะดีนะ - ตอนเย็นๆ มาปั่นจักรยาน หรือมาออกกาลังด้วยกันสิ ชม สิ่งดีๆ ที่ทําอยู่เพื่อ เสริมแรงจูงใจให้มั่นคง หนักแน่นมํากขึ้น และ เสริมแรงใจให้ทาต่อเนื่อง - ช ว่ ง น ขี ้ ย นั ท า ง า น ห น กั เ อ า เบาสู้นะ เยี่ยมมาก - ดีมากเลยป้า ที่ไปพบ หมอตามนัด - งดดื่มได้ตลอดพรรษานี่ สุดยอดเลย ลากยาว ต่อไปอีกเลยนะลุง - เยี่ยม ! ความดันลดลง มากกวา่เดมิ ลงุทาอยา่งไร - ที่ความดันลุงลดลง คิด ว่าเป็นเพราะลุงงด ดื่มเหล้าด้วยหรือเปล่า ถําม ถึงสิ่งที่เป็นแรงใจ สิ่งยึดเหนี่ยวของชีวิต - อะไร ที่ทาให้ป้าต้องทางาน หาเงนิ อยู่ ขนาดไมค่ อ่ ยสบาย - ใครในครอบครัวว่าอย่างไร บ้างหลังหยุดดื่มได้ - ทอี่ ยากไปหาหมอเพราะอะไร - เงินที่หามาได้นาไปใช้จ่ายกับ อะไรมากที่สุด - อะไรทที่ า ใหอ้ ยากเลกิ ดมื่ เหลา้ ถําม เพื่อให้เปรียบเทียบข้อดี และข้อเสีย - เงินร้อยบาท ถ้าไม่ซื้อเหล้า จะซอื้ อะไรทใี่ ชไ้ ดท้ งั้ ครอบครวั ได้บ้าง - คดิ อยา่ งไรทล่ี กู อยากใหเ้ ลกิ เหลา้ - ที่ไม่ค่อยมีเรี่ยวแรง ไม่สบาย บ่อยๆ นี่ คิดว่าเป็นเพราะ เหล้าไหม คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 33 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

กรณีตัวอย่าง การสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบสั้น (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับ อาสาสมัครสาธารณสุข ลุงไข่ อายุ 65 ปี ติดเหล้ามาเป็นสิบปี ต้องดื่มเหล้าขาวทุกวัน อย่างน้อยวันละ ครึ่งขวด ลุงไข่มีโรคความดันโลหิตสูงด้วย เคยไปหาหมอ แต่รับประทานยาไม่ต่อเน่ือง คนในครอบครัวญาติพ่ีน้องพยายามพูด บอกให้เลิกดื่ม แต่ลุงไข่ก็ไม่เลิก นายไก่ เปน็ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ในหมบู่ า้ น มหี นา้ ทตี่ อ้ งตดิ ตามผทู้ มี่ โี รคความดนั โลหติ สงู และแจง้ ใหก้ บั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บลทราบขอ้ มลู นายไกจ่ งึ มาทบี่ า้ น ลุงไข่ เห็นลุงไข่กาลังนั่งปิ้งปลาที่เตาถ่าน ข้างๆ มีขวดเหล้าขาววางอยู่ อสม. “สวสั ดคี รบั ลงุ ไข่ ขยนั จงั เลย ปง้ิ ปลา ดแู ลว้ นา่ อรอ่ ย \[ชม เพอ่ื สรํา้ งสมั พนั ธภําพ อย่ํางรวดเร็ว\] ช่วงนี้ลุงเป็นอย่างไรบ้างครับ” \[ใช้คําถํามปลํายเปิด เพ่ือหํา ข้อมูลท่ัวๆ ไปเพ่ิมเติม มักใช้คําถํามปลํายเปิด เช่น เพรําะอะไร อย่ํางไร ลองเล่ําให้ฟังหน่อย\] ลุงไข่ “เหมือนเดิม ก็ดีอยู่” อสม. “ลุงไขดู่เหมือนเดิมแล้วที่ว่าดีอยู่นี่ดียังไงล่ะลุง”\[ใช้คําถํามปลํายเปิดเพ่ือ หําข้อมูลเพิ่มเติม\] ลุงไข่ “ก็แบบเดิม กินๆ นอนๆ ไม่มีใครเขาอยากยุ่งด้วย” อสม. “เพราะอะไร ลุงถึงคิดว่า ไม่มีใครอยากยุ่งด้วย” \[ใช้คําถํามปลํายเปิด เพ่ือหํา ข้อมูลเพ่ิมเติม\] ลุงไข่ “ก็ทาอะไรกับเขาก็ไม่ค่อยได้ จะทาเขาก็ห้าม เขาก็บ่น กลัวเกะกะเขามั้ง มือไม้ มันก็สั่น หยิบจับอะไรก็ไม่ค่อยมีแรง” อสม. “ลุงมีความตั้งใจอยากช่วยครอบครัวนะ ดีมากๆ เลย \[ชม สิ่งดีๆ ที่ทําอยู่ เพอ่ื เสรมิ แรงจงู ใจใหม้ นั่ คง หนกั แนน่ มํากขนึ้ และเสรมิ แรงใจใหท้ ํา ตอ่ เนอื่ ง\] แล้วที่มือสั่น ไม่ค่อยมีแรงนี่ลุงคิดว่า เก่ียวกับอะไร” \[ใช้คําถํามปลํายเปิด เพื่อชี้ให้เห็นปัญหํา\] ลุงไข่ “ก็จะอะไรล่ะ ไม่กินมันย่ิงสั่น พอกรึ๊บไปมันยังหยิบจับอะไรได้บ้าง” อสม. “อะไรที่ยังทาให้ลุงอยากช่วยทาโน้นทานี่ให้ครอบครัว” \[ถําม ถึงสิ่งที่เป็น แรงใจ สิ่งยึดเหนี่ยวของชีวิต\] 34 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ลุงไข่ “กม็ นั หลายคน กา ลงั กนิ กา ลงั นอนกนั ทงั้ นนั้ พอ่ แมม่ นั ทา งานทกี่ รงุ เทพ เอาเดก็ มาทิ้งไว้ที่น่ี เราจะไม่ดูมันก็ไม่ได้” อสม. “แสดงวา่ ลงุ หว่ ง และรกั หลานๆ นะครบั \[ชม ควํามหว่ งใยทม่ี ตี อ่ หลําน ตอกยํา้ แรงจูงใจโดยใช้ส่ิงยึดเหนี่ยว\] จะเป็นอย่างไรถ้ามือไม้ลุงไม่สั่นแล้วมีแรง ทาให้ลุงทางานได้มากข้ึน” \[ถําม เพื่อให้เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสีย\] ลุงไข่ “มนั กค็ งดอี ยหู่ รอก คงชว่ ยปา้ หาเงนิ ไดก้ วา่ น้ี แตอ่ ยา่ มาบอกใหล้ งุ เลกิ กนิ เหลา้ นะ” อสม. “ลุงมีความคิดอยากช่วยป้าหาเงิน ขณะเดียวกันลุงก็ยังไม่อยากเลิกเหล้า ลงุ วา่ ระหวา่ งงดหรอื ลดบา้ งจะชว่ ยใหม้ เี งนิ เหลอื ขนึ้ ไหม” \[ถําม เพอื่ ใหเ้ ปรยี บ เทยี บ ข้อดีและข้อเสีย\] “...........” ลุงไข่เงียบไป อสม. “ถ้าลุงต้องการลด ละ ลุงบอกได้เลยนะ มีหลายวิธีอยู่ ใช้แพทย์แผนไทย ยาสมุนไพรที่อนามัยก็ได้ หรือวิธีอื่นๆ ก็มีนะ ใช้สิทธิได้ไม่ต้องเกรงใจนะลุง กน็ า่ ลองนะ ถา้ ลงุ อยากลองกบ็ อกไดเ้ ลย \[แนะนํา แบบมที ํางเลอื ก\] เออ วา่ แตว่ า่ ผมจะมา ขอวัดความดันเลือดลุงสักหน่อย หมอที่อนามัยให้มาตรวจความดัน ลุงหน่อย ลุงเดินไปท่ีแคร่สักเด๋ียวนะ นายไก่วัดความดันเลือดลุงไข่ได้ 158/98 มิลลิเมตรปรอท อสม. “ลุง ความดันเลือดลุงได้ 158/98 จัดว่าสูงอยู่นะ โดยปกติความดันคนทั่วไป จะประมาณ 120/80 ลุงมีปวดหัว หน้ามืด หรืออาการอื่นๆ บ้างไหม” \[ใช้คําถํามปลํายเปิด เพื่อหําข้อมูลเพิ่มเติม\] ลุงไข่ “ก็ มีปวดที่ท้ายทอยบ่อยๆ อยู่” อสม. “อึม...ที่ความดันลุง 158/98 มีปวดท้ายทอยบ่อยๆ ลุงคิดว่าจะเกี่ยวกับเรื่อง เหล้าที่ลุงกินทุกวันด้วยหรือเปล่า” \[ตั้งคําถํามเพ่ือให้คิด กระตุ้นแรงจูงใจให้ เกิดควํามลังเลใจ\] “...........” ลุงไข่ไม่ตอบ อสม. “ยังไง เรามาดูแลเรื่องความดันของลุงกันก่อนดีกว่านะ อาการปวดท้ายทอย บ่อยๆ จะได้ลดลงด้วย ลุงมีความเห็นว่าไง” \[ใช้คําถํามปลํายเปิดเพื่อตรวจ สอบระดับแรงจูงใจในเรื่องกํารดูแลสุขภําพ\] คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 35 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ลุงไข่ “ก็จะทายังไงล่ะ” อสม. “ถา้ งน้ั พรงุ่ นเี้ ชา้ ผมจะมาพาลงุ ไปอนามยั หาหมอกอ่ นนะครบั จะไดต้ รวจความดนั อีกครั้งด้วย งั้นเดี๋ยวลุงทานข้าว แล้วคืนนี้ลุงนอนหัวค่าหน่อยนะครับจะได้ พักผ่อนให้เต็มที่เผื่อความดันจะดีข้ึนด้วย \[บอกข้อตกลงและให้คําแนะนํา\] เดยี๋ วผมตอ้ งไปบา้ นปา้ หวานตอ่ ไปดแู กสกั หนอ่ ยเปน็ ความดนั เหมอื นกนั ไปกอ่ น นะลุง สวัสดีครับ” ตัวอย่าง แนวทางการสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบส้ัน (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล การสนทนาเพอ่ืสรา้งแรงจงูใจแบบสนั้ (BriefMotivationAdvise:BMA)สาหรบั เจา้ หนา้ ทใี่ นโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บลเพอื่ ใหก้ ารชว่ ยเหลอื แนะนา การรกั ษา สง่ ตอ่ หรือติดตามผู้ที่รักษาการติดสุรา มีข้ันตอนสาคัญ คือ 1) สร้ํางสัมพันธภําพ 2) ประเมิน ปญั หําและแรงจงู ใจตอ่ กํารใชส้ รุ ํา 3) ใหแ้ นวทํางเลอื กกํารลงมอื ทํา 4) ตดิ ตํามครงั้ ถดั ไป และใช้เทคนิค 3 A (3 เป็น) คือ affirm ชมเป็น - ask ถํามเป็น – advise แนะนําเป็น ขั้นตอน เทคนิคที่ใช้ ตัวอย่ํางคําพูด ผลที่เกิดขึ้น กํารสร้ําง สัมพันธภําพ ชม (Affirm) - เพื่อสร้างสัมพันธภาพ - เพื่อเสริมแรงจูงใจให้ มั่นคง หนักแน่นและ กระตุ้นให้คงพฤติกรรมที่ เหมาะสมต่อเนื่อง ในรายที่เริ่มมีพฤติกรรม สุขภาพเชิงบวกเกิดขึ้น หรือ เริ่มทาพฤติกรรม เชิงบวกเพิ่มขึ้น - เพื่อกระตุ้นแรงจูงใจ ในรายที่ยังไม่ตระหนัก ถึงปัญหาสุขภาพ - ดีมากเลยที่คุณสนใจ ดูแลสุขภาพ - คุณลุงมาถึงรพ.แต่เช้า เลยแสดงถึงความตั้งใจที่ จะมาตรวจสุขภาพ - วันนี้ดูแข็งแรงและ สดชื่นกว่าครั้งที่แล้วมาก - เยี่ยมมากเลย ที่เมื่อ วานลุงไม่ดื่มในงานขึ้น บ้านใหม่ - ผู้ป่วยไว้วางใจ และ มีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ให้ บริการ 36 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ขั้นตอน เทคนิคที่ใช้ ตัวอย่ํางคําพูด ผลที่เกิดขึ้น - ดูหน้าตาสดชื่น แข็งแรงขึ้นตั้งแต่ ออกกาลังทุกเย็น ทาต่อไปเรื่อยๆ นะคะ - บอกถึงความเป็นห่วง สุขภาพ เช่น ไม่เจอกัน นานเลยลุง หมอก็เป็น ห่วงลุงนะ แต่ดีมากเลย ที่วันนี้ลุงมา ประเมินปัญหํา และแรงจูงใจ ต่อกํารใช้สุรํา ถําม โดยใช้คําถําม ปลํายเปิด (Ask) - ถามเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เตมิ - ถามเพื่อประเมิน/ กระตุ้นแรงจูงใจ - คุณสามารถปฏิเสธ เพื่อนที่มาชวนดื่มได้ อย่างไร - คุณคิดอย่างไรกับการ ดื่มสุราของคุณในช่วงนี้ - ช่วงนี้สุขภาพ หรือ การงานเปน็ อยา่ งไรบา้ งคะ - ดื่มมา 20 กว่าปี ลงทุน ไปตั้งเยอะ ถ้าเลิกดื่มจะ เสียดายขนาดไหนเนี่ย - คิดอย่างไรที่ลูกเมีย อยากให้เลิกดื่ม - อะไรที่ทาให้คุณคิด อยากเลิกดื่ม/ดื่มสุรา น้อยลง - คิดว่าความดันเลือด สูงเกี่ยวกับการดื่มเหล้า หรือไม่ อย่างไร - ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพิ่มเติมประกอบการ วิเคราะห์ปัญหาและ แรงจูงใจ - ได้รับรู้ระดับแรงจูงใจ ว่าอยู่ในขั้นตอนใดของ การเปลี่ยนแปลง คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 37 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ขั้นตอน เทคนิคที่ใช้ ตัวอย่ํางคําพูด ผลที่เกิดขึ้น - ถามเพื่อประเมิน สิ่งยึดเหนี่ยว หรือ สิ่งสาคัญในชีวิต - ถ้าลุงป่วย ต้องนอน โรงพยาบาลจะทา อยา่ งไร จะมีใครเดือดร้อนบ้าง - คุณคิดว่าสุรามีผล กระทบต่อคุณอย่างไร - อะไรคือความพึงพอใจ ในชีวิตของคุณ - อะไรคือความกังวลใจ หรือไม่สบายใจ - ได้ข้อมูลสิ่งสาคัญใน ชีวิตหรือสิ่งยึดเหนี่ยว ในใจที่สามารถนามาใช้ ในการสนทนาสร้าง แรงจูงใจให้ผู้ป่วยเกิด ความลังเลใจหรืออยาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แนะนําแบบ มีทํางเลือก แนะนํา (Advice) - เพื่อให้ความรู้ต่างๆ - เพื่อให้ข้อเสนอแนะ อื่นๆ นอกเหนือจากที่ ผู้ป่วยคิดไว้ - คุณมีโอกาสที่จะเกิด อันตรายจากการดื่มสุรา 3 อาการ 1. อาการมึนเมา 2. เมื่อใช้นานๆ อาจเกิด อาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน หวาดระแวง 3. ต้องดื่มทุกวันทาให้ เสียเงิน - กีฬาที่คิดว่าจะเล่น หากฝนตกเล่นไม่ได้ จะออกกาลังด้วยวิธีไหน ได้อีก อาจจะแกว่งแขน ย่าเท้าอยู่กับที่อยู่ในบ้าน หรือเต้นประกอบเพลง ตามในยูทูปก็ได้นะคะ - ให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องที่ เป็นประโยชน์เพิ่มเติม - มีแนวทาง/วิธีการที่ เป็นทางเลือกอื่นๆ ในการปฏิบัติตัว 38 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ขั้นตอน เทคนิคที่ใช้ ตัวอย่ํางคําพูด ผลที่เกิดขึ้น - ลุงว่าจะกินของเปรี้ยว แทนถ้ามีอาการเปรี้ยว ปากในช่วงที่ลองหยุดดื่ม ก็ดีนะลุง นอกจากนี้แล้ว ยังมีวิธีอื่นที่จะช่วยลด อาการเปรี้ยวปากอยาก ดื่มได้อีก เช่น ทาน อาหารเช้า ในระหว่างวัน ก็หาผลไม้ทาน อาหาร เย็นก็ทานอย่าดึกนัก รีบทานตั้งแต่ช่วงเย็นเลย หรือออกกาลังกายเบาๆ ช่วงก่อนทานข้าวเย็น ก็ได้นะคะ กรณีตัวอย่าง การสนทนาสร้างแรงจูงใจแบบสั้น (Brief Motivation Advise: BMA) สาหรับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เรื่องของลุงไข่ (ต่อ) เช้าวันลุงขึ้น นายไก่ได้พาลุงไข่มาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลเพื่อปรึกษา อาการเรื่องความดันเลือดสูง จึงได้พบกับพยาบาล พยําบําล “สวัสดีค่ะ ลุงไข่ ดีใจจังที่ลุงมากับอสม.ไก่ ลุงทานข้าวมาหรือยัง มีขนม มีโอวัลตินนะคะ มาๆ มานั่งตรงนี้ก่อน นั่งพักก่อน เดี๋ยวค่อยวัดความดัน นะลุง” \[ชม เพ่ือสร้ํางสัมพันธภําพ\] พยาบาล วัดความดันโลหิตลุงไข่ได้ 150/95 มิลลิเมตรปรอท พยําบําล “อสม.ไก่บอกว่าเมื่อวานความดันลุง 158/98 แต่เช้าน้ีความดันลุง 150/95 นะคะ ค่าความดันทั้งตัวบนและตัวล่างลดลงนะคะ ดีมากเลย ลุงทาอย่างไร เช้าน้ีความดันลงได้” \[ชมเพื่อเสริมสร้ํางแรงจูงใจ และใช้คําถํามปลํายเปิด เพ่ือหําข้อมูลเพ่ิมเติม\] คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 39 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล พยําบําล ลุงไข่ “ก็รีบนอน ตามท่ี อสม.ไก่เขาบอก จะว่าไปก็กลัวอยู่ มันปวดหัวตลอด” “เย่ียมมากเลยลุงท่ีทาตามท่ี อสม.ไก่ แนะนา เช้านี้ ความดันเลยลดลง แล้ว อาการปวดหัวล่ะเป็นอย่างไรบ้าง” \[ชม สิ่งดีๆ ที่ทําเพื่อเสริมแรงใจให้ทํา ต่อเนื่อง และใช้คําถํามปลํายเปิด เพื่อหําข้อมูลเพิ่มเติม\] “ยังมีอยู่น้อยๆ ปวดตึ๊บๆ” “ยาที่เคยให้ไป ได้ทานต่อเนื่องไหม” “กิน บ้าง ไม่ได้กินบ้าง” “เพราะอะไร ถึงกินบ้าง ไม่ได้กินบ้าง” \[ใช้คําถํามปลํายเปิด เพื่อประเมิน ปัญหําและหําข้อมูลเพิ่มเติม\] “มันก็ลืม บางทีก็เผลอหลับไป” “ที่ไม่ได้ทานยาเพราะลืมเผลอหลับแล้วมีอะไรมาทาให้ลุงเผลอหลับหรือลืม ได้ล่ะ” “ก็มัน ก็มีบ้าง กรึ๊บ สองกร๊ึบ แก้ปวดแก้เมื่อย มันเลยหลับไป” “นอกจากกรึ๊บ สองกรึ๊บ แล้วทาให้หลับไป ลุงคิดอย่างไรบ้างเกี่ยวกับการดื่ม กรึ๊บ สองกรึ๊บกับอาการมือสั่น ปวดท้ายทอย และความดันสูงของลุง” \[ใชค้ ํา ถํามปลํายเปดิ เพอื่ ประเมนิ แรงจงู ใจและกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ควํามลงั เลใจ\] “ไม่น่านะ คนอื่นเขาก็กินกัน” \[ความเชื่อท่ีต่อต้านการมีพฤติกรรมสุขภาพ\] “งน้ั เอาอยา่ งนดี้ กี วา่ ลงุ เดยี๋ วจะลองใหล้ งุ ตอบคา ถาม 7 ขอ้ นะคะ เปน็ คา ถาม ทใี่ ชป้ ระเมนิ วา่ การดมื่ เหลา้ ของเรามคี วามเสยี่ งอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพระดบั ไหน” (ใช้คําถําม ASSIST) “จากการตอบคาถามคะแนนรวมที่ได้ของลุงได้27คะแนนหมายถึงการดื่ม เหล้าของลุงทาให้มีความเสี่ยงอันตรายอย่างมากต่อสุขภาพ ที่ลุงมือส่ัน ปวดท้ายทอย และความดันสูงน่ี ลุงคิดว่าเกี่ยวกับการด่ืมอย่างไร” \[ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงเพ่ือแก้ไขควํามเชื่อท่ีคลําดเคล่ือน\] “...........” ลุงไข่เงียบไปสักครู่แล้วตอบว่า “ก็ไม่น่าจะมีอะไรนะ” 40 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล ลุงไข่ พยําบําล “เอ...แต่เห็น อสม.ไก่ เขาบอกว่าลุงอยากช่วยป้าทางานหาตังค์ เล้ียงหลาน เป็นความตั้งใจที่ดีมากเลยนะคะ ลุงว่า จะดีกว่านี้มั้ยคะ ถ้าลุงหายมือสั่น หายปวดหัว ความดันลดลง” \[ชม เพื่อกระตุ้นแรงจูงใจให้เกิดควํามลังเลใจ อยํากเปลี่ยนพฤติกรรม\] “มันก็ต้องดีแหละ” “ถ้าลุงคิดว่าดี ลุงจะทาอะไรบ้างเพื่อให้ลุงหายมือส่ัน หายปวดหัว ความดัน ลดลง” \[ใช้คําถํามปลํายเปิดเพื่อให้เกิดกํารวํางแผนกํารปฏิบัติตัว\] “จะพยายามไม่ลืมกินยาตามที่หมอบอก แล้วก็ลดๆ มันหน่อย” “ดีมากเลยลุง ที่ลุงมีความต้ังใจในการทานยา แล้วคิดลดการด่ืมลง ก็ยังมีวิธี อน่ื ๆ ทหี่ มอจะแนะนา ให้ กเ็ ปน็ เรอื่ งใกลต้ วั เราทงั้ นนั้ อยา่ งเรอื่ งอาหาร ลงุ ทาน ให้ครบสามเวลา เช้าเที่ยงเย็นนะ ว่างๆ ก็เดินบ่อยๆ แกว่งแขน มือก็กา-แบ กา-แบ (ทาท่าให้ดูประกอบด้วย) ออกกาลัง กล้ามเน้ือจะได้มีแรง อีกอย่างท่ี น่ีก็มีอบสมุนไพรนะลุง อบสมุนไพรช่วยขับของเสียออกจากร่างกาย อบแล้ว สดชื่น หลับสบายถ้ายังไงนัดคราวหน้าลองมาอบสมุนไพรดูก็ได้นะลุง” \[ชมเพื่อกระตุ้นแรงจูงใจในกํารปรับเปล่ียนพฤติกรรม และแนะนําแบบมี ทํางเลอื ก\] “แลว้ เดยี๋ วกลบั ถงึ บา้ นวนั นี้ ลงุ จะทา อะไรบา้ งคะ” \[ถํามเพอ่ื ใหไ้ ด้ ข้อมูลกํารวํางแผนกํารปฏิบัติตัว\] “ก็ช่วยงานป้า เขาหน่อย” “สุดยอดเลยลุง หมอว่าลุงเป็นห่วงป้านะ งั้นลุงต้องดูแลสุขภาพด้วยนะคะ ทานข้าว ช่วงว่างๆ บ่ายๆ ก็ทานผลไม้หน่อยจะได้รองท้อง ว่างๆ ก็เดินไป เดินมาหน้าบ้าน หรือแกว่งแขนหน่อยก็ดีนะ แขนขาจะได้มีกาลังมากขึ้น เย็นก็ทานยาในซองนี้ก่อน 1 เม็ด ก่อนทานข้าว แล้ววันจันทร์หน้า เราเจอกัน อีกนะคะ” \[ชมสิ่งดีๆ เพื่อกระตุ้นแรงจูงใจในกํารปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแนะนําเพิ่มเติม\] ลุงไข่ พยําบําล คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 41 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

42 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) การสนทนา สรŒางเเรงจงใจ เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผูŒด่ืมสุรา การใหŒคําแนะนําแบบส้ัน (ฺBrief Motivational Advice) หัวใจหลักการสนทนา การใหŒคําปรกษาแบบส้ัน (Brief Motivational Intervention: BMI) Collaboration ใชเวลา 20-30 นาที 1. สรางสัมพันธภาพ 2. ประเมินความเส่ียง ปญหา รวมมือและรวมเดินทาง ใชความ เขาใจและไมเนนการสั่งสอน กระบวนการ และระดับแรงจูงใจ 3. ใชคําถามและการสนทนา Evocation เนนการเสริมแรงจูงใจ และการวางแผนปฏิบัติ เพ่ือสรางเเเรงจูงใจ 4. ใหขอมูลที่จําเปน 5. ชักชวนใหวางแผนปฏิบัติ การดึงความต้ังใจ เหตุผลในการ เปล่ียนแปลงท่ีมาจากใจผูปวย Autonomy เหมาะสมกับผูท่ีมีแรงจูงใจ จะปรับเปล่ียนตนเอง อยางเปนรูปธรรม 6. สรุปและคาดหวังดานบวก การมีอิสระในการพิจารณาตัดสินใจ เลือกเปาหมายและวิธีการ ใชเวลา 5-10 นาที ประโยชน เพิ่มความสนใจในการเลิกดื่มสุรา และเขาสูการบําบัด เกิดความตระหนัก ในความเสี่ยงหรือปญหา ท่ีมองขามไปและรับทราบ แนวทางการแกไข เพ่ิมความต้ังใจในการรักษาจนจบ กระบวนการ ข้ันตอน 1. 2. Engagement การสรางสัมพันธภาพ และความรวมมือ ใชคําถามสรางแรงจูงใจ ประเมินปญหา และระดับเเรงจูงใจ 3. 4. ใหขอมูล วิธีปฏิบัติ สรุปและใหกําลังใจ

เอกสารอ้างอิง 1. เทอดศักดิ์ เดชคง. สนทนาสร้างแรงจูงใจเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สาหรับผู้ป่วย NCDs \[Motivational Interviewing for NCDs; MI NCDs\]. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์พับลิชชิ่ง; 2560. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการด่ื่ืมเคร่่ืืองด่ื่ืมแอลกอฮอล์์ 43 สําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําาบล (รพ.สต.)

44 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การคัดกรองการด่ืม เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การให้ความช่วยเหลือ และการส่งต่อบาบัดรักษา ในสถานบริการสุขภาพ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 45 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การคัดกรองการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การให้ความช่วยเหลือ และการส่งต่อบาบัด รักษาในสถานบริการสุขภาพ วิมล ลักขณาภิชนชัช แพทย์หญิงภัทรินทร์ ชมภูคา นายแพทย์อภิชาติ เรณูวัฒนานนท์ เมตตา คาพิบูลย์ ทาไมต้องคัดกรองพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เพราะการด่ืม หรือการติดแอลกอฮอล์ส่งผลต่อสุขภาพ ปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม ฯลฯ • เพ่ือค้นหาและช่วยเหลือเบื้องต้นสาหรับผู้มีปัญหาการด่ืมแอลกอฮอล์ • เพื่อส่งต่อผู้ติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้ารับการบาบัดรักษา1 ใครควรจะได้รับบริการคัดกรอง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบและผู้มารับบริการท่ี รพ.สต. ทุกคนที่อายุ 15 ปีข้ึนไป ผู้มารับบริการที่มีความเส่ียงสูงต่อ ปญั หาการดมื่ แอลกอฮอล์เชน่ โรคเรอื้ รงั อุบัติเหตุ วยั รนุ่ ชาย หญงิ ตงั้ ครรภ์ หรอื ใหน้ มบตุ ร จติ เวช ยาเสพติด 46 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การคัดกรองและการให้ความช่วยเหลือ การบริการคัดกรองตามแบบประเมินพฤติกรรมการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์1 (ASSIST 7 คาถาม) เป็นการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในด้านต่างๆ ได้แก่ สุขภาพ การทางาน การเงิน สังคม กฎหมาย โดยแบ่ง ระดับความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็น 3 ระดับ คือ ระดบั ความเสยี่ งตา่ ระดบั ความเสย่ี งปานกลางระดบั ความเสยี่ งสงู และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามระดับความเสี่ยงจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีข้ันตอนดังนี้ สอบถามตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่ม เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (ASSIST 7 คาถาม) และ สรุปคะแนนความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาจาก การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ แจ้งผลระดับความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาจาก การดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์พรอ้ มใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามระดับความเสี่ยงที่คัดกรองได้ บันทึกข้อมูลการให้บริการในระบบรายงาน HDC แฟ้ม Special PP คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 47 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

48 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 1. สอบถามตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (ASSIST 7 คาถาม) คําาถาม คําาตอบท่ีได้ คะแนน 1.“ตลอดชีวิตที่ผ่านมาคุณ เคยด่ืม เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์หรือไม่” • ไม่เคยด่ืม (ยุติการประเมิน) - • เคยดื่ม แต่เลิกดื่มมาแล้วต้ังแต่ 1 ปีข้ึนไป (ยุติการประเมิน) - • เคยด่ืม (ประเมินต่อ) - • ไม่เคยด่ืมในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา (ข้ามไปถามข้อ 6 และ 7) 0 • คร้ังสองครั้ง หมายถึง ด่ืม 1 – 2 คร้ัง ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 2 • ทุกเดือน หมายถึง ด่ืม 1 – 3 ครั้ง/เดือน ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 3 • ทุกสัปดาห์ หมายถึง ดื่ม 1 – 4 ครั้ง/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา 4 • ทุกวันหรือเกือบทุกวัน หมายถึง ดื่ม 5 – 7 วัน/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 6 • ไม่ตอบหรือไม่สามารถถามต่อได้ - • ไม่เคย หมายถึง ไม่เคยอยากดื่มเลย ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา 0 • ครั้งสองคร้ัง หมายถึง อยากด่ืม 1 – 2 ครั้ง ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 3 • ทุกเดือน หมายถึง อยากด่ืมเฉลี่ย 1 – 3 ครั้ง/เดือน ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา 4 • ทุกสัปดาห์ หมายถึง อยากด่ืม 1 – 4 ครั้ง/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 5 • เกือบทุกวัน หมายถึง อยากดื่ม 5 – 7 วัน/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 6 2. “ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา คุณ ด่ืม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์บ่อยเพียงใด” 3. “ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา คุณเคย รู้สึกอยากดื่ม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ อย่างมาก บ่อยเพียงใด”

คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 49 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) คําาถาม คําาตอบที่ได้ คะแนน 4. “ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา การดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทาให้คุณ เกิดปัญหา สุขภาพ ครอบครัว สังคม กฎหมาย หรือการเงิน บ่อยเพียงใด” • ไม่เคย หมายถึง ไม่เคยเกิดปัญหาจากการด่ืมเลยในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา 0 • คร้ังสองครั้ง หมายถึง มีปัญหา 1 – 2 ครั้ง ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 4 • ทุกเดือน หมายถึง มีปัญหาเฉลี่ย 1–3 ครั้ง/เดือน ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 5 • ทุกสัปดาห์ หมายถึง มีปัญหา 1 – 4 ครั้ง/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่านมา 6 • เกือบทุกวัน หมายถึง มีปัญหา 5 – 7 วัน/สัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 7 • ไม่เคย หมายถึง ไม่เคยรบกวนกิจกรรมปกติเลย ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 0 • คร้ังสองคร้ัง หมายถึง รบกวนกิจกรรมปกติ 1 – 2 ครั้ง ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 5 • ทุกเดือน หมายถึง รบกวนกิจกรรมปกติ 1 – 3 ครั้ง/เดือน ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 6 • ทกุ สปั ดาห์ หมายถงึ รบกวนกจิ กรรมปกติ 1 – 4 ครง้ั /สปั ดาห์ ในชว่ ง 3 เดอื นทผ่ี า่ นมา 7 • ทกุ วนั หรอื เกอื บทกุ วนั หมายถงึ รบกวนกจิ กรรมปกติ 5 – 7 วนั /สปั ดาห์ ในชว่ ง 3 เดอื นทผี่ า่ นมา 8 5. “ในชว่ ง 3 เดอื นทผ่ี า่ นมา คณุ ไมส่ ามารถทําากิจกรรมที่คุณควรจะ ทําาได้ตามปกติ เน่ืองจากคุณดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ บ่อยเพียงใด” 6.“ตลอดชีวิตท่ีผ่านมา เพ่ือนฝูง ญาติ หรือคนอื่น เคยแสดงความกังวลหรือ ตักเตือนคุณ เก่ียวกับการด่ืมเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ของคุณ หรือไม่” • ไม่เคยเกิดข้ึนเลยในชีวิต • เคยและเกิดขึ้นภายใน 3 เดือนท่ีผ่านมา • เคย แต่เกิดขึ้นก่อนหน้า 3 เดือนน้ี 0 6 3 7.“ตลอดชีวิตท่ีผ่านมา คุณ เคยพยายาม หยดุ หรอื ลดการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ให้น้อยลง แต่ทาไม่สาเร็จ หรือไม่” • ไม่เคยเกิดข้ึนเลยในชีวิต • เคยและเกิดขึ้นใน 3 เดือนที่ผ่านมา • เคย แต่เกิดข้ึนก่อนหน้า 3 เดือนนี้ 0 6 3 รวมคะแนน

2. แจ้งผลระดับความเส่ียงต่อการเกิดปัญหาจากการด่ืมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และให้การช่วยเหลือ คะแนน/ระดับความเสี่ยง การแปลผลและการช่วยเหลือ ไม่เคยดื่ม หรือหยุดด่ืม มาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป แสดงความชื่นชมที่ไม่ดื่ม หรือสามารถหยุดดื่มได้นาน พร้อมส่งเสริมให้ไม่ดื่ม และหยุดดื่มต่อเนื่อง 1 – 10 คะแนน ความเสี่ยงตํา่า การดื่มในขณะนี้ มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาจากการ ดื่มสุรา แต่ในอนาคต หากดื่มมากกว่านี้ มีโอกาสเพิ่ม ความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาจากการดื่มสุราได้ ให้คําาแนะนําาแบบสั้น (Brief Advice) 11 – 26 คะแนน ความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงปานกลางต่อสุขภาพและปัญหาอื่น ๆ หรือ อาจเรมิ่ มปี ญั หาบางอยา่ งเกดิ ขนึ้ แลว้ การดมื่ สรุ าอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ลักษณะเช่นนี้จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ และปัญหาอื่น ๆ เพิ่มขึ้นได้ในอนาคต รวมถึงเสี่ยงต่อการติดสุราได้ โดยเฉพาะ ในคนที่เคยมีปัญหาจากการดื่มสุราหรือเคยติดสุรามาก่อน ให้คําาปรึกษาแบบสั้น (Brief Counseling) ตั้งแต่ 27 คะแนนข้ึนไป ความเสี่ยงสูง บ่งชี้ว่ามีความเสี่ยงสูงต่อการติดสุรา หรือติดสุราแล้ว หรือ กาลังประสบปัญหาสุขภาพ สังคม การเงิน กฎหมาย ทสี่ มั พนั ธก์ บั การดมื่ สรุ า สง่ ตอ่ พบแพทยเ์ พอ่ื เขา้ รบั การวนิ จิ ฉยั และบําาบัดรักษาในสถานพยาบาลระดับ รพช./รพท./รพศ. การให้คําาแนะนําาแบบส้ัน (Brief Advice) เป็นวิธีการช่วยเหลือเชิงรุกที่จะเพิ่ม ความตระหนกั ใหข้ อ้ มลู เชงิ ปรกึ ษา โดยเนน้ การสรา้ งแรงจงู ใจ ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ รู้ บั คา แนะนา ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั ติ ามขอ้ มลู ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั การใหค้ า แนะนา แบบสน้ั นี้ ใชเ้ วลาประมาณ 5-10 นาท2ี การให้บริการ คาแนะนาแบบส้ัน (Brief Advice) ดังนี้ 1. สะท้อนกลับผลการประเมิน 2. ให้ความรู้อันตรายจากการดื่ม 3. กาหนดเป้าหมาย 4. ให้คาแนะนาการหยุดดื่ม/ดื่มลดลง 50 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ตัวอย่างการให้คําาแนะนําาแบบส้ัน (Brief Advice) “คุณอยากทราบคะแนนประเมินหรือยังคะ” 1. คุณได้ 8 คะแนน แสดงว่ายังมีโอกาสเสี่ยงจากการดื่มแอลกอฮอล์ คุณรู้สึก อย่างไรบ้างคะ 2. ตอนนี้คุณอาจคิดว่าไม่มีปัญหาอะไรจากการดื่มแอลกอฮอล์ แต่ถ้าดื่มบ่อยๆ หรือครั้งละมากๆ อาจทาให้เกิดอุบัติเหตุ ทะเลาะวิวาท ปัญหาครอบครัว สมองเสื่อม และผลเสียต่อสุขภาพ ในระยะยาวจะทาให้คุณติดแอลกอฮอล์ได้ หรือคุณมีความเห็นว่า อย่างไรคะ 3. ปัญหาต่างๆ ที่กล่าวมาจะลดลง และสุขภาพของคุณก็จะดี ถ้าคุณหยุดด่ืม 4. การหยุดด่ืมเลยคุณอาจดูว่ายาก แต่หากคุณตระหนักถึงปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น คณุ กจ็ ะสามารถหยดุ ดมื่ ได้ หรอื คณุ จะลองลดปรมิ าณการดมื่ ลง คณุ สามารถทา ไดด้ ว้ ยตวั คณุ เอง การปรึกษาแบบส้ัน (Brief Intervention) เป็นการสื่อสารสองทางเพื่อให้ ความช่วยเหลือในประเด็นเฉพาะเจาะจง อาศัยการประเมินอย่างกระชับนาผู้รับบริการ เข้าสู่การบาบัดอย่างรวดเร็ว โดยมีเป้าหมายท่ีจะสร้างแรงจูงใจให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสม มีองค์ประกอบพื้นฐานเดียวกับการให้คาแนะนาแบบส้ันแต่ขยายเป้าหมาย เพ่ิมข้ึนซ่ึงต้องมีเนื้อหาและเวลามากกว่าการให้คาแนะนาแบบส้ัน การปรึกษาแบบส้ัน ใช้เวลาประมาณ 10 - 15 นาท3ี คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 51 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การให้บริการ การปรึกษาแบบสั้น (Brief Intervention) สามารถใช้รูปแบบ FRAMES3 Feedback: F คือการนาข้อมูลที่ได้จากการ คัดกรอง และ การประเมินผลในเบื้องต้น โดยรวบรวมข้อมูลจาก การสัมภาษณ์ ตรวจร่างกาย ผลการประเมินจาก แบบทดสอบต่างๆ แจ้งสะท้อนให้ผู้รับบริการบาบัด รับทราบถึงผลกระทบของการดื่มสุราที่เกิดขึ้น กบั สขุ ภาพรา่ งกายของผรู้ บั บรกิ าร รวมทงั้ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ การทา งาน ครอบครวั และความเสยี่ งตอ่ ปญั หาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอ่ ไป การใหข้ อ้ มลู นจี้ ะเปน็ การให้คาแนะนาที่เฉพาะสา หรบั ผปู้ ว่ ย เนอื่ งจากเปน็ ขอ้ มลู จากประสบการณ์ ผลกระทบ ทางจติใจและสงัคมของผปู้ว่ยระหวา่งการใหข้อ้มลู ควรมทีา่ททีแี่สดงความเขา้ใจไมต่ดัสนิ ถกู ผดิ ไม่กล่าวโทษผู้ป่วย R Responsibility: อธบิ ายใหผ้ รู้ บั บรกิ ารเขา้ ใจวา่ การเปลย่ี นแปลง จะเกดิ ขน้ึ ได้ ขน้ึ กบั ตวั ของเขาเอง ซงึ่ ความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ สขุ ภาพ ไมม่ ใี ครสามารถทา แทนได้ ทงั้ นผี้ รู้ บั บรกิ าร สามารถเลอื กดว้ ยตนเอง และเปน็ ผทู้ รี่ บั ผดิ ชอบในสงิ่ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กบั ตนเอง ความรสู้ กึ ในการเปน็ ผเู้ ลอื กเองนี้ จะเป็นแรงผลักดAันท่ีสาคัญ Advice: ผู้ให้การบาบัดแสดงให้ผู้รับบริการเห็นถึง ความเปน็ หว่ งตอ่ การดมื่ ของผรู้ บั บรกิ ารการใหค้ า แนะนา ทช่ี ดั เจนเฉพาะเจาะจง และชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ อนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตกลงวางแผนในการดูแลร่วมกันกับผู้ป่วยในการ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 52 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

Menu: M ควรมีทางเลือกให้ผู้รับบริการได้เลือกปฏิบัติ ผู้รับบริการได้มีอิสระในการเลือกและไม่รู้สึกว่า ถูกบังคับหรือกดดัน Empathy: E ลกั ษณะทา่ ทที อี่ บอนุ่ เปน็ มติ รการแสดงความเขา้ ใจ ในตัวผู้รับบริการโดยใช้การสะท้อนความคิด หรือ ความรู้สึกของผู้รับบริการ มีความสาคัญต่อผลของ การบา บดั ทงั้ นี้ พบวา่ การใหก้ ารบา บดั โดยการแสดง ความเห็นใจมีประสิทธิผลมากกว่าท่าทีเผชิญหน้า หรือท้าทายให้ผู้รับบริการปรับเปล่ียนพฤติกรรม Support Self – Efficacy: S เสริมให้ผู้รับบริการมีความม่ันใจว่าตนเอง มคี วามสามารถทจ่ี ะปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม สรา้ งทศั นคติ ด้านบวกให้เห็นถึงความเป็นไปได้ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 53 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ตัวอย่าง ผู้รับบริการที่มาด้วยโรคกระเพาะอาหารและความดันโลหิตสูง เมอ่ื คดั กรองดว้ ยแบบประเมนิ พฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ได้23คะแนน จากผลการประเมินคุณได้ 23 คะแนน แสดงว่า คุณได้รับผลกระทบจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ซึ่งโรคกระเพาะและความดันสูงก็เป็นผลจากการดื่มด้วย คุณมีความเห็นว่าอย่างไรคะ หากต้องการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น คุณสามารถ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ได้ ขึ้นอยู่กับตัวคุณเป็นสาคัญ A M E S F R 54 ฉันเป็นห่วงการด่ืมของคุณ ที่จะทาให้เกิดผลเสีย และเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ คุณจะลองลดปริมาณการด่ืมด้วยตัวคุณเอง หรือ หยดุ ดมื่ เลยแตห่ ากมอี าการนอนไมห่ ลบั สามารถพบแพทย์ เพื่อรับยาช่วยบรรเทาอาการให้คุณพักผ่อนได้ คุณคิดว่า แบบไหนจะเหมาะกับคุณคะ ฉันเข้าใจว่าการดื่มจะช่วยให้คุณรู้สึกผ่อนคลาย ลืมปัญหา และมีความสุขขณะดื่ม แต่การดื่มท่ีมากและ บอ่ ยครงั้ ทา ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ และปญั หาอนื่ ตามมา และจะทาให้คุณติดเหล้าได้ ฉนั เชอื่ วา่ คณุ สามารถปรบั เปลยี่ นไดด้ ว้ ยตวั ของคณุ เอง ฉันขอเป็นกาลังใจให้คุณทาได้สาเร็จ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คําาแนะนําาในการลดปริมาณการด่ืม 1. รบั ประทานอาหารใหอ้ ม่ิ กอ่ นดมื่ จะชว่ ยลดความอยากดม่ื และลดการดดู ซมึ แอลกอฮอลล์ ง 2. ดื่มให้ช้าลง และดื่มน้าเปล่าสลับ 3. กาหนดวันที่งดดื่มไว้ล่วงหน้า เริ่มท่ี 1 – 2 วัน/สัปดาห์ จากน้ันให้เพ่ิมจานวน วันที่ไม่ดื่มไปเร่ือยๆ จนไม่ด่ืมเลย 4. หาคนช่วยสนับสนุนในการหยุดดื่มมาอยู่เป็นเพื่อน เวลาที่อยากดื่ม 5. หากิจกรรมท่ีชอบทาแทนการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 6. หากมีอาการไม่สุขสบายจากอาการขาดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สามารถพบแพทย์ เพ่ือรับการบาบัดอาการขาดแอลกอฮอล4์ 3. บันทึกข้อมูลการให้บริการในระบบรายงาน HDC แฟ้ม Special PP เม่ือให้บริการคัดกรองปัญหาจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ให้คาแนะนา/ การให้คาปรึกษาแบบสั้นหรือส่งต่อ ให้บันทึกข้อมูลการให้บริการต่างๆ ดังน้ี  ไม่เคยดื่ม (ยุติการประเมิน) ลงรหัส 1B600  เคยดื่ม แต่เลิกดื่มมาแล้วตั้งแต่ 1 ปีข้ึนไป ลงรหัส 1B601  คะแนน 1 – 10 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มระดับความเสี่ยงต่า ลงรหัส 1B602  คะแนน11–26คะแนนจดั อยใู่นกลมุ่ ระดบั ความเสยี่ งปานกลางลงรหสั 1B603  คะแนนตงั้ แต่ 27 คะแนนขนึ้ ไป จดั อยใู่ นกลมุ่ ระดบั ความเสยี่ งสงู ลงรหสั 1B604  การให้คาแนะนา (Brief Advice) ลงรหัส 1B610  การให้คาปรึกษาแบบสั้น (Brief Counseling) ลงรหัส 1B611  การสง่ ตอ่ เพอ่ื รบั การประเมนิ และบา บดั รกั ษาโดยแพทย/์ ผเู้ชย่ี วชาญลงรหสั 1B612 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 55 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

56 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) คัดกรอง การใหŒบรการใหŒคําแนะนําแบบสั้น ใหคŒ วามชว‹ ยเหลอื และส‹งต‹อ บําบัดรักษา 1 กําหนดเปาหมาย 2 สะทอนกลับผลการประเมิน 3 ใหความรูอันตรายจากการดื่ม 4 ใหคําแนะนําการหยุดด่ืม/ด่ืมลดลง ทําไมตŒองคัดกรอง อธิบายใหผูรับบริการ เขาใจความรับผิดชอบ ตอสุขภาพและสามารถเลือกที่จะทําดวยตัวเองได แสดงความเปนหวงตอการด่ืม ใหคําแนะนําที่ชัดเจน ตกลงวางแผนรวมกัน มีทางเลือกใหเลือกปฏิบัติใหอิสระในการเลือก ขั้นตอน เสริมความม่ันใจผูรับบริการวามี ความสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได คนหาและชวยเหลือเบื้องตน Advice: A Menu: M Empathy: E Support Self - Efficacy: S สงตอผูติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล เขารับการบําบัดการรักษา แสดงความเขาใจในตัวผูรับบริการดวยทาทีอบอุนเปนมิตร 1 ประเมินตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่ม เครื่องด่ืมแอลกอฮอล (ASSIST 7 คําถาม) 2 และสรุปคะแนนความเสี่ยง แจงผลระดับความเสี่ยง ใหความชวยเหลือ ตามระดับความเสี่ยง 3 บันทึกขอมูลการใหบริการในระบบรายงาน HDC แฟม Special PP การใหŒบรการคําปรกษาแบบสั้น Feedback: F Responsibility: R แจงผลการประเมิน

เอกสารอ้างอิง 1. คณะอนุกรรมการพิจารณาด้านการบาบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้ติดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์. แนวปฏบิ ตั กิ ารคดั กรองและบา บดั รกั ษาฟน้ื ฟสู ภาพผมู้ ปี ญั หาการดมื่ สรุ า. นนทบรุ :ี อกั ษรกราฟฟคิ แอนด์ดีไซน์; 2561. 2. แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา. คู่มือสาหรับผู้ปฏิบัติรูปแบบ การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ ฉบับปรับปรุง 2554. พิมพ์ครั้งท่ี 2. เชยี งใหม:่ วนิดาการพิมพ์; 2554. 3. แผนงานการพัฒนาระบบรูปแบบและวิธีการบาบัดรักษาผู้มีปัญหาการบริโภคสุราแบบ บูรณาการ. การบาบัดแบบสั้นในผู้มีปัญหาการดื่มสุรา. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์; 2552. 4. วมิ ล ลกั ขณาภชิ นชชั , คมกรบิ ผกู้ ฤตยาคาม.ี คลายเหลา้ . กรงุ เทพมหานคร: เครอื ขา่ ยวชิ าชพี สุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่; 2561. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการดื่ื่มเคร่ื่ืองดื่ื่มแอลกอฮอล์์ 57 สําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําาบล (รพ.สต.)

58 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การติดตามดูแลต่อเนื่อง ผู้มีปัญหาจากการดื่มสุรา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 59 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การติดตามดูแลต่อเนื่อง ผู้มีปัญหาจากการดื่มสุรา วิมล ลักขณาภิชนชัช เมตตา คาพิบูลย์ เมอื่ ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ บั การคดั กรอง และการชว่ ยเหลอื ตามระดบั ผลการคดั กรองแลว้ ควรมีการติดตามและให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง เป็นสิ่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นการช่วยเหลือและสนับสนุน ผู้รับบริการให้สามารถหยุดดื่มเครื่องด่ืมแอลกอออล์ได้อย่างต่อเน่ือง1 การติดตามพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์สาหรับผู้มีความเสี่ยงต่อการ เกิดปัญหาจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ดังนี้ 1. ผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับ ความเสี่ยงต่าและความเสี่ยงระดับปานกลาง ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. ผทู้ มี่ คี วามเสยี่ งระดบั สงู หรอื ไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ ตดิ สรุ า สง่ ตอ่ เขา้ รบั การบา บดั รักษาในสถานพยาบาลระดับโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เพื่อการบาบัดรักษา ติดตามกระตุ้น ส่งเสริมให้ผู้รับบริการ เข้าสู่กระบวนการบาบัด และติดตามดูแลหลังผ่านการบาบัด หลงั จากผมู้ ารบั บรกิ ารคดั กรองปญั หาการดม่ื สรุ าตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมการ ดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ ทราบระดบั ความเสยี่ ง ไดร้ บั คา แนะนา แบบสนั้ การปรกึ ษาแบบ สั้น หรือส่งต่อพบแพทย์เพ่ือเข้ารับการวินิจฉัยและบาบัดรักษาในสถานพยาบาลระดับ รพช. รพท. รพศ. การติดตามดูแลต่อเนื่องเป็นส่ิงสาคัญ2 60 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ความสาคัญของการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1. ส่งเสริมการใช้ชีวิตที่สมดุล 2. ส่งเสริมการคงสภาพการลดการดื่มหรือหยุดดื่มให้ต่อเนื่อง 3. เฝ้าระวังการกลับไปดื่มซ้า 4. ช่วยเหลือตามสภาพปัญหา 5. ช่วยให้ผู้ติดสุราเข้ารับการบาบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง วิธีการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1. นัดผู้มีระดับความเสี่ยงต่า มารับบริการคัดกรองปัญหาการดื่มสุราตามแบบ ประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ซ้าทุก 1 ปี 2. นดั ผมู้ รี ะดบั ความเสยี่ งปานกลาง และผมู้ รี ะดบั ความเสยี่ งสงู เพอื่ ตดิ ตามพฤตกิ รรม การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลเ์ ทยี บกบั การมารบั บรกิ ารครงั้ กอ่ น ระยะเวลา 1, 3, 6 และ 12 เดือน 3. นัดผู้มีระดับความเสี่ยงสูง ให้เข้าพบแพทย์เพื่อรับการบาบัดรักษา ติดตามให้ พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่าเสมอ และติดตามหลังผ่านการบาบัดเพ่ือดูแล ช่วยเหลือให้หยุดด่ืมต่อเน่ือง 4. เยี่ยมบ้านผู้มีความเสี่ยงต่า ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงสูงและผู้ติดสุรา เพื่อส่งเสริมการหยุดดื่ม1 กระบวนการดูแลต่อเนื่อง 1. ประเมินสุขภาพร่างกาย จิตใจ ผู้รับบริการ และครอบครัว 2. ประเมินสัมพันธภาพกับคนในครอบครัว การเรียน การทางาน 3. ประเมินการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ปัญหา/อุปสรรคของการลดปริมาณ การดื่มหรือหยุดดื่ม 4. ให้ความช่วยเหลือตามสภาพปัญหา 5. นัดติดตามคร้ังต่อไป3 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 61

การให้ความช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคในการเลิกดื่ม ปัญหา/อุปสรรค ความอยากด่ืม แนวทางการช่วยเหลือ แนะนาให้กินอาหารให้ครบ 3 มื้อ โดยเฉพาะมื้อเย็น ใหร้ บั ประทานเรว็ ขนึ้ เมอื่ ทอ้ งอมิ่ จะชว่ ยใหไ้ มอ่ ยากดมื่ หรืออยากดื่มลดลง หากยังอยากดื่ม การดื่มจะดื่ม ได้น้อยลง และอาหารจะช่วยขัดขวางการดูดซึม แอลกอฮอล์ ทาให้แอลกอฮอล์ดูดซึมเข้ากระแสเลือด ได้น้อยลง บอกเพอื่ นวา่ ทผ่ี า่ นมาดม่ื มากแลว้ จนตดิ และเขา้ บา บดั รักษา หรือได้รับผลกระทบแล้ว หากรักกันจริงต้อง ชวนกันเลิกเพื่อสุขภาพ และลดปัญหาอื่นๆ ที่ตามมา เวลาด่ืมจะรู้สึกผ่อนคลาย ลืมความทุกข์เน่ืองจาก ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ แต่พอสร่างเมาแล้วปัญหาท่ี ทาให้เครียดไม่ได้หายไป แต่การคลายเครียดด้วย แอลกอฮอล์ สิ่งที่เสียไปคือเงิน สุขภาพ และบางที โชคร้ายอาจเกิดอุบัติเหตุ ปัญหาครอบครัว หรือ ปัญหาอื่นๆ ตามมา เพ่ือนชวนด่ืม เครียดไม่รู้จะหาทางออกอย่างไร 62 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ปัญหา/อุปสรรค เวลาดื่มแล้วเพ่ือนเยอะ การด่ืมเหล้าเป็นความสุขส่วนตัว อยากมีความสุขอย่างน้ีไปเรื่อยๆ ถ้าให้หยุดด่ืมปิดโรงงาน เหล้าเบียร์ไปเลย คําาพูดที่กระทบจิตใจ ที่แสดง ความไม่เชื่อถือ หรือดูหม่ิน เช่น คงเลิกไม่ได้หรอก เดี๋ยวก็กลับไป กินเหมือนเดิมคอยดู ฯลฯ แนวทางการช่วยเหลือ หากไมม่ เี งนิ ซอ้ื เหลา้ เพอ่ื นๆ กค็ งไมเ่ ยอะ แตล่ องคดิ ถงึ คนในครอบครัวว่าเขารู้สึกอย่างไรท่ีคุณไปดื่มเหล้า หากวันน้ีคุณเจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุ ใครที่จะเป็น คนดูแลคุณ แล้ววันน้ีคุณดูแลใส่ใจความเป็นอยู่และ ความรู้สึกของคนในครอบครัวหรือยัง ความสุขที่ได้รับจากฤทธ์ิของแอลกอฮอล์ช่ัวขณะ แตส่ ง่ิ ทตี่ อ้ งแลกกบั ความรสู้ กึ นคี้ อื สขุ ภาพสมั พนั ธภาพกบั คนในครอบครัว ความสามารถในการทางาน หากโชค รา้ ยอาจเกดิ อบุ ตั เิ หตพุ กิ ารหรอื เสยี ชวี ติ และยงั รวมถงึ ปญั หาอนื่ ๆ อกี มากมายทเี่ ดอื ดรอ้ นถงึ ผอู้ นื่ ความสขุ ที่ ท่านได้รับแลกกับอะไรมากมาย รวมถึงความสุขของ คนในครอบครัวด้วยอย่างน้ีจะคุ้มไหม ปิดโรงงานเหล้า เบียร์ สุราต่างประเทศจะหล่ังไหล เขา้ มา การลกั ลอบตม้ เหลา้ เถอ่ื นทอี่ นั ตรายตอ่ สขุ ภาพ จะเพ่ิมข้ึน อานาจอันยิ่งใหญ่ในการเลิกดื่มอยู่ท่ีตัวคุณ เองเท่านั้นไม่ใช่อยู่ที่โรงงานผลิตเหล้าเบียร์ คุณจะยอมแพ้ หรือพิสูจน์ให้คนเหล่าน้ันกลับมา ยอมรับนับถือว่าคุณทาได้สาเร็จด้วยการหยุดด่ืม อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แลว้ คณุ จะเหน็ ความแตกตา่ งทเี่ กดิ ขนึ้ 4-5 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 63 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การให้คาแนะนาญาติ ช่วยจัดอาหารม้ือหลักให้รับประทานเพ่ือลดความอยากด่ืม ช่วยดูแลและให้กาลังใจให้หยุดดื่มอย่างต่อเน่ือง เม่ือผู้ผ่านการ บาบัดหยุดดื่มได้ต่อเนื่องควรแสดงความชื่นชมยินดี เป็นระยะๆ เพื่อให้ผู้ผ่านการบาบัดเห็นว่าเป็นสิ่งสาคัญที่เขาสามารถ ปฏิบัติได้ และเกิดกาลังใจในการเลิกด่ืม ช่วยรับฟังความรู้สึกของผู้ผ่านการบาบัด ทั้งความรู้สึกท่ีดี และ ไม่ดี กระตุ้นเตือนผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์/ผู้ติดสุรามา รับบริการตามนัดหมาย5 นอกเหนือจากการติดตามดูแลต่อเน่ืองหลังการคัดกรอง และบาบัดแบบสั้นที่จะ ช่วยลดปัญหาการดื่มสุราของประชาชนในกลุ่มเป้าหมายแล้ว ชุมชนยังเป็นสิ่งแวดล้อมที่ สาคัญที่จะช่วยส่งเสริมการหยุดดื่ม หรือเป็นปัจจัยแวดล้อมท่ีส่งเสริมการด่ืมด้วย ดังนั้น หากหนว่ ยงานภาครฐั และภาคประชาชน รว่ มกนั ดา เนนิ งานสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนเขา้ ใจและ ร่วมมือกันอย่างจริงจัง ก็จะทาให้ปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ลดลง 64 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การติดตาม ดูแลต‹อเนื่อง ผŒูมีป˜ญหาจากการด่ืมสุรา กระบวนการ 2. ใหŒความช‹วยเหลือตามสภาพป˜ญหา นัดผูมีระดับความเส่ียงต่ํา นัดผูมีระดับความเส่ียงปานกลาง มาคัดกรองซ้ําทุก 1 ป และความเส่ียงสูง นัดผูมีระดับความเส่ียงสูงพบแพทย ติดตามใหมาตามนัดอยางสม่ําเสมอ และดูแลชวยเหลือ เยี่ยมบานผูมีความเส่ียงต่ํา ความเส่ียงปานกลาง ความเส่ียงสูงและผูติดสุรา เพื่อสงเสริมการหยุดด่ืม ทุก 1, 3, 6 และ 12 เดือน 1. การประเมิน วธการ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล ปญหา/อุปสรรค ของการลดปริมาณการดื่มหรือหยุดดื่ม สัมพันธภาพกับคนในครอบครัว การเรียน การทํางาน สุขภาพรางกาย จิตใจ ผูรับบริการ และครอบครัว 3. นัดติดตามคร้ังต‹อไป คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 65 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

เอกสารอ้างอิง 1. คณะอนกุ รรมการพจิ ารณาดา้ นการบา บดั รกั ษาฟน้ื ฟสู ภาพผตู้ ดิ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล.์ แนวปฏบิ ตั ิ การคัดกรองและบาบัดรักษาฟื้นฟูสภาพผู้มีปัญหาการดื่มสุรา. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิค แอนดด์ ไี ซน;์ 2561. 2. แผนงานการพฒั นาระบบการดแู ลผมู้ ปี ญั หาการดมื่ สรุ า.คมู่ อื สา หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ริ ปู แบบการดแู ลผมู้ ี ปญั หาการดมื่ สรุ าในระบบสขุ ภาพ ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๕๔. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. เชยี งใหม:่ วนดิ าการพมิ พ;์ 2554. 3. แผนงานการพฒั นาระบบรปู แบบและวธิ กี ารบา บดั รกั ษาผมู้ ปี ญั หาการบรโิ ภคสรุ าแบบบรู ณาการ. การบา บดั แบบสนั้ ในผมู้ ปี ญั หาการดมื่ สรุ า. เชยี งใหม:่ วนดิ าการพมิ พ;์ 2552. 4. วมิ ล ลกั ขณาภชิ นชชั , คมกรบิ ผกู้ ฤตยิ าคาม.ี คลายเหลา้ . กรงุ เทพมหานคร: เครอื ขา่ ยวชิ าชพี สขุ ภาพเพอื่ สงั คมไทยปลอดบหุ ร;ี่ 2561. 5. กระทรวงสาธารณสขุ . แนวทางการดา เนนิ งานยาเสพตดิ . นนทบรุ :ี บอรน์ ทบู พี บั ลชิ ชงิ่ ; 2559. 66 คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการดื่่ืมเครื่ื่องดืื่่มแอลกอฮอล์์ สําําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําําาบล (รพ.สต.)

บทที่ การเฝ้าระวังและส่งต่อ ผู้มีอาการถอนแอลกอฮอล์ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 67 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การเฝ้าระวังและส่งต่อ ผู้มีอาการถอนแอลกอฮอล์ นายแพทย์อภิชาติ เรณูวัฒนานนท์ วิมล ลักขณาภิชนชัช อาการของการถอนแอลกอฮอล์ การดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากจะส่งผลให้สารเคมีในสมองเปลี่ยนแปลง เม่ือดื่ม เป็นระยะเวลานานจะทาให้ผู้ด่ืมต้องการด่ืมแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เพ่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกดิ การตดิ แอลกอฮอล์ (Alcohol used disorder) ซงึ่ การดม่ื แอลกอฮอลป์ รมิ าณมาก ยังส่งผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง โดยกระตุ้นให้ร่างกายต้องการแอลกอฮอล์ ตลอดเวลา และไมส่ ามารถปรบั ตวั กบั การขาดแอลกอฮอลไ์ ด้ เมอื่ หยดุ ดมื่ หรอื ลดปรมิ าณ การดื่มลงอาจก่อให้เกิดภาวะถอนพิษแอลกอฮอล์ตามมา อาการถอนแอลกอฮอล์สามารถเริ่มได้ทันทีที่ 2 ชั่วโมงหลังจากดื่มครั้งสุดท้าย1 โดยท่ัวไปอาการจะเกิดขึ้นภายใน 8 ชั่วโมงหลังดื่มครั้งสุดท้าย อาจดาเนินต่อไปเป็น ระยะเวลาหนึ่ง ตั้งแต่วันถึงสัปดาห์ขึ้นอยู่กับความรุนแรง โดยส่วนใหญ่อาการเหล่าน้ี จะถึงจุดสูงสุดใน 24 ถึง 72 ชั่วโมง 68 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

การวินิจฉัยภาวะถอนแอลกอฮอล์ หลักเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะถอนแอลกอฮอล์ที่ระบุไว้ใน DSM-V2 ประกอบด้วย ลักษณะดังต่อไปนี้  หยุดหรือลดปริมาณการดื่มสุราลง หลังจากท่ีเคยด่ืมหนักและ เป็นเวลานานมาก่อน  มอี าการแสดงออกอยา่ งนอ้ ยสองอาการเกดิ ขนึ้ หลงั ลดหรอื หยดุ ดมื่ ภายใน เวลาหลายชั่วโมงถึง 2 - 3 วัน ดังน้ี ระบบประสาทอตั โนมตั ทิ า งานมากกวา่ ปกติ เชน่ ชพี จรเตน้ เรว็ เกนิ 100 ครง้ั ตอ่ นาที หายใจเรว็ ความดนั โลหติ สงู เหงื่อออก มือสั่น นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย เห็นภาพหลอน สัมผัสหลอน หูแว่ว หรือประสาทหลอนชั่วคราว กระวนกระวาย อยู่ไม่น่ิง วิตกกังวล ชักเกร็งกระตุกท้ังตัว (grandmal seizures) คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 69

 อาการทร่ี ะบจุ ะตอ้ งกอ่ ใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ หรอื ความบกพรอ่ ง อย่างมีนัยสาคัญในด้านการทางาน และไม่ได้เกิดจากสภาวะ ทางอายุรกรรมอื่นๆ หรือความผิดปกติทางจิต รวมถึงการถอนพิษ หรือความมึนเมาจากสารเสพติดอ่ืนๆ นอกจากนี้การถอนพิษยังมีอาการอ่ืนๆ ที่พบบ่อย3-4 เช่น อารมณ์ซึมเศร้า ความเหนอื่ ยลา้ ความหงดุ หงดิ อารมณแ์ ปรปรวน ฝนั รา้ ย ความคดิ สบั สน อาการทางกายอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ผวิ หนงั ชนื้ รมู า่ นตาขยาย ปวดศรี ษะ เบอื่ อาหาร หนา้ ซดี และอาการสน่ั ของรา่ งกาย อาจมีไข้และความสับสนอย่างรุนแรง ในกรณีท่ีรุนแรงอาการอาจแย่ลงอย่างรวดเร็ว5 ด้วยเหตุน้ีจึงควรไปพบแพทย์ แม้ว่าอาการเริ่มแรกจะไม่รุนแรงก็ตาม หากอาการแย่ลง และรุนแรงขึ้นอาจเสียชีวิตได้ ลักษณะทางคลินิกการถอนแอลกอฮอล์ อาการแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ตามความรุนแรงและช่วงเวลาท่ีเกิดอาการ 1. Alcoholic withdrawal syndrome อาการแรกที่พบและบ่อยท่ีสุด ได้แก่ มอื สน่ั อาการตวั สน่ั คลน่ื ไส้ อาเจยี น อารมณห์ งดุ หงดิ อาการเหลา่ นมี้ กั เกดิ หลงั จากหยดุ ดมื่ ไดไ้ มก่ ช่ี วั่ โมง มกั จะพบหลงั ตน่ื นอนในเวลาเชา้ อาการสนั่ เปน็ อาการทเี่ หน็ ไดช้ ดั และจะมากขน้ึ เมื่อมีการเคลื่อนไหว หรือมีความเครียด ถ้าให้เหยียดแขนหรือแลบลิ้น จะยิ่งเห็นชัด อาการอ่ืนๆ ท่ีพบในระยะนี้ ได้แก่ อ่อนเพลีย ครั่นเน้ือคร่ันตัว ปวดศีรษะ วิตกกังวล อารมณซ์ มึ หดหู่ หรอื หงดุ หงดิ นอนหลบั ๆ ตนื่ ๆ มี autonomic hyperactivity เชน่ ชพี จรเตน้ เรว็ เหงอื่ ออกมาก ความดนั โลหติ สงู บางคนอาจมปี ระสาทหลอน ซงึ่ จะมลี กั ษณะ ไม่ชัดเจน และเป็นอยู่ไม่นาน อาการเหล่านี้จะรุนแรงมากสุดในช่วง 24 - 48 ชั่วโมง แลว้ คอ่ ยๆ ลดลงจนปกตภิ ายใน 5 - 7 วนั แตอ่ าจมี อารมณห์ งดุ หงดิ งา่ ย นอนไมค่ อ่ ยหลบั ไดถ้ งึ 10 วนั หรอื นานกวา่ นนั้ และมปี ระมาณ รอ้ ยละ 5 ทจี่ ะพฒั นาเปน็ delirium tremens 70 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

2. Alcohol withdrawal seizure พบว่าร้อยละ 90 เกิดอาการชักในช่วง 7 - 48 ชั่วโมง หลังจากหยุดดื่มสุรา ลักษณะการชักโดยมากจะเป็นชักเกร็งกระตุกทั้งตัว เกิด 2 - 6 คร้ัง ส่วน status epilepticus พบได้น้อย ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ท่ีมีการชัก จะเกิดอาการ delirium tremens ต่อไป และเมื่อเกิดอาการ delirium tremens แล้วพบน้อยมากว่าจะเกิดการชักขึ้นอีก อาการชักหลังหยุดดื่มสุราน้ีไม่ได้เป็นตัวบ่ง ถึงความรุนแรงของการเป็นโรคพิษสุรา 3. Alcohol hallucinosis โดยมากเรมิ่ มอี าการภายใน 48 ชว่ั โมงหลงั จากหยดุ ดมื่ ลักษณะอาการเด่น จะเป็นประสาทหลอนซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเสียงแว่ว (auditory hallucination) เช่น เสียงคนพูดกัน หรือพูดข่มขู่ ผู้ป่วยจะหวาดกลัว ตื่นตระหนก กระสับกระส่าย อาการประสาทหลอนชนิดอ่ืน เช่น ภาพหลอน (visual hallucination) พบไดน้ อ้ ย แยกจากอาการ delirium โดยทผี่ ปู้ ว่ ยไมม่ อี าการเพอ้ งนุ งง สบั สน หรอื หลงลมื โดยทวั่ ไปจะมอี าการอยไู่ มน่ านเปน็ เพยี งชวั่ โมงถงึ หลายวนั ซงึ่ ผปู้ ว่ ยจะคอ่ ยๆ รตู้ วั วา่ เสยี ง ที่ได้ยินนั้นไม่มีจริง มีอยู่ส่วนน้อยที่อาการไม่หายเป็นปกติ ซ่ึงผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีอาการ นานเกินกว่า 6 เดือน ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (suicide) และมักพบโรค ทางจิตเวชอื่นร่วมด้วย คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 71 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

4. Alcohol withdrawal delirium (Delirium Tremens) อาการมกั เกดิ ขนึ้ หลงั จากหยดุ สรุ าได้ 2 - 3 วนั และจะรนุ แรงมากทสี่ ดุ ในวนั ที่ 4 - 5 เกดิ ในผทู้ ดี่ มื่ สรุ าหนกั มา 5 - 15 ปี และมีความเจ็บป่วยทางร่างกายร่วม เช่น อุบัติเหตุ โรคตับ โรคติดเชื้อ ลกั ษณะอาการสา คญั ของ delirium คอื มกั จะเรมิ่ มอี าการชว่ งพลบคา่ หรอื กลางคนื ผปู้ ว่ ย จะสับสน หูแว่ว ประสาทหลอน ระแวง และอาจเห็นหรือรู้สึกว่ามีแมลงมาไต่ตามตัว (tactile hallucination) เดินไปมา อาการเป็นตลอดทั้งคืน อาการจะทุเลาลงในตอนเช้า ตอนพลบค่าจะเริ่มสับสนขึ้นมาอีก ซึ่งเป็นการแกว่งไกวของอาการ (fluctuation) ปกติเป็นนาน 48 - 72 ช่ัวโมง (อาจนานถึง 7 วัน) 72 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ปัจจัยเสี่ยงของภาวะถอนแอลกอฮอล์รุนแรง อาการถอนแอลกอฮอล์จะมีความรุนแรงของอาการถอนไม่เท่ากันในแต่ละราย ซงึ่ ปจั จยั เสยี่ งของอาการถอนแอลกอฮอลร์ นุ แรง6-7 หรอื ภาวะถอนแอลกอฮอลท์ มี่ อี าการเพอ้ คลั่ง และสั่นร่วมด้วย (delirium tremens: DTs) มีดังนี้ 1.อายุมากกว่า60ป2ี-8 2. มปี ระวตั ดิ มื่ แอลกอฮอลป์ รมิ าณมากในแตล่ ะครง้ั โดยดม่ื มากกวา่ 150 กรมั ตอ่ วนั (ประมาณเท่ากับเหล้าขาว มากกว่าคร่ึงขวดต่อวัน) ต่อเนื่องมานาน 3. ด่ืมมานานหลายปี (มากกว่า 5 ปี) 4. เคยมีอาการ DTs มาก่อน9 ความเสี่ยงจะเพิ่มข้ึนเกือบ 4 เท่า 5. เคยมีอาการชักจากถอนแอลกอฮอล์มาก่อน 6. มีอาการถอนแอลกอฮอล์ขณะที่ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดยังสูงอยู่ 7. มปี ญั หาโรคทางกาย เชน่ ตบั อกั เสบ การตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ด10-11 หรอื ไดร้ บั บาดเจ็บร่วมด้วย ความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นประมาณ 5 เท่า 8. การทางานของตับผิดปกติ (AST ในเลือดสูงกว่า 80 หน่วย/ลิตร)5 9. มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสูง แต่ไม่มีอาการเมาแอลกอฮอล์ 10. ใช้ยาเสพติดอ่ืนๆ รวมถึงยากล่อมประสาท หรือยานอนหลับอย่างต่อเนื่อง 11. ความดนั โลหติ ซสิ โตลกิ สงู กวา่ 150 มม.ปรอท12 และ/หรอื อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ สูงกว่า 100 คร้ังต่อนาท9ี หากผตู้ ดิ แอลกอฮอลเ์ รอื้ รงั ตอ้ งการเลกิ แอลกอฮอล์ จา เปน็ ตอ้ งประเมนิ ปจั จยั เสย่ี ง ของภาวะถอนแอลกอฮอล์รุนแรง เพื่อให้การรักษา ป้องกันอาการเพ้อ ชัก และติดตาม อาการถอนพิษแอลกอฮอล์ โดยอาศัยเครื่องมือช่วยในการ ประเมินอาการถอนแอลกอฮอล์ ซึ่งมีการพัฒนาข้ึนมา เพอื่ ชว่ ยในการประเมนิ และตดิ ตามอาการถอนแอลกอฮอล์ เครื่องมือในการประเมินอาการถอนแอลกอฮอล์ที่เป็น ท่ียอมรับและนิยมใช้ ได้แก่ 1. Alcohol Withdrawal Scale (AWS) 7 ข้อ 2. Clinical Institute withdrawal Scale for Alcohol-Revised (CIWA-Ar) 10 ข้อ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 73

เมอื่ เปรยี บเทยี บเนอ้ื หาในแบบทดสอบ พบวา่ AWS นา่ จะเปน็ เครอื่ งมอื ทเี่ หมาะสม กับบริบทประเทศไทยมากกว่า เพราะใช้สะดวกและจานวนข้อน้อยกว่า ควรจะประเมิน อาการถอนแอลกอฮอล์ ตงั้ แตแ่ รกรบั และตอ้ งประเมนิ เปน็ ระยะๆ ตอ่ เนอื่ งในชว่ ง 4 - 5 วนั หลงั ดม่ื ครงั้ สดุ ทา้ ย ซงึ่ คะแนนจากการประเมนิ อาจคลาดเคลอื่ นไดห้ ากมภี าวะแทรกซอ้ น เกดิ ขนึ้ ไมค่ วรยดึ คะแนนจากแบบประเมนิ เพยี งอยา่ งเดยี ว ควรจะอาศยั ลกั ษณะทางคลนิ กิ และการสังเกตอาการอื่นร่วมด้วย โดยมีเกณฑ์การแปลผลประเมินตามคะแนน ดังนี้ AWS 1 – 4 คะแนน 5 – 9 คะแนน 10 – 14 คะแนน มากกว่าหรือ เท่ากับ 15 คะแนน CIWA-Ar 1 – 7 คะแนน 8 – 14 คะแนน 15 – 19 คะแนน มากกว่า หรือเท่ากับ 20 คะแนน การแปลผล มอีาการถอนแอลกอฮอล์ เล็กน้อย มอี าการถอนแอลกอฮอล์ ปานกลาง มอีาการถอนแอลกอฮอล์ รุนแรง มอี าการถอนแอลกอฮอล์ รุนแรงมาก การให้ยา อาจไม่จาเป็นต้องให้ยา การรกั ษาดว้ ยยา ชว่ ยลด โอกาสอาการขาดสรุ าท่ี รุนแรง ตอ้งไดร้บัการรกัษาดว้ยยา และติดตามอาการ อย่างใกล้ชิด ต้องให้การรักษาด้วยยา ขนาดสงู เพอ่ื ทา ใหอ้ าการ สงบอย่างรวดเร็ว 74 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ระดับความรุนแรงของภาวะถอนแอลกอฮอล์ ภาวะถอนแอลกอฮอลส์ ามารถแบง่ ตามระดบั ความรนุ แรงของอาการและผลกระทบ ทางคลินิกออกได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระยะที่ 1 หรือระดับต่า มีอาการเกิดขึ้นหลังจากหยุดด่ืมสุรา 6 - 36 ชั่วโมง ผู้ป่วยมักมีอาการมือส่ัน วติ กกงั วลเลก็ นอ้ ย หงดุ หงดิ ปวดมนึ ศรี ษะ เหงอื่ ออก ใจสนั่ ความดนั โลหติ สงู ขนึ้ เลก็ นอ้ ย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ผะอืดผะอม อาเจียน นอนไม่หลับ สภาพจิตมักเป็นปกติ ระยะท่ี 2 หรือระดับปานกลางถึงรุนแรง มอี าการเกดิ หลงั จากหยดุ ดมื่ 24 - 72 ชวั่ โมง ผปู้ ว่ ยมกั มอี าการ กระสบั กระสา่ ยมากขน้ึ กระวนกระวาย ผุดลุกผุดนั่ง มือส่ันมาก ตัวสั่น เหงื่อออกมาก ไม่อยากอาหาร คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องเสีย ชีพจรเต้นเร็วมากกว่า 120 คร้ังต่อนาที ความดันโลหิตสูงขึ้นมาก ตรวจสภาพจิต พบอาการ สับสน หงุดหงิดง่าย วิตกกังวลมาก ระยะที่ 3 หรือระดับรุนแรงมากถึงขั้นเพ้อคล่ังสั่นหรือ DTs อาจเกดิ ขนึ้ ไดถ้ งึ รอ้ ยละ 5 ของผปู้ ว่ ย มอี าการเกดิ หลงั จากหยดุ ดมื่ 48 - 96 ชวั่ โมง ไดแ้ ก่ อาการกระสบั กระสา่ ยมาก อยไู่ มน่ ง่ิ เดนิ ไปมา มอื สนั่ ตวั สน่ั มาก ไมร่ วู้ นั เวลา สถานที่ ไมม่ สี มาธิ เหงอื่ ออกมาก ไขส้ งู ชพี จรเรว็ เหน็ ภาพหลอน หแู วว่ หลงผดิ หวาดระแวง กลวั มาก การรักษาอาการถอนแอลกอฮอล์สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้ ในกรณี ที่มีอาการถอนแอลกอฮอล์ระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการชักหรือ เกิดอาการสับสน โดยเน้นการประเมินอาการถอนแอลกอฮอล์เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง อาจให้ยากลุ่ม Benzodiazepine (การให้ยาตามภาคผนวก 4) และส่งเสริมให้ผู้ป่วย เข้าร่วมกิจกรรมสร้างแรงจูงใจ การบาบัดแบบสั้นและให้กลุ่มสนับสนุนทางสังคม คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 75 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ข้อบ่งชี้การรักษาแบบผู้ป่วยนอก ในการรักษาภาวะถอนแอลกอฮอล์แบบผู้ป่วยนอกนั้นผู้ป่วยต้องมีความเข้าใจ ในอาการ และการปฏบิ ตั ติ วั ในระดบั หนงึ่ และญาตหิ รอื ผดู้ แู ลตอ้ งมคี วามเขา้ ใจวา่ จะดแู ล ผู้ป่วยอย่างไร ติดตามอาการอย่างไรด้วย โดยมีข้อบ่งชี้ดังนี้ 1. มีอาการถอนแอลกอฮอล์ระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง13-15 2. สามารถรับประทานยาได้ มีญาติสนิทหรือคนในครอบครัวดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถติดตามอาการขาดสุราได้ 3. สามารถมาพบแพทย์ตามนัดได้บ่อยๆ 4. ไม่มีภาวะโรคทางจิตเวช (เช่น ความคิดฆ่าตัวตาย โรคจิตเภทรุนแรง) และ โรคทางกายรุนแรงหรือยังไม่คงที่ 5. ไม่มีปัญหาการใช้ยา และสารเสพติดชนิดอื่นร่วมด้วย จนอาจมีอาการ ขาดสารเสพติดนั้น เช่น ยานอนหลับ 6. ไม่มีประวัติอาการถอนแอลกอฮอล์รุนแรงแบบเพ้อสับสน (DTs) หรือชัก (rum fit) มาก่อน 7. อายุน้อยกว่า 60 ปี 8. ไม่มีหลักฐานแสดงถึงอวัยวะในร่างกายถูกทาลายจากพิษสุราเช่นelevated MCV, renal insufficiency, Ascites, cirrhosis เป็นต้น 9. ความมุ่งมั่นของผู้ป่วยในการติดตามผลบ่อยครั้ง กรณผี ปู้ ว่ ยทมี่ ปี จั จยั เสยี่ งถอนแอลกอฮอลร์ นุ แรง แตย่ งั ไมม่ อี าการถอนแอลกอฮอล์ หรอื มอี าการนอ้ ย สามารถปอ้ งกนั การเกดิ อาการถอนรนุ แรง (delirium tremens: DTs) โดยรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล ตรวจรา่ งกายอยา่ งละเอยี ด คน้ หาภาวะแทรกซอ้ นทงั้ โรคทางกาย และทางจติ รวมถงึ ความเสยี่ งตอ่ การทา รา้ ยตนเองหรอื ผอู้ น่ื การดแู ลแบบประคบั ประคอง เป็นสิ่งจาเป็นและต้องทา คือให้ผู้ป่วยอยู่ในสิ่งแวดล้อม ทสี่ งบ ลดสงิ่ กระตนุ้ เรา้ แสงสวา่ งเหมาะสม ปลอดภยั มีอุปกรณ์ผูกมัดชั่วคราวใช้เมื่อจาเป็น ให้สารน้าและ เกลือแร่อาหารเสรมิวติามนิ และมกีารสรา้งแรงจงูใจ ให้ผู้ป่วยเพื่อการรักษาต่อเนื่อง หยุดดื่มแอลกอฮอล์ ไดใ้ นระยะยาว และตอ้ งใหค้ า แนะนา พรอ้ มทง้ั ใหก้ า ลงั ใจญาติ 76 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ข้อบ่งช้ีการรักษาแบบผู้ป่วยใน 1. มีโรคทางกายหรือโรคทางจิตเวชที่ต้องการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด 2. เริ่มมีอาการถอนแอลกอฮอล์หรือคาดว่าจะมีอาการถอนแอลกอฮอล์ระดับ ปานกลางถึงรุนแรง โดยประเมินจากการสังเกตประวัติในอดีตและการใช้แบบประเมิน 3. ไข้ต่อเนื่องสูงกว่า 39 °C 4. เพ้อ อาการชักกาเริบ 5. ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตอย่างรุนแรงหรือความดันเลือดต่า อย่างมีนัยสาคัญ 6. หลักฐานของภาวะแทรกซ้อนที่มีนัยสาคัญเกี่ยวกับแอลกอฮอล์ เช่น ตับอักเสบรุนแรง ตับอ่อนอักเสบ เลือดออกในทางเดินอาหาร (rhabdomyolysis) 7. เคยมีอาการแทรกซ้อนจากภาวะถอนแอลกอฮอล์มาก่อน ประวัติการถอน แอลกอฮอล์ที่ซับซ้อนหรือการถอนอย่างรุนแรง 8. ผู้ป่วยสงสัยภาวะ Wernicke encephalopathy 9. มีการติดยาหรือสารเสพติดร่วมด้วยและมีอาการขาดยา 10. เคยรักษาแบบผู้ป่วยนอกแล้วไม่ได้ผล 11. ขาด social support หรือสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสาหรับการดูแล แบบผู้ป่วยนอก 12. กรณีอ่ืนๆ อยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ หากผปู้ ว่ ยเกดิ ภาวะถอนพษิ แอลกอฮอลร์ นุ แรงควรรบี สง่ ตอ่ โรงพยาบาลเฉพาะทาง เพ่ือให้การรักษาอย่างทันท่วงที โดยการช่วยเหลืออาการถอนแอลกอฮอล์เบื้องต้นก่อน การส่งต่อควรให้การดูแลรักษา ดังนี้ 1. ตรวจรา่ งกาย ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพนื้ ฐาน เชน่ DTX และใหก้ ารชว่ ยเหลอื เบื้องต้น ให้สารน้ารักษาสัญญาณชีพให้ปลอดภัย 2. ประเมินความเส่ียงต่อการฆ่าตัวตายหรือเป็นอันตรายต่อตนเอง หรือผู้อ่ืน 3. จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบปลอดภัย มีแสงสว่างเพียงพอเหมาะสม และไม่มีเสียงกระตุ้นจากภายนอก คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 77 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

4. ควรมอี ปุ กรณผ์ กู มดั ชวั่ คราว โดยทว่ั ไปควรหลกี เลยี่ งการผกู มดั แตอ่ าจจา เปน็ ต้องใช้ เพื่อป้องกันอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้น เช่น ตกเตียง 5. ใหผ้ อ่ นคลายกลา้ มเนอ้ื โดยการหายใจเขา้ – ออกลกึ ๆ เพอื่ ลดอาการคลนื่ ไสอ้ าเจยี น 6. ให้พักผ่อนนอนหลับ และเปล่ียนอิริยาบถ เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลายและสบายตัว 7. เก็บสิ่งของที่อาจมีอันตราย เช่น มีด เชือก ของมีคม ให้ไกลจากผู้มีอาการ ขาดสรุ า เพราะผทู้ มี่ อี าการขาดสรุ าไมส่ ามารถควบคมุ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของตนเองได้ 8. ให้ยาที่จาเป็น เช่น Benzodiazepine ทางหลอดเลือดเพื่อให้ผู้ป่วยสงบ 9. ใหค้ า แนะนา และใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั อาการและการดา เนนิ โรคของผปู้ ว่ ยแกญ่ าติ เปา้ หมายของการรกั ษาการถอนแอลกอฮอลน์ นั้ เหมอื นกนั ไมว่ า่ จะเปน็ การรกั ษา แบบผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน คือ การรักษาที่ให้ยาอยู่ในระดับต่าที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนใดๆ ท่ีเกิดจากการถอนแอลกอฮอล์ และเมื่อพ้นระยะ ถอนแอลกอฮอล์แล้ว ควรให้การบาบัดทางสังคมและจิตบาบัดเพ่ือนาไปสู่การเลิกสุรา โดยใหค้ า แนะนา การปอ้ งกนั การกลบั ไปดม่ื ซา้ การจดั การกบั ความเครยี ด รกั ษาโรครว่ ม ท้ังทางกายและจิตเวช มีการบาบัดฟื้นฟูสมรรถภาพและติดตามระยะยาว ครอบครัว กลุ่มเพ่ือนและชุมชนควรให้การสนับสนุนเพื่อการฟื้นตัวและกลับไปใช้ชีวิต โดยปลอด เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ได้อย่างยั่งยืน 78 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 79 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) การเฝ‡าระวัง และส‹งต‹อ ผมŒู อี าการถอน แอลกอฮอล ป˜จจัยเส่ียงของภาวะถอนแอลกอฮอลรุนแรง อาการถอนแอลกอฮอล 7 89 มีปญหาโรคทางกาย เชน ตับอักเสบ การติดเช้ือในกระแสเลือด การทํางานของตับผิดปกติ มีระดับแอลกอฮอลในเลือดสูงแตไมมีอาการเมาแอลกอฮอล กระวนกระวาย อยูไมน่ิง ประสาทหลอน สับสน หูแวว ชักเกร็ง กระตุก ชีพจรเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง เหงื่อออกมา มือส่ัน ตัวส่ัน คลื่นไส อาเจียน เกิดขึ้นภายใน 2-72 ช่ัวโมง หลังจากหยุดดื่ม 10 ใชย าเสพตดิ อน่ื ๆ รวมถงึ ยากลอ มประสาทหรอื ยานอนหลบั อยา งตอ เนอ่ื ง 11 ความดันโลหิตซิสโตลิกสูงกวา 150 มม.ปรอท 12 อัตราการเตนของหัวใจสูงกวา 100 ครั้งตอนาที ระดับความรุนแรง การส‹งต‹อ มอี าการถอนแอลกอฮอล ระดบั ตํา่ เลก็ นอŒ ย ระยะที่ 1 หรอระดับต่ํา ระยะที่ 2 หรอระดับปานกลาง ระยะที่ 3 หรอระดับรุนแรงมาก เกิดข้นหลังจาก หยุดดื่มสุรา 6-36 ชั่วโมง เกิดหลังจาก หยุดด่ืม 24-72 ช่ัวโมง เกิดหลังจาก หยุดดื่ม 48-96 ชั่วโมง ประสาน รพช. /รพท. /รพศ. เขารับการรักษา มือส่ัน ปวดมึนศีรษะ เหงื่อออก ใจสั่น ความดันโลหิตสูงขึ้น เล็กนอย คลื่นไส อาเจียน นอนไมหลับ กระวนกระวาย มือส่ันมาก ตัวสั่น เหงื่อออกมา คล่ืนไส อาเจียน ทองเสีย ชีพจรเตนเร็วมากกวา 120 คร้ังตอนาที ความดันโลหิตสูงขึ้นมาก สับสน หงุดหงิดงาย วิตกกังวลมาก กระสับกระสายมาก อยูไมนิ่ง เดินไปมา มือส่ัน ตัวสั่นมาก ไมรูวัน เวลา สถานท่ี ไมมีสมาธิ เหงื่อออกมาก ไขสูง ชีพจรเร็ว เห็นภาพหลอน หูแวว หลงผิด หวาดระแวง กลัวมาก มีอาการถอนแอลกอฮอล รุนแรง 1 2 อายุมากกวา 60 ป ดื่มปริมาณมากกวาครึ่งขวดตอวัน ตอเนื่องมานาน ด่ืมมากกวา 5 ป เคยมีอาการขาดสุรารุนแรงแบบเพอสับสน เคยมีอาการชักจากถอนแอลกอฮอล 34 5 6 มีอาการถอนแอลกอฮอลขณะที่ระดับแอลกอฮอลในเลือดยังสูงอยู รีบสงเขารับการรักษาใน รพ. ท่ีมีศักยภาพรักษา การถอนแอลกอฮอล

เอกสารอ้างอิง 1. องั กรู ภทั รากร, ธญรช ทพิ ยวงษ,์ อภชิ าติ เรณวู ฒั นานนท,์ พชั รี รตั นแสง, วมิ ล ลกั ขณาภชิ นชชั . แ น ว ป ฏ บิ ตั กิ า ร ด แู ล ผ ป้ ู ว่ ย ภ า ว ะ ข า ด ส รุ า ส า ห ร บั ท มี ส ห ว ชิ า ช พี . ป ท มุ ธ า น : ี ส ถ า บ นั บ า บ ดั ร กั ษ า และฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี; 2558. 2. American Psychiatric Association. Alcohol withdrawal. In: Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders. 5th ed. Washington, D.C.: American Psychiatric Association; 2013. p. 449-501. 3. DugaleDC.Alcoholwithdrawal\[Internet\].2013\[cited2021Jan21\].Availablefrom: http://www.nim.nih.gov/ medlineplus/ency/article/000764.html 4. Medina J. DSM-5 alcohol withdrawal symptoms \[Internet\]. 2014 \[cited 2021 Jan 21\]. Available from: http://www.psychcentral.com/disorders/alcohol-withdrawal/ 5. Karriem-NorwoodV.Alcoholwithdrawal\[Internet\].2013\[cited2021Jan21\]. Available from:http://www.webmd.com/mental-health/addiction/alcohol-with- drawal-symptoms-treatment 6. FergusonJASC,EckertGJ,ZhouXH,DittusRS.Riskfactorsfordeliriumtremens development. J Gen Intern Med. 1996;11(7):410-4. 7. FiellinDAOCP,HolmboeES,HorwitzRi.Riskfordeliriumtremensinpatients with alcohol withdrawal syndrome. Subst Abus. 2002;23(2):83-94. 8. FriedmannPD.Alcoholuseinadults.NEnglJMed.2013;368(17):1655-6. 9. Lee JH JM, Lee JY, Kim SM, Kim HY, Yoo JY. Clinical predictors for delirium tremens dependence. J Gastroenterol Hepatol. 2005;20(12):1833-7. 10. Eyer F, et al. Risk assessment of moderate to severe alcohol withdrawal-- predictors for seizures and delirium tremens in the course of withdrawal. Alcohol Alcohol. 2011;46(4):427-33. 80 คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการด่ื่ืมเคร่่ืืองดื่ื่มแอลกอฮอล์์ สําําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําําาบล (รพ.สต.)

11. Carlson RW, et al. Alcohol withdrawal syndrome. Crit Care Clin. 2012;28(4):549-85. 12. Schuckit MA. Recognition and management of withdrawal delirium (delirium tremens). N Engl J Med. 2014;371(22):2109-13. 13. Muncie HL Jr, et al. Outpatient management of alcohol withdrawal syndrome. Am Fam Physician. 2013;88(9):589-95. 14. Long D, et al. The emergency medicine management of severe alcohol withdrawal. Am J Emerg Med. 2017;35(7):1005-11. 15. Stephens JR, et al: Who needs inpatient detox? Development and implementation of a hospitalist protocol for the evaluation of patients for alcohol detoxification. J Gen Intern Med. 2014;29(4):587-93. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการดื่่ืมเคร่ื่ืองดื่่ืมแอลกอฮอล์์ 81 สําําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําําาบล (รพ.สต.)

82 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ในชุมชน คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 83 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

บทที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มะลิ ไพฑูรย์เนรมิต สุภัชญา ยศประกอบ สุราหรือเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์จัดเป็นสิ่งเสพติด หากดื่มเข้าไปนอกจากไม่มี ประโยชน์ต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลเสียและอันตรายในหลายๆ ด้าน ท่ีสาคัญ คือ ขาดสติ ยับยั้งชั่งใจ และหากดื่มเป็นประจาจะทาให้เกิดโรคเก่ียวกับสุราตามมาอีกมาก ความไม่ สงบสขุ ในครอบครวั กวา่ ครงึ่ มสี าเหตมุ าจากสามี ภรรยา หรอื บตุ รเปน็ คนขเี้ มา ครอบครวั เปน็ พนื้ ฐานทส่ี า คญั ทสี่ ดุ ของสงั คม ดงั นนั้ หากครอบครวั ตอ้ งถกู ทา รา้ ยดว้ ยเหลา้ ถงึ เวลา แล้วที่เราทุกคนต้องร่วมมือ ช่วยกันปรับพฤติกรรมโดยการลด เลิกการด่ืมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ เพื่อสุขภาพและความสงบสุขของตนเอง ครอบครัว และสังคม 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็น พฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหรืออุบัติเหตุ มีหลายปัจจัยทั้งภายในตัวเอง (ปัจจัยนา) และ ปัจจัยภายนอก (ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริม) ที่มี อิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ ทาให้มีผู้ดื่มหน้าใหม่เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ มีดังนี้ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 84 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ปัจจัยนา มีค่านิยมและมีความเช่ือต่อการด่ืมท่ีผิดโดยเชื่อว่า เมื่อด่ืมแล้วทาให้ ช่วยแก้ปัญหา และคลายทุกข์ได้ 1 2 ความอยากทดลองด่ืม ปัจจัยเอื้อ 1 มีแหล่งจาหน่ายหรือหาซื้อมาด่ืมได้ง่าย 2 3 กลุ่มเพื่อนชักชวนให้ดื่ม ต้องการให้เป็นที่ยอมรับ มีสถานท่ีนั่งด่ืมท่ีเข้าถึงได้ง่าย อยู่ในครอบครัวที่ด่ืมสุรา หรือเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ เป็นแบบอย่าง 4 5 สื่อโฆษณาเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเสริม 1 มาตรการ กฎ ระเบียบ 2 ธรรมนูญสุขภาพ 3 นโยบายสาธารณะ สาหรับสาเหตุหลักของการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ มี 3 สาเหตุ คือ 1) เพื่อเข้า สังคมหรือการสังสรรค์ 2) ตามอย่างเพ่ือนหรือเพื่อนชวนดื่ม 3) อยากทดลองดื่ม และ เหตผุ ลสา คญั ทที่ า ใหผ้ ดู้ ม่ื ไมค่ ดิ จะเลกิ ดมื่ กค็ อื ตอ้ งเขา้ สงั คม สงั สรรค์ และดมื่ เพอื่ สขุ ภาพ โดยคดิ วา่ ดม่ื เพยี งเลก็ นอ้ ยไมเ่ ปน็ ไร สว่ นเหตผุ ลเกยี่ วกบั สขุ ภาพจติ คอื เพอ่ื ความสนกุ สนาน คลายเครียด คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 85 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

2. ความสาคัญของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน จากภาวะทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรมทเี่ ขา้ มามบี ทบาทในสงั คมไทยทา ให้ ประชาชนมพี ฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลไ์ ดง้ า่ ย เนอื่ งจากอาศยั อยเู่ ปน็ กลมุ่ กอ่ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมเอาอย่าง การขาดกิจกรรมทางเลือก เพื่อใช้ในการผ่อนคลาย จากสภาพ เศรษฐกจิ สงั คมทรี่ ดั ตวั รวมถงึ มที ศั นคตใิ นเชงิ บวกตอ่ การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ สงิ่ ตา่ งๆ เหลา่ นที้ า ใหเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพและปญั หาอนื่ ๆ ทงั้ ทสี่ ามารถปอ้ งกนั ได้ เปน็ ภาระคา่ ใชจ้ า่ ย ที่เพิ่มมากข้ึนในครอบครัวและภาครัฐ ผลพวงจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยัง ทาให้ผู้ดื่มขาดสติสัมปชัญญะ ทะเลาะวิวาท การทางานบกพร่อง ทาให้ตนเองครอบครัว และสังคมเดือดร้อน การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีความ สาคัญและจาเป็นที่หลายๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ควรให้ความสนใจ ตระหนัก และให้ความ ร่วมมือในการลด เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในครอบครัวหรือชุมชน เพื่อสุขภาพ ที่ดีของบุคคล ตลอดจนสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับครอบครัว ชุมชนและสังคม การแกไ้ ขปญั หาสาธารณสขุ จา เปน็ ตอ้ งใชพ้ ฤตกิ รรมสขุ ภาพทเี่ หมาะสมของบคุ คล ต่างๆ ซ่ึงจะทาให้บุคคลในครอบครัว และชุมชนมีสุขภาวะท่ีดีไม่เจ็บป่วย บาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิตด้วยโรคต่างๆ ที่สามารถป้องกันได้ พฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์ หมายถงึ พฤตกิ รรมทบี่ คุ คลปฏบิ ตั แิ ลว้ สง่ ผลดตี อ่ สขุ ภาพ ของบคุ คลนนั้ ๆ เอง สามารถจา แนกพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคก์ บั การดมื่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ ตามกลุ่มเป้าหมายได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มไม่ด่ืม ได้แก่: การหลีกเลี่ยงการทดลองดื่ม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มด่ืม ได้แก่: การลด เลิกการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ และไม่กลับไปดื่มอีก 86 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ตัวช้ีวัดและเกณฑ์การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ที่พึงประสงค์ เกณฑพ์ ฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลท์ กี่ า หนดไวจ้ ะใชเ้ ปน็ เกณฑม์ าตรฐาน สาหรับเทียบค่าคะแนน กับผลการประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จะทาให้ผู้ท่ีทาการประเมินสามารถแปลผล และจาแนกระดับการปฏิบัติพฤติกรรมได้ว่า มีพฤติกรรมการไม่ดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มากน้อยเพียงใด1 พฤติกรรม สุขภาพ ตัวชี้วัด (คุณลักษณะ ของพฤติกรรมที่ พึงประสงค์) เกณฑ์การปฏิบัติ ตามตัวชี้วัด อธิบายเกณฑ์ ไม่ดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ในกลุ่มไม่ดื่ม หลีกเลี่ยงการ ทดลองดื่ม ไม่ทดลองดื่มและ ปฏิเสธการดื่มทุก ครั้งเมื่อถูกชักชวน หมายถึง ไม่ทดลองดื่มและ ปฏิเสธการดื่มทุกครั้ง เมื่อ ถูกชักชวนในทุกกรณีเป็น เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปตี ดิ ตอ่ กนั ในกลุ่มดื่มประจําา หรือกลุ่มดื่มเป็น ครั้งคราว ลดและเลิกการดื่ม มีเกณฑ์พฤติกรรม ขั้นพื้นฐาน 3 ตัว ดังนี้ 1. ลดปรมิ าณการดม่ื หมายถึง ลดจานวนแก้ว/ หรือหน่วยภาชนะในการดื่ม แต่ละครั้ง คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 87 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

พฤติกรรม สุขภาพ ตัวชี้วัด (คุณลักษณะ ของพฤติกรรมที่ พึงประสงค์) เกณฑ์การปฏิบัติ ตามตัวชี้วัด อธิบายเกณฑ์ 2. ลดความถี่ หมายถึง ลดจานวนครั้งใน การดื่ม 1. จากทุกวันเป็น 5 - 6 วัน ในสัปดาห์ 2. จาก 5 - 6วันในสัปดาห์ เป็น ไม่ดื่มในบางสัปดาห์ 3. ดื่มเฉพาะโอกาสสาคัญใน รอบปี 3. เลิกการดื่ม หมายถึง เลิก หรือไม่ดื่มและ ปฏิเสธการดื่มทุกครั้งเมื่อถูก ชักชวนในทุกกรณีเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 1 ปีติดต่อกัน 88 กลุ่มดื่มประจําา คือ ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจา ในทุกรอบสัปดาห์ ได้แก่ ดื่ม 1 - 2 วัน, ดื่ม 3 - 4 วัน, ดื่ม 5 - 6 วัน และดื่มทุกวัน กลุ่มดื่มเป็นครั้งคราว คือ ไม่ดื่มประจาในทุกรอบสัปดาห์ หรือดื่มเฉพาะตามโอกาสสาคัญ เช่น เทศกาลต่างๆ และวันสาคัญของตนเอง และครอบครัว คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ท้ังน้ี หากประชาชนหรือชุมชนสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ตาม เกณฑ์พฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามเป้าหมายที่ต้องการ ได้เป็นผลสาเร็จ จึงจะถือว่าเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมลดการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ตามเป้าหมาย ที่ต้องการหรือมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีแนวโน้มไปสู่การเลิกดื่มได้ 3. กระบวนการ/ข้ันตอนการปรับเปล่ียนพฤติกรรม การดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ข้ันตอนท่ี กลุ่มแกนนาและประชาชนในชุมชนท้ังหมด ต้องมาพูดคุยวิเคราะห์ เพื่อหา บทสรุปของชุมชน และจาเป็นจะต้องมีการวิเคราะห์ 3 ส่วน คือ 1. วิเคราะห์ปัญหาโรคและความเจ็บป่วยของประชาชนในชุมชน 2. วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 3. วิเคราะห์บริบทของชุมชนและเง่ือนไขการจัดการปัญหาสุขภาพที่เป็นปัจจัย สาเหตุของพฤติกรรมเสี่ยงต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ชุมชนสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดความเส่ียง รวมถึงเงื่อนไขและปัจจัยในการจัดการปัญหาการดื่ม ทาให้เห็นถึงข้อมูลปัจจัยแวดล้อม ที่มีผลต่อพฤติกรรมการด่ืม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการทจี่ ะนา มาเปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนจดั กจิ กรรม ลดเลิกการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สาหรับปัจจัย แวดลอ้ มเชงิ ลบจะเปน็ ขอ้ มลู สา คญั ทตี่ อ้ งมกี ารบรหิ าร จัดการหรือวางแผนจัดกิจกรรม เพื่อเปลี่ยนปัจจัย เชิงลบให้เป็นเชิงบวกต่อไป คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การวิเคราะห์ปัญหาและเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 89

ขั้นตอนที่ การวางแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การวางแผนงานเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการนา ความคดิ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ควรใหส้ อดคลอ้ ง กับแผนงานสุขภาพของชุมชน โดยนาผลการวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยของ พฤติกรรมเสี่ยง มาประกอบการวางแผนและจัดทาแผนหรือโครงการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมลดเลิกการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ดังนี้ 1. ตงั้ เปา้ หมายในการลดเลกิ พฤตกิ รรมดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลข์ องบคุ คลหรอื สมาชิกกลุ่ม ตามเกณฑ์ ดังน้ี 1) ไม่ทดลองด่ืม และปฏิเสธการด่ืมทุกครั้งเม่ือถูกชักชวน 2) ลดปริมาณการดื่ม 3) ลดความถี่ 4) เลิกการด่ืม 2. กาหนดกลุ่มเป้าหมายลด และเลิกดื่มสุราในชุมชน ได้แก่ 1) กลุ่มไม่ดื่มสุรา 2) กลุ่มด่ืมเป็นครั้งคราว 3) กลุ่มดื่มประจา 3. กาหนดวิธีการหรือกิจกรรมการลดเลิก พฤติกรรมการด่ืมของบุคคล หรือสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย ทงั้ 3 กลมุ่ ดงั กลา่ ว โดยวธิ กี ารตา่ งๆ ตามบรบิ ทของชมุ ชน ขั้นตอนที่ การดา เนนิ งานปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพตามแผนหรอื โครงการ จา เปน็ ตอ้ งใช้ วิธีการ กิจกรรม และรูปแบบการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ หลากหลายและสอดคล้องกับ บรบิ ทของชมุ ชน ซงึ่ มเี งอื่ นไขตา่ งๆ ทง้ั ทเี่ ปน็ ปจั จยั ภายในและปจั จยั ภายนอก แตท่ สี่ า คญั การปฏิบัติการลด เลิกดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในพื้นที่ 90 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

คอื กลมุ่ เปา้ หมายนนั้ จะตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการปรบั พฤตกิ รรมดว้ ยตนเอง การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ จะตอ้ งมคี วามครอบคลมุ กบั กลมุ่ เปา้ หมาย มคี วามตอ่ เนอื่ งยงั่ ยนื เปน็ ระบบมมี าตรฐาน และ มกี ารบรู ณาการในทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลลพั ธต์ ามทตี่ อ้ งการ โดยมขี นั้ ตอนทสี่ า คญั ดงั นี้ 1. ชุมชนจัดต้ังทีม และแบ่งบทบาทหน้าท่ีรับผิดชอบ ได้แก่ คาสั่งแต่งตั้งคณะ ทา งานลด/เลกิ ดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และผงั ความรบั ผดิ ชอบตดิ ไวใ้ หเ้ หน็ ไดใ้ นทชี่ ดั เจน 2. ชุมชนร่วมแสดงความคิดเห็นในเวทีต่างๆ เช่น เวทีประชาคม เวทีแลกเปล่ียน เรียนรู้ เวทีสรุปบทเรียน ร่วมวางแผนจัดระบบการทางานและวิเคราะห์ปัญหา แนวทาง แก้ไข รวมถึงร่วมจัดทาแผนงานโครงการลดเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และวิถีชุมชน โดยใช้ ข้อมูลสภาพปัญหาของชุมชนตนเอง 3. ชุมชนเป็นตัวขับเคลื่อนการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในการลดเลิกการดื่มเคร่ือง ดม่ื แอลกอฮอลข์ องกลมุ่ เสยี่ งตา่ งๆ (กลมุ่ ไมด่ มื่ สรุ า กลมุ่ ดมื่ เปน็ ครง้ั คราว และกลมุ่ ดม่ื เปน็ ประจา ) ในแผนงานโครงการ กา หนดเปา้ หมายและวธิ ปี ฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ของกลมุ่ (กฎ/กตกิ า) เลอื กทมี แกนนา จากสมาชกิ กลมุ่ เพอื่ เปน็ ผบู้ รหิ ารจดั การกลมุ่ ใหม้ กี ารดา เนนิ การกจิ กรรม อย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ โดยใช้ความรู้ท่ีมีอยู่แล้วในชุมชน และความรู้หรือ เทคโนโลยีใหม่ๆ จากภายนอกชุมชน โดยประสานงานกับหน่วยงาน และองค์กร ทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมถงึ สรา้ งเครอื ขา่ ยเพอื่ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ รวมถงึ จดั ใหม้ กี ารศกึ ษาดงู าน เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านสุขภาพ ตัวอย่างกิจกรรมเพื่อการลดเลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในแผนงานโครงการ อาทิ 3.1 จัดกิจกรรมให้ความรู้โทษภัยและโรคที่เกิดจากเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ โดยประสานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเป็นวิทยากร 3.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และฝึกทักษะเพื่อการลดเลิกการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น การเข้าค่าย เลกิ สรุ าอบรมวธิ กี ารดแู ลตนเองฝกึ ทกั ษะ การปฏิเสธ การทากลุ่มช่วยเหลือกัน ควรจัดกิจกรรมต่อเนื่องในวันสาคัญๆ คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 91

โอกาสพเิ ศษหรอื เทศกาลตา่ งๆ ทมี่ ปี ระชาชนมารวมตวั กนั ซงึ่ เปน็ โอกาสดที จี่ ะไดเ้ ผยแพร่ ประชาสมั พนั ธเ์ รอื่ งราวเกยี่ วกบั สขุ ภาพ ซง่ึ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ สามารถทจี่ ะจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ เพื่อให้ความรู้ในเรื่องโทษ และการลด เลิกสุราได้ เป็นต้น 3.3 จดั กจิ กรรมรณรงคก์ ารเลกิ เหลา้ ในชว่ งเทศกาลสา คญั เปน็ ประจา สม่าเสมอ และต่อเนื่องย่ังยืน เช่น โครงการงดเหล้าเข้าพรรษาเป็นประจาทุกปีหรือตามโอกาส พเิ ศษทสี่ า คญั ตามทหี่ นว่ ยงานของรฐั จดั ขน้ึ หรอื งานประเพณที กี่ ลมุ่ หรอื ชมุ ชนจดั ขนึ้ เปน็ ตน้ 4. ชุมชนพัฒนามาตรการทางสังคมและปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลด/เลิก พฤตกิ รรมการดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลข์ องบคุ คล หรอื สมาชกิ กลมุ่ ชมุ ชน ตวั อยา่ ง มาตรการ ควบคมุ ระเบยี บแนวปฏบิ ตั ขิ องชมุ ชนทชี่ มุ ชนสามารถกา หนดไดด้ ว้ ยตนเอง อาจประกอบ ดว้ ยการ มปี า้ ยบอกหา้ มดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นงานศพ งานบญุ ตา่ งๆ การขอความรว่ มมอื ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานประกอบการและสถานที่สาธารณะทุกแห่ง หา้ มใหม้ เี ดนิ แจกเหลา้ ทา ใหแ้ ขกทมี่ ารว่ มงานไมก่ ลา้ ทจ่ี ะรนิ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลด์ มื่ เอง และให้เลิกงานเลี้ยงไม่เกิน 4 ทุ่ม ห้ามจาหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานบุญ ห้ามด่ืม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัด ขอความร่วมมือร้านค้าจาหน่ายสุราไม่เกิน 1 ทุ่ม รวมถึง หา้ มมใิ หด้ มื่ หรอื ตง้ั วงดมื่ สรุ าหรอื เครอื่ งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอลใ์ นครอบครวั ทม่ี เี ดก็ อายตุ า่ กวา่ 15 ปี ในปกครอง หากทา ผดิ กตกิ าอาจไดร้ บั การปฏเิ สธหรอื รดิ รอนสทิ ธบิ างอยา่ งจากกลมุ่ หรือชุมชน เป็นต้น 5 . ช มุ ช น ป ร ะ ส า น ก า ร ส ง่ เ ส ร มิ แ ล ะ ส น บั ส น นุ ข อ ง บ คุ ค ล ก ล ม่ ุ แ ล ะ เ ค ร อื ข า่ ย ท เี ่ ก ยี ่ ว ข อ้ ง 5.1 การขอรับการสนับสนุนทางวิชาการจากเจ้าหน้าที่ภาครัฐในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และปราชญ์ชาวบ้านหรือบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่น เพ่ือให้เรียนรู้ เข้าใจรวมถึงให้ความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด เลิกการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ท่ีถูกต้องและเหมาะสม 5.2 การขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณทรพั ยากรจากอบต.เทศบาลเอกชน 6. ชุมชนมีการสื่อสารหรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความรู้อย่างสม่าเสมอในเรื่อง ความสา คญั ของปญั หาการดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ วตั ถปุ ระสงคข์ องการดา เนนิ กจิ กรรม รวมถงึ กจิ กรรมทต่ี อ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ในการลด/เลกิ ดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นชมุ ชน ทั้งระยะก่อน กลาง และส้ินสุดการดาเนินงานโครงการ ดังนี้ 6.1 การสรา้ งโอกาสพบปะ และพดู คยุ เรอ่ื งสขุ ภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ การโนม้ นา้ วใจ พดู ดว้ ยเหตผุ ล ชกั ชวนใหล้ งมอื ทา การทา ตวั ใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี การพาไปดแู บบอยา่ งทด่ี ี รวมถึงการเชิญผู้รู้มาแนะนา 92 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

6.2 การพูดหรือให้ข้อมูลข่าวสารในที่ชุมชน 6.3 จัดกลุ่มสนทนาเป็นการเชื้อเชิญประชาชนในชุมชนมาพูดคุยแสดงความ คดิ เหน็ โดยมผี ใู้ หข้ า่ วสารเปน็ ผถู้ ามคา ถาม โดยใหป้ ระชาชนเปน็ ตวั ของตวั เอง พรอ้ มและ เต็มใจพูดคุย 6.4 ประชุมกลุ่ม 6.5 เวทปี ระชาคมเปน็ การประชมุ ทจี่ ดั การกบั เรอื่ งสาธารณะเพอื่ ทจ่ี ะจดั การ เรอื่ งตา่ งๆ ดว้ ยกนั เปน็ กลมุ่ เปน็ ทมี หรอื เปน็ ชมุ ชน ไมต่ อ้ งมปี ระธานหรอื ผนู้ า ทเ่ี ปน็ ทางการ 6.6 ป้ายประชาสัมพันธ์ 6.7 มุมความรู้ 6.8 หอกระจายข่าว จะต้องจัดให้สอดคล้องกับกลุ่มผู้ฟังในชุมชน โดยมีการ กาหนดผังรายการล่วงหน้า และออกอากาศในเวลาที่เหมาะสมกับการรับฟัง 6.9 วทิ ยชุ มุ ชน เปน็ การนา เรอื่ งราวทค่ี นในชมุ ชนพดู ถงึ เกยี่ วกบั ปญั หาสขุ ภาพ การดมื่ สรุ า หรอื กจิ กรรมการลด เลกิ ดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลข์ องคนในชมุ ชนใหช้ มุ ชนฟงั 6.10 รณรงค์และจัดกิจกรรมในชุมชน เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความ ตนื่ ตวั ในเรอ่ื งการลด เลกิ ดมื่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ ซงึ่ อาจมกี ารจดั กจิ กรรมขนึ้ ภายในชมุ ชน หลายอยา่ ง เชน่ การจดั ปา้ ยตา่ งๆ ตดิ ตามสถานทตี่ า่ งๆ การจดั นทิ รรศการ หรอื การรณรงค์ เพื่อแก้ปัญหาภายในชุมชน เป็นต้น 7. ชุมชนสรุปบทเรียนการเรียนรู้การพัฒนาและผลกระทบที่เกิดข้ึนกับสมาชิก กลุ่มและของกลุ่ม 7.1 การประเมินผลการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของสมาชิกกลุ่มเป็นช่วงๆ เพื่อทราบว่าสมาชิกของกลุ่มมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีพัฒนาการมากน้อยเพียงใด และ มีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างไร และเกิดผลกระทบอะไรบ้างเกิดขึ้น เพื่อสะท้อนถึง ความสา เรจ็ ของการพฒั นา โดยใชเ้ ครอื่ งมอื การวดั สมรรถภาพ ของรา่ งกาย สภาวะสขุ ภาพของสมาชกิ และการประเมนิ ผล 7.2 การพูดคุยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนของสมาชิกแต่ละบุคคล เช่น สุขภาพ ดีขึ้น โรคภัยไข้เจ็บลดลง 7.3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกอื่นๆ ทั้ง ในชุมชนและนอกชุมชน คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) 93

ขั้นตอนท่ี การประเมินความสาเร็จของการดาเนินงาน ลด เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การประเมินความสาเร็จของการดาเนินงานลด เลิกการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ของชุมชน จะต้องกาหนดแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัดและเกณฑ์การปฏิบัติตาม ตัวชี้วัด รวมถึงพัฒนาเครื่องมือ การประเมินผล ทั้งการพัฒนาแผนงานโครงการ เพื่อหา ส่วนขาดและประเมินความเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ/พฤติกรรมการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอลใ์ นกลมุ่ วยั ทา งาน เพอื่ เปรยี บเทยี บและปรบั ปรงุ การทา งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นี้ 1. สมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีการประเมินตนเองและแผนงานโครงการ เพ่ือดูผล การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ตนเองในเรอื่ งพฤตกิ รรม และผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ โดยใชข้ อ้ มลู จากสมุดบันทึกพฤติกรรม 3อ.2ส. และภาวะสุขภาพหลังดาเนินกิจกรรม 2. สมาชกิ กลมุ่ ประเมนิ ภาพรวมของการเปลยี่ นแปลงของตนเองและภาวะสขุ ภาพ ในชมุ ชน โดยใชข้ อ้ มลู จากการประเมนิ ตนเอง และการประเมนิ ของเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ เรื่องพฤติกรรมและภาวะสุขภาพ 3. สมาชิกต้องประเมินกลุ่มว่ามีความเข้มแข็งมากน้อยเพียงใด อย่างไร และนา ผลการประเมินนาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนาพฤติกรรมการด่ืมสุราของตนเอง 4. ชุมชนต้องประเมินว่าชุมชนได้เรียนรู้และรับผลกระทบอย่างไรต่อการทา กิจกรรมของกลุ่ม 5. ประเมินผลแผนงานหรือโครงการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซงึ่ ประกอบดว้ ย สง่ิ ทจี่ ะประเมนิ ตวั ชวี้ ดั และเกณฑ์ เครอื่ งมอื พื้นที่ ประชากรที่ประเมิน และผู้ทาการประเมิน เพอ่ื ใหก้ ารดา เนนิ งานบรรลตุ ามพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบ และปรับปรุงการทางานให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นต่อไป 94 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

1 4. แนวทางการวัดและประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลด และเลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ประเด็น กาหนด กลุ่มเป้าหมาย กาหนดสิ่งท่ีจะวัด (เพ่ือตอบ วัตถุประสงค์โครงการ) เคร่ืองมือที่ใช้ ในการประเมิน 4 วิธีการเก็บข้อมูล 5 ระยะเวลาในการเก็บ การวิเคราะห์ข้อมูล รายละเอียดของการดาเนินงาน กลุ่มเป้าหมายในการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องเป็น สมาชิกกลุ่มที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม “ลดและเลิกการดื่ม สุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์” พฤติกรรมลด เลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของบุคคล หรือสมาชิกกลุ่ม 2 3 แบบประเมินพฤติกรรมการลดและเลิกการด่ืมสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ แกนนากลุ่มจะทาหน้าที่สัมภาษณ์เก็บข้อมูลจาก สมาชิกกลุ่ม ตามแบบประเมินพฤติกรรมการลดและ เลิกการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ รวบรวมสง่ ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ของโรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพตา บล เพอื่ ทา การวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผล ภายหลังการดาเนินงานทุกกิจกรรมเสร็จส้ิน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลจะทาหน้าที่ในการวิเคราะห์ สรุปผล พฤติกรรมการลดและเลิกการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่ มีแอลกอฮอล์ และนาเสนอข้อมูลต่อกลุ่มและชุมชน 6 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 95 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ผทู้ ร่ี บั ผดิ ชอบดา เนนิ งาน ที่เก่ียวข้องกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่ม เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ คือ ผู้ที่มีความรู้ สามารถ วิเคราะห์พฤติกรรม โดยทาหน้าที่เป็นทั้งนักวิเคราะห์ พฤติกรรมสุขภาพ นักวางแผน นักจัดการเรียนรู้ด้าน พฤติกรรม และเป็นนักประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพ และมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนและ ช้ีแนะ ช้ีนา รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจและเสริมพลัง ให้กับกลุ่ม/ชุมชนในการดาเนินงานปรับเปล่ียน พฤติกรรมการดื่มเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน2 5. บทบาทหนา้ ทแี่ ละกจิ กรรมหลกั การดา เนนิ งานปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กร หรือภาคีเครือข่าย ในชุมชน องค์กร/ภาคี บทบาท/หน้าที่ 1. พัฒนาข้อตกลง หรือนโยบาย สาธารณะ ลด/เลิกการดื่ม แอลกอฮอล์ใน ชุมชน กิจกรรม/การดาเนินงาน 1. ร่วมค้นหาปัญหา ร่วมกันแก้ไข ปัญหา ออกแบบกิจกรรมลด/เลิกการ ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน 2. ร่วมเวทีเรียนรู้ข้อมูล การวางแผน การทางานลด/เลิกการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในเวทีประชาคม 1. องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น อบต. 2. แผนพัฒนา สุขภาพตาบล 1. สนับสนุนงบประมาณในการ ดาเนินงาน 3. สนับสนุนการ ทางาน 1. สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ 96 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

องค์กร/ภาคี 2. องค์กร อสม. ชุมชน บทบาท/หน้าที่ กิจกรรม/การดาเนินงาน 1. ค้นหาและใช้ 1. รว่ มศกึ ษาสภาพปญั หาสขุ ภาพและ ข้อมูล/ศึกษาชุมชน ขอ้ มลู การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลใ์ นชมุ ชน 2. ร่วมค้นหา/ทาแผนท่ีกลุ่มเสี่ยง/ ก ล ม่ ุ ด มื ่ แ ต ล่ ะ ก ล ม่ ุ / ผ ด้ ู แู ล / ผ เ้ ู ก ยี ่ ว ข อ้ ง / เครือข่ายเชื่อมโยงการดูแลสุขภาพ ในชุมชน 3. ร่วมแสดงความคิดเห็นพฤติกรรม และการจัดกิจกรรมลด/เลิกการดื่ม เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลใ์ นชมุ ชนหรอื เวที ต่างๆ เช่น เวทีประชาคม เวทีแลก เปล่ียนเรียนรู้ เวทีสรุปบทเรียน 2. ดูแลสุขภาพ 1. รว่ มใหบ้ รกิ ารตรวจรกั ษาและตรวจ คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง 2. เฝ้าระวัง/แนะนา/ให้ความรู้/ ติดตามอาการผิดปกติในประชากร กลมุ่ เสยี่ งการดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ในชุมชนและผู้ดื่มประจา/ครั้งคราว 3. ประสานงาน 1. ประสานความร่วมมือและส่งต่อ 4. ข้อตกลงหรือ นโยบายสาธารณะ ของพื้นที่ 1. ร่วมผลักดันและพัฒนาข้อตกลง หรือนโยบายสาธารณะการลด/เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ผู้ดูแล/ญาติ 1. ดูแลช่วยเหลือ 1. ใหก้ ารดแู ล/ชว่ ยเหลอื /เปน็ กา ลงั ใจ ในการลด/เลกิ การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ให้กับคนในครอบครัว 2. เฝ้าระวัง/ค้นหากลุ่มเสี่ยงรายใหม่ 3. ช่วยเหลือ จนท./อสม. ในการให้ บริการและจัดกิจกรรมในชุมชน 4. รว่ มรบั รปู้ ญั หาและแนวทางในการ แก้ปัญหา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 97 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

องค์กร/ภาคี บทบาท/หน้าที่ กิจกรรม/การดาเนินงาน อาสาสมัคร 1. ค้นหาและใช้ 1. สารวจ ค้นหา คัดกรองผู้ป่วย อื่นๆ/แกนนา ข้อมูล/ศึกษาชุมชน กลุ่มเสี่ยง 2. จดั ทา แผนทผี่ ปู้ ว่ ย กลมุ่ เสยี่ ง ผดู้ แู ล แกนนาเครือข่าย 3. หน่วยงาน สุขภาพ ในพื้นที่ รพ.สต./รพ. 1. ค้นหาและใช้ ข้อมูล/ศึกษาชุมชน 1. ศกึ ษา รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์ เพื่อสะท้อนปัญหาประชาชนท่ีเป็น กลมุ่ เสยี่ ง/กลมุ่ ดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ในชุมชน 2. ค้นหาทุนทางสังคมในเวทีแลก เปลี่ยนเรียนรู้สมาชิกเครือข่ายระดับ พื้นที่ ระดับจังหวัดและเครือข่ายนอก พื้นที่ 3. ค้นหาบุคคลต้นแบบในการดาเนิน กิจกรรมลด/เลิกการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ของสมาชิกเครือข่าย 4. ค้นหาทาแผนที่กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มดื่ม แต่ละกลุ่ม/ผู้ดูแล/ผู้เกี่ยวข้อง/เครือ ข่ายเชื่อมโยงในชุมชน 2. ดูแลสุขภาพ 1. ให้บริการตรวจรักษาและตรวจ คดั กรองประชาชนทเี่ปน็ กลมุ่ ดมื่ ประจา ดื่มเป็นครั้งคราวในชุมชน 2. เฝ้าระวังอาการผิดปกติในผู้ป่วย และประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง 3. พัฒนาระบบการส่งต่อระหว่าง ชุมชนและสถานบริการสุขภาพ 4. จดั ทา คา่ ยลด/เลกิ การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 98 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

องค์กร/ภาคี บทบาท/หน้าที่ 3. ประสานงาน กิจกรรม/การดาเนินงาน 1. ประสานความร่วมมือและส่งต่อ ผปู้ ว่ ยหรอื ประชาชนทเี่ ปน็ กลมุ่ เสยี่ งที่ มีปัญหา 2. สนับสนุนการทางานของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น ยานพาหนะ 4. วิชาการ 1. สนับสนุนวิชาการในการพัฒนา ศกั ยภาพของภาคเี ครอื ขา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในการดูแล และจัดกิจกรรมลด/ เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. เป็นวิทยากร/ผู้สนับสนุนการ พัฒนาศักยภาพชุมชน 3. จัดกิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อ หาแนวทางการป้องกัน/ลด/เลิกการ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน 4. อบรมพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะการ จดั การเกยี่ วกบั ลด/เลกิ การดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ในชุมชนโดยใช้เครื่องมือ ที่กระทรวงสาธารณสุขพัฒนาขึ้น 5. พเี่ ลยี้ งสนบั สนนุ การทางาน 1. เป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษาให้กับ เครือข่าย 2. ติดตามเยี่ยมบ้านและครอบครัว เพอื่ ใหค้ า แนะนา และใหค้ วามรปู้ อ้ งกนั / ลด/เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 6. สนับสนุน ข้อตกลงพื้นที่ 1. ร่วมผลักดันและพัฒนาข้อตกลง หรือนโยบายสาธารณะของพื้นท่ีใน การป้องกัน/ลด/เลิกการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลใ์ นชุมชน คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 99 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

100 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กระบวนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการดื่มเคร่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอลในชุมชน เจŒาหนŒาที่สาธารณสุข 1. ประเมินการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมและภาวะสุขภาพ 2. นําเสนอผลการประเมินตอสมาชิกกลุมและหาขอสรุปพฤติกรรมใหมๆ 3. จัดทํารายงานนําเสนอตอชุมชน และสังคม 4. นําผลการประเมินเปนขอมูลในการจัดทําแผนพัฒนา (4) ประเมินความสําเร็จของการดําเนินงาน 1. สมาชิกกลุมมีการประเมินตนเอง เพ่ือดูผลเปลี่ยนแปลง ท่ีเกิดข้ึน 2. สมาชิกกลุมผูไดรับการประเมินจากเจาหนาที่ เรื่องพฤติกรรมการดื่มสุราหรือเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล และสภาวะสุขภาพ เจŒาหนŒาที่สาธารณสุข 1. ศึกษา รวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ของกลุมเส่ียงในพ้ืนที่ 2. วิเคราะหพฤติกรรมเสี่ยงและปจจัยกําหนดพฤติกรรม 3. ประเมินความเขมแข็งของกลุม 4. ประเมินการเรียนรูของชุมชน (1) วเคราะหและเขŒาใจป˜ญหา 1. วิเคราะหปญหาโรคและความเจ็บปวย ของประชาชนวัยทํางาน 2. วิเคราะหพฤติกรรมเสี่ยงดานการดื่มสุรา หรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล 3. วิเคราะหบริบทของชุมชนและเง่ือนไข การจัดการปญหาสุขภาพ (2) วางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดื่มสุราหรอเคร่องดื่มที่มี แอลกอฮลอลล 1. ตั้งเปาหมายในการลด เลิก พฤติกรรมด่ืมสุรา 2. กลุมกําหนดเปาหมายและวิธีปฏิบัติรวมกัน 3. กําหนดกฎ กติกา มาตรการสังคมในการลด เลิก พฤติกรรมดื่มสุรา 4. ประเมินผล เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาการ เจŒาหนŒาที่สาธารณสุข 1. นําผลการวิเคราะหรวมวางเปาหมายการพัฒนา 2. เปนพี่เลี้ยง ท่ีปรึกษาทําแผนงานโครงการ 3. รวมชี้แจงสรางการรับรูปญหาสุขภาพและการดําเนินงาน 4. รวมวางแผนปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ 5. ตรวจสอบและประเมินผลชาวบาน (3) ปฏิบัติการในพ้ืนท่ีกับกล‹ุมเป‡าหมาย 1. จัดต้ังทีมดําเนินการ และกําหนดบทบาทชัดเจน 2. ขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนงานโครงการ 3. ประสานงานกับภาคีเครือขายท่ีเกี่ยวของ 4. ส่ือสารสุขภาพในชุมชน อยางตอเน่ือง ย่ังยืน 5. ถอดบทเรียนเพื่อการพัฒนา เจŒาหนŒาที่สาธารณสุข 1. จัดการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพผูนํา 2. สรางการมีสวนรวมของชุมชน 3. ประสานงานความรวมมือกับภาคเครือขายที่เกี่ยวของ 4. เสริมพลังและรวมพัฒนาปจจัยแวดลอม 5. สนับสนุน สงเสริมการสื่อสารสุขภาพในชุมชน กล‹ุมชุมชน ขั้นตอนการปรับเปล่ียน พฤติกรรมการด่ืมสุราฯ ประชาชนในชุมชน : มีพฤติกรรมไม‹ดื่มสุราหรอเคร่องดื่มที่มีแอลกอฮอลเพื่อสุขภาพและป‡องกันโรคเร้อรัง สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

เอกสารอ้างอิง 1. กองสุขศึกษากรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข.แนวทางการดาเนินงาน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับตาบล. นนทบุรี: กองสุขศึกษา; 2556. 2. วมิ ลศรี อทุ ยั พฒั นาชพี , สภุ ชั ญา ยศประกอบ, ยศพนธ์ แกน่ จนั ทร.์ การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม สขุ ภาพการดมื่ สรุ าหรอื เครอื่ งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอลส์ า หรบั วยั ทา งาน. นนทบรุ :ี กองสขุ ศกึ ษา; 2558. คูู่่มืือการดําําาเนิินงานบริิการป้้องกัันและบําําาบััดรัักษาผูู้้มีีปััญหาการด่่ืืมเครื่ื่องด่่ืืมแอลกอฮอล์์ 101 สําําาหรัับโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตําําาบล (รพ.สต.)

102 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 103 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชื่อ-สกุล............................................................................ เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง อายุ.......... ปี เลขประจา ตวั ประชาชน.............................ทอี่ ย.ู่ ......................................โทรศพั ท.์ ........................ วันที่ประเมิน.........................ผู้ประเมิน....................... หน่วยงาน.............................................. คาชี้แจง คา ถามแตล่ ะขอ้ จะถามถงึ ประสบการณก์ ารดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นชว่ ง 3 เดอื น ท่ีผ่านมา โดยเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง สุรา เบียร์ เหล้า สาโท กระแช่ ไวน์ เป็นต้น ขอให้ตอบตามความเป็นจริงเพ่ือประโยชน์ในการให้บริการสุขภาพ ข้อคําถําม คําตอบ (คะแนน) คะแนน ข้อ 1. ตลอดชีวิตที่ผ่านมา คณุ เคยดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ หรือไม่ (หรือเคยดื่มแต่หยุดดื่ม มาแล้ว 1 ปีขึ้นไป) ไม่เคย (ยุติกําร ประเมิน) เคย ข้อ 2. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บ่อยเพียงไร ไม่เคย (0) (ข้ํามไปที่ ข้อ 6) ครั้งสองครั้ง (2) ทุกเดือน (3) ทุกสัปดาห์ (4) เกือบทุกวัน (6) ข้อ 3. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณเคย รู้สึกอยํากดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์อย่างมาก บ่อย เพียงไร ไม่เคย (0) ครั้งสองครั้ง (3) ทุกเดือน (4) ทุกสัปดาห์ (5) เกือบทุกวัน (6) ข้อ 4. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทาให้คุณเกิดปัญหําสุขภาพ ครอบครัว สังคม กฎหมาย หรือการเงิน บ่อยเพียงไร ไม่เคย (0) ครั้งสองครั้ง (4) ทุกเดือน (5) ทุกสัปดาห์ (6) เกือบทุกวัน (7) 104 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ข้อคําถําม คําตอบ (คะแนน) คะแนน ข้อ 5. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณ ไม่สํามํารถทํากิจกรรมที่ คุณควรจะทําได้ตํามปกติ เนื่องจากคุณดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ บ่อยเพียงไร ไม่เคย (0) ครั้งสองครั้ง (5) ทุกเดือน (6) ทุกสัปดาห์ (7) เกือบทุกวัน (8) ข้อ 6. ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เพื่อนฝูง ญาติ หรือคนอื่น เคยแสดงควํามกังวลหรือ ตักเตือนคุณเกี่ยวกับการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคุณ หรือไม่ ไม่เคย (0) เคย, ในช่วง 3 เดือน ที่ผ่านมา (6) เคย, ก่อน 3 เดือน ที่ผ่านมา (3) ข้อ 7. ตลอดชีวิตที่ผ่านมา คุณ เคยพยํายํามหยุดหรือลด กํารดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้ น้อยลง แต่ทาไม่สาเร็จ หรือไม่ ไม่เคย (0) เคย, ในช่วง 3 เดือน ที่ผ่านมา (6) เคย, ก่อน 3 เดือน ที่ผ่านมา (3) คะแนนรวม คําตอบ “ในช่วง 3 เดือนท่ีผ่ํานมํา” • “ไม่เคย หมายถึง ไม่เคยเลยในช่วงสามเดือนที่ผ่านมา” • “ครั้งสองครั้ง หมายถึง 1-2 ครั้ง ในช่วงสามเดือนที่ผ่านมา” • “ทุกเดือน หมายถึง เฉลี่ย 1-3 ครั้งต่อเดือน ในช่วงสามเดือนที่ผ่านมา” • “ทุกสัปดาห์ หมายถึง 1-4 คร้ังต่อสัปดาห์ ในช่วงสามเดือนที่ผ่านมา” • “ทุกวันหรือเกือบทุกวัน หมายถึง 5-7 วันต่อสัปดาห์ ในช่วงสามเดือนท่ีผ่านมา” คําตอบ “ตลอดชีวิตที่ผ่ํานมํา” • “ไม่เคยเกิดขึ้นเลยในชีวิต” • “เคยและเกิดขึ้นภายใน 3 เดือนที่ผ่านมา” • “เคย แต่เกิดข้ึนก่อนหน้า 3 เดือนนี้” คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 105 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก การบันทึกข้อมูลการให้บริการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา การบาบัดแบบส้ันและการติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหา การด่ืมสุรา บนั ทกึ ขอ้ มลู ผา่ นระบบรายงาน HDC แฟม้ Special PP โดยมรี หสั การใหบ้ รกิ ารคดั กรอง ปัญหาการดื่มสุราตามแบบประเมินพฤติกรรมการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (ASSIST 7 คาถาม) และการติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ดังน้ี 1B6 กํารประเมินพฤติกรรมกํารดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของผู้มํารับบริกํารสุขภําพ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง สุรา เบียร์ เหล้า สาโท กระแช่ ไวน์ เป็นต้น 1B60 ผู้มํารับบริกํารด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1B600 ผู้มารับบริการไม่เคยด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ตลอดชีวิตท่ีผ่านมา 1B601 ผู้มารับบริการเคยดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ แต่หยุดด่ืมมาแล้ว 1 ปีขึ้นไป 1B602 ผู้มารับบริการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับความเสี่ยงต่า (คะแนน 0-10) 1B603 ผมู้ ารบั บรกิ ารดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นระดบั ความเสยี่ งปานกลาง (คะแนน 11-26) 1B604 ผมู้ ารบั บรกิ ารดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นระดบั ความเสยี่ งสงู (คะแนนตงั้ แต่ 27 ขนึ้ ไป) 1B609 ผู้มารับบริการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ระบุรายละเอียด 1B61 กํารให้คําแนะนํา/ปรึกษําผู้มีพฤติกรรมกํารด่ืมแบบเส่ียง 1B610 การให้คาแนะนา (Brief Advice) 1B611 การให้คาปรึกษาแบบส้ัน (Brief Counseling) 1B612 การส่งต่อเพื่อรับการประเมินและการบาบัดโดยผู้เชี่ยวชาญ (Refer) 1B62 – 1B65 กํารตดิ ตํามพฤตกิ รรมกํารดมื่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลข์ องผมู้ ปี ญั หํากํารดม่ื สรุ ํา ระดับควํามเส่ียงปํานกลํางและระดับควํามเส่ียงสูง 1B62 1B620 1B621 1B622 1B623 กํารติดตํามพฤติกรรมผู้มีปัญหํากํารดื่มสุรํา ระยะเวลํา 1 เดือน การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 1 เดือน ไม่ดื่มเลย การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 1 เดือน ดื่มลดลง การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 1 เดือน ดื่มเท่าเดิม การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 1 เดือน ดื่มมากขึ้น 106 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

1B63 1B630 1B631 1B632 1B633 1B64 1B640 1B641 1B642 1B643 1B65 1B650 1B651 1B652 1B653 กํารติดตํามพฤติกรรมผู้มีปัญหํากํารดื่มสุรํา ระยะเวลํา 3 เดือน การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 3 เดือน ไม่ดื่มเลย การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 3 เดือน ดื่มลดลง การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 3 เดือน ดื่มเท่าเดิม การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 3 เดือน ด่ืมมากขึ้น กํารติดตํามพฤติกรรมผู้มีปัญหํากํารด่ืมสุรํา ระยะเวลํา 6 เดือน การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 6 เดือน ไม่ด่ืมเลย การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 6 เดือน ดื่มลดลง การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 6 เดือน ด่ืมเท่าเดิม การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 6 เดือน ด่ืมมากขึ้น กํารติดตํามพฤติกรรมผู้มีปัญหํากํารด่ืมสุรํา ระยะเวลํา 12 เดือน การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 12 เดือน ไม่ดื่มเลย การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 12 เดือน ดื่มลดลง การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ระยะเวลา 12 เดือน ด่ืมเท่าเดิม การติดตามพฤติกรรมผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ระยะเวลา 12 เดือน ดื่มมากขึ้น คําตอบ ให้เทียบกับพฤติกรรมกํารดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของผู้มีปัญหํากํารดื่มสุรํา กับ กํารมํารับบริกํารคร้ังก่อน “ไม่ดื่มเลย” หมายถึง เลิกดื่ม/ไม่มีการดื่มสุราเลย “ดื่มลดลง” หมายถึง มีการดื่มสุราลดลง/ปริมาณลดลง “ดื่มเท่าเดิม” หมายถึง มีการดื่มสุราเท่าเดิม/ปริมาณเท่าเดิม “ดื่มมากขึ้น” หมายถึง มีการดื่มสุรามากขึ้น/ปริมาณเพิ่มขึ้นกว่าเดิม คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 107 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ไมเคยดื่ม ยุติการประเมิน ขŒอ 4 ขŒอ 1 ขŒอ 2 ขŒอ 5 ไมดื่มเลย 1B640 ด่ืมลดลง 1B641 ด่ืมเทาเดิม 1B642 ดื่มมากข้ึน 1B643 ตลอดชีวิตที่ผานมา คุณ เคยดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล หรือไม หรือคุณเคยดื่มแตหยุด มาแลว 1 ปขึ้นไป เคย ในชวง 3 เดือนท่ีผานมา คุณ ดื่ม เคร่ืองดื่ม แอลกอฮอลบอยเพียงไร เคยดื่ม ในชวง 3 เดือนที่ผานมา คุณไมสามารถทํากิจกรรมท่ีคุณควรจะทําได ตามปกติ เน่ืองจากคุณด่ืมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล บอยเพียงไร คะแนน 11-26 ระดับความเสี่ยง ปานกลาง (Moderate risk) Brief counseling ภาคผนวก 1B600 ในชวง 3 เดือนที่ผานมา การดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลทําใหคุณ เกิดปญหา สุขภาพ ครอบครัว สังคม กฎหมาย หรือการเงิน บอยเพียงไร คะแนน ≥ 27 ระดับความเสี่ยงสูง (High risk) Refer เคยด่ืม แตหยุดมาเเลว 1 ปขึ้นไป ไมเคยดื่ม ตลอดชีวิตที่ผานมา เพื่อนฝูง ญาติ หรือคนอื่น เคยแสดงความกังวลหรือ ตักเตือนคุณ เก่ียวกับการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอลของคุณ หรือไม คะแนน 0-10 ระดับความเสี่ยงต่ํา (Lower risk) Brief advice ยุติการประเมิน 1B610 ติดตาม 1 เดือน 1B601 ขŒอ 7 1B602 ไมดื่มเลย 1B620 ดื่มลดลง 1B621 ด่ืมเทาเดิม 1B622 ด่ืมมากขึ้น 1B623 แผนผัง : การคัดกรองปัญหาการด่ืมสุรา การบาบัดแบบสั้นและการติดตาม พฤติกรรมผู้มีปัญหาการด่ืมสุรา ไมระบุรายละเอียด ในชวง 3 เดือนท่ีผานมา คุณเคยรูสึกอยากดื่ม เครื่องด่ืมแอลกฮอล อยางมาก บอยเพียงไร ติดตาม 12 เดือน 1B609 ไมด่ืมเลย 1B650 ดื่มลดลง 1B651 ด่ืมเทาเดิม 1B652 ด่ืมมากขึ้น 1B653 ขŒอ 3 ขŒอ 6 ไมด่ืมเลย 1B630 ด่ืมลดลง 1B631 ดื่มเทาเดิม 1B632 ดื่มมากขึ้น 1B633 ตลอดชีวิตที่ผานมา คุณ เคยพยายามหยุด หรือลดการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ใหนอยลง แตทําไมสําเร็จหรือไม 1B604 1B612 ติดตาม 6 เดือน 1B603 1B611 ติดตาม 3 เดือน 108 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก แนวทางการรักษาตามระดับความรุนแรงของภาวะขาดสุรา ระดับควํามรุนแรง เวลําที่เกิด หลังดื่มครั้ง สุดท้ําย รูปแบบกํารรักษํา ยําสงบอํากํารขําดสุรํา ระยะ 1 ระดับเล็กน้อย - มือสั่น วิตกกังวลเล็กน้อย หงุดหงิด ปวดมึนศีรษะ เหงื่อออก ใจสั่น ความดันขึ้น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ผะอืดผะอม อาเจียน นอนไม่หลับ สภาพจิตปกติ 6-36 ชั่วโมง ดูแลแบบผู้ป่วยนอก เน้น การประเมินภาวะโรค ทางกายที่พบร่วม และรักษา แบบประคับประคอง ให้การ บาบัดแบบย่อ อาจไม่จาเป็นต้องให้ยาสงบ อาการขาดสุรา Diazepam 5 มก. หรือ lorazepam 1 มก. หรือ chordiazepoxide 10 มก. รับประทานเฉพาะ เวลามีอาการ ระยะ 2 ระดับปํานกลํางถึง รุนแรง - กระวนกระวาย กระสับ กระ ส่ายมากขึ้น ผุดลุกผุดนั่ง มอื สนั่ มาก ตวั สนั่ เหงอื่ ออกมาก ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ชพี จรเตน้ เรว็ >120 ครงั้ /นาที ความดนั โลหติ สงู สภาพจติ ปกติ 24-72 ชั่วโมง ควรดูแลแบบผู้ป่วยใน เน้น การประเมินอาการขาดสุรา และ ภาวะแทรกซ้อน ให้ยา รบั ประทานแบบfixeddose หรอื แบบsymptomtrigger ให้การบาบัด เสริมสร้าง แรงจูงใจ และนัดติดตามผล Diazepam 10 มก. หรือ Lorazepam 2 มก. หรือ chordiazepoxide 25 มก. ทุก 6 ช่ัวโมงใน 2 วันแรกแล้วค่อยๆ ลดลงร้อยละ 20 ต่อวัน ในวันที่ 4-7 จนหยุดยา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 109 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ระดับควํามรุนแรง เวลําที่เกิด หลังดื่มครั้ง สุดท้ําย รูปแบบกํารรักษํา ยําสงบอํากํารขําดสุรํา อํากํารชักจํากกํารขําดสุรํา อํากํารชัก ลักษณะเกร็ง - กระตุกทั่วร่างกาย พร้อม หมดสติพบไดป้ ระมาณ รอ้ ยละ 10 ของผู้ป่วยที่มี อาการขาดสุรา และพบ มากขึ้นในผู้ป่วยที่ดื่มมานาน หลายปี มักมีอาการชัก ครั้งเดียว แต่สามารถเกิด เป็นชุด ชัก 2-3 ครั้งห่างกัน 5 นาที อาการชกั แบบตอ่ เนอื่ ง พบได้น้อยมาก (น้อยกว่า ร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ชักจาก การขาดสุรา) ถ้าพบ ควรต้องหาสาเหตุอื่นด้วย 6-48 ชั่วโมง เน้นการประเมินอาการชักวา่ มสี าเหตจุ ากโรคอนื่ หรอื ไม่ ให้ยากันชักที่สามารถสงบ อาการขาดสรุ าและกนั ชกั ได้ Sodium valproate loading dose strategy 20 มก./กก./วัน แบ่ง 2 ครั้ง ให้ทุก 6-8 ชั่วโมงใน วันแรก ต่อมาวันละ 2 ครั้ง เป็น เวลา 4 วัน หรือ carbamazepine 600-800 มก. ในวันแรก ต่อมาค่อยๆ ลดเหลือ 200 มก. ในวันที่ 5 หรือ oxcarbamazepine 600 มก. ในวันแรก 900 มก. ในวันที่ 2-3 ต่อ มาค่อยๆ ลดจนหยุดยาใน วันที่ 4-5 อํากํารประสําทหลอน จํากกํารขําดสุรํา - ประสาทหลอน โดยผู้ป่วยทราบว่าอาการ ประสาทหลอนนั้นเป็นผล จากสุราและไม่ใช่ความจริง 12-48 ชั่วโมง เน้นการประเมินภาวะโรค ร่วมทางจิตเวช และให้ยา สงบอาการขาดสุรา เสริม ด้วยยารักษาโรคจิต และ ให้การ บาบัดเสริมสร้างแรง จูงใจ และนัดติดตามผล Diazepam และ haloperidol 5-10 มก. ต่อวัน 110 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ระดับควํามรุนแรง เวลําที่เกิด หลังดื่มครั้ง สุดท้ําย รูปแบบกํารรักษํา ยําสงบอํากํารขําดสุรํา ระดับรุนแรงมํากถึง ขั้นเพ้อ คลั่งสั่น (Delirium tremens) - กระสับกระส่ายมาก อยู่ไม่นิ่ง เดินไปมา มือสั่น ตวั สนั่ มาก สบั สน ไมร่ วู้ นั เวลา สถานที่ ไม่มีสมาธิ เหงอื่ ออกมาก ไขส้ งู ชพี จรเรว็ เห็นภาพหลอน หูแว่ว หลงผิด หวาดระแวง กลัว 48-96 ชั่วโมง ต้องดูแลแบบผู้ป่วยใน เน้น การเฝ้าระวังอันตรายที่อาจ เกิดขึ้นจากการเพ้อคลั่ง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ทางกาย ภาวะโรคร่วมอื่นๆ เชน่ ตดิ เชอื้ บาดเจบ็ ทางสมอง ขาดน้าเกลือแร่และวิตามิน ปอดบวม เป็นต้น ให้หลักการดูแล 5 ส คือ สงบ อาการด้วย ยาระดับสูง (front loading regimen) สกัด ทุกข์ทางกาย เสรมิ อาหาร วติ ามนิ เกลอื แร่ สร้ําง บรรยากาศอบอุ่น ปลอดภัย สืบค้น ภาวะแทรกซ้อนอื่น และแก้ไข Diazepam 10-20 มก. หรอื lorazepam2-4มก. IV ทุก 15-20 นาที จนกวา่ จะสงบ สามารถให้ ยาได้ถึง 500 มก. แต่ต้องคงยาระดับสูง ของ diazepam 2 มก. ต่อวันในระยะ 2-3 วันแรก (คดั มาจาก สาวติ รี อษั ณางคก์ รชยั , สวุ รรณา อรณุ พงศไ์ พศาล. ปญั หาและความผดิ ปกตจิ ากการดมื่ สรุ า ความสา คญั และการดแู ลรักษาใน ประเทศไทย. สงขลา: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2557.) คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 111 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

กํารรักษําร่วมอื่นๆ กํารรักษําร่วม ควรให้วิตามิน B1 (thiamine) ในรูปแบบกิน 100-300 mg. ต่อวัน เพื่อป้องกันภาวะสับสนจากการขาด วิตามิน B1 ซึ่งพบได้บ่อยในผู้ที่ติด แอลกอฮอล์ ควรให้สารน้า (IV fluid) ร่วมด้วย เสมอ โดยสามารถให้ยา haloperidol 2.5-5 mg. ฉีดเข้ากล้ามหรือหลอด เลือดดา ทุก 6 ชั่วโมง หากมีอาการ กระสับกระส่ายรุนแรงและมีอาการ สับสนร่วม ควรให้วิตามิน B1 (thiamine) 200-500 mg ทา ใหเ้ จอื จาง และหยดเข้าทางหลอดเลือด ทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 วัน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นวิตามิน B1 ในรูปแบบกิน 100-300 mg. ต่อวัน ข้อควร พิจํารณํา 1. ควรหลีกเลี่ยงการให้ propanolol เนื่องจากจะปิดบังกลุ่มอาการถอน แอลกอฮอล์ 2. กรณีผู้ป่วยสูงอายุ หรือผู้ป่วยที่มีปัญหาการทางานของตับ อาจเลือกให้ lorazepam แทน diazepam 3. ควรตรวจภาวะผิดปกติหรือโรคร่วมที่พบได้บ่อยในผู้ติดแอลกอฮอล์ ได้แก่ ภาวะเลือดจาง (anemia) ภาวะน้าตาลในเลือดต่า (hypoglycemia) ตับอักเสบ (hepatitis) และซักถามประวัติการใช้สารเสพติดอื่นๆ เช่น บุหรี่ กัญชา เฮโรอีน หรือสารกระตุ้นประสาท กลุ่มเมทแอมเฟตามีน เป็นต้น 4. หากมีอาการชักหมดสติ จาเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรค alcohol withdrawal seizure ออกจากโรคทางระบบประสาท (คดั มาจาก พ.อ.พชิ ยั แสงชาญชยั . คา แนะนา การรกั ษาภาวะถอนแอลกอฮอลส์ า หรบั แพทย์ พยาบาล และบคุ ลากรทาสาธารณสขุ . กรงุ เทพมหานคร : ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย : 2563) 112 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก แบบประเมินอาการขาดสุรา Alcohol withdrawal scale (AWS) ชื่อ.................................................................HN.................................วันที่................................. ITEM 1: perspiration (เหงื่อ) ITEM 2: tremor (สั่น) ITEM 3: Anxiety (วิตกกังวล) ITEM 4: Agitation (กระสับกระส่ําย) 0. ไม่มีเหงื่อ 1. ชื้นเฉพาะที่ฝ่ามือ 2. ฝ่ามือชื้นและมีเหงื่อ เฉพาะตามใบหน้า ตามตัว 3. เหงื่อเปียกชื้นไป ทั้งตัว 4. เหงื่อออกอย่างมาก จนเสื้อผ้าเปียก 0. ไม่มีอาการสั่น 1. มีอาการสั่นเฉพาะ เวลายื่นมือไปจับ สิ่งของหรือถือของ 2. มีมือสั่นเล็กน้อย ตลอดเวลา 3. มีมือสั่นอย่างมาก ตลอดเวลา 0. สงบ ไม่มีอาการ วิตกกังวล 1. รู้สึกไม่สบายใจ 2. รู้สึกหวาดหวั่น ตกใจง่าย 3. วิตกกังวล กลัว สงบได้ยาก 4. ไม่สามารถควบคุม อาการวิตกกังวลได้ รวมถึง panic attacts 0. ปกติ ไม่มีอาการ กระสับกระส่าย 1. งุ่นง่าน อยู่ไม่นิ่ง 2. กระวนกระวายไม่ สามารถนอน พักนิ่งๆ ได้ 3. กระสับกระส่าย เปลี่ยนท่าบ่อย เดินไปมา สามารถ นั่งพักหรือนอนพัก ได้ช่วงสั้นๆ 4. กระสับกระส่าย อย่างมาก ไม่ สามารถอยู่นิ่งได้ เลย เดินไปมา ตลอดเวลา คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 113 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ITEM 5: Axilla Temperature ITEM 6: Hallucination ITEM 7: Orientation 0. อุณหภูมิ 37 ๐c หรือน้อยกว่า 1. อุณหภูมิ 37.1 ๐c ถึง 37.5 ๐c 2. อุณหภูมิ 37.6 ๐c ถึง 38.0 ๐c 3. อุณหภูมิ 38.1 ๐c ถึง 38.5 ๐c 4. อุณหภูมิ 38.6 ๐c หรือ มากกว่า 0. ไม่มีประสาท หลอนเลย 1. มีอาการเห็นสิ่งของ รอบข้างบิดเบือนไป เป็นพักๆ ยังรู้ตัวว่า ไม่ได้เกิดขึ้นจริง 2. มีประสาทหลอน ชัดเจนเกิดขึ้น เฉพาะของบางสิ่ง หรือบางเหตุการณ์ และเกดิ ขนึ้ ชว่ งสนั้ ๆ ยังคงรับรู้ความเป็น จริงอยู่ 3. มีประสาทหลอน ชัดเจนเหมือนข้อ 2 แต่ไม่เชื่อว่าไม่ใช่ เรื่องจริง ยากที่จะ ให้ยอมรับได้ว่าเป็น ประสาทหลอนนั้น รู้สึกทุกข์ทรมาน กับอาการ ประสาทหลอนนั้น และยังรับรู้ความ เป็นจริงเฉพาะ บางเรื่อง 4. มีประสาทหลอน ชัดเจนในหลาย เรื่อง ไม่สามารถรับรู้ ค ว า ม เ ป น็ จ ร งิ ไ ด ้ ผ ป้ ู ว่ ย เหมือนอยู่ในโลก ของประสาทหลอน 0. รับรู้ บุคคล วัน เวลา สถานที่ได้ดี 1. รับรู้ บุคคลและ สถานที่ได้ดี แต่มี ปัญหาเรื่องวันเวลา 2. รับรู้บุคคลได้ดี แต่ มีปัญหา การรับรู้ สถานที่และวันเวลา เป็นบางครั้ง 3. มีปัญหาการรับรู้ บุคคลบางครั้ง แต่การรับรู้สถานที่ และวันเวลาเสียไป 4. เสียการรับรู้บุคคล สถานที่ วัน เวลา ไม่ทราบว่าตัวเอง อยู่ที่ไหน อยู่กับใคร และไม่รู้วันเวลา รวมคะแนน 114 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ควํามรุนแรง คะแนน กํารให้ยํา Mild 1-4 ไม่จาเป็นต้องใช้ยา Moderate 5-9 ใช้ยาช่วยลดโอกาสเกิดอาการขาดสุราที่รุนแรง Severe 10-14 ต้องได้รับการรักษาด้วยยาและติดตามอาการอย่างใกล้ชิด Very Severe ≥15 ต้องได้รับการรักษาด้วยยาขนาดสูง เพื่อทาให้อาการสงบ อย่างรวดเร็ว คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 115 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

116 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.) ภาคผนวก อํากําร/อํากํารท่ีแสดง เวลํา วันที่ วันที่ วันท่ี ชีพจร (เต็ม 1 นาที) ความดันโลหิต 1. คลื่นไส้ – อาเจียน 2. การสั่น 3. การขับเหงื่อ 4. อาการวิตกกังวล 5. อาการกระวนกระวาย 6. การรับสัมผัสผิดปกติ 7. การรับรู้ทางเสียงผิดปกติ 8. การรับรู้ทางตาผิดปกติ 9. อาการปวดศีรษะ 10.การรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล คะแนนรวม พยาบาลผู้ประเมิน แบบประเมินอาการขาดสุรา Clinical institute Withdrawal Assessment of Alcohol Scale, Revised (CIWA-Ar) ชอื่ .......................................................................อายุ ...............ปี HN................................AN.................................วนั ทร่ี บั ผปู้ ว่ ย....................

1.คลนื่ ไส้อําเจยี นถําม“คณุ รสู้ กึ ผะอดื ผะอม” คลื่นไส้/อําเจียนไหม ? สังเกต..... 0 ไม่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน 1 คลื่นไส้เล็กน้อย ไม่อาเจียน 4 คลื่นไส้เป็นพักๆ อาเจียนแต่ไม่มีอะไร 7 คลื่นไส้อยู่เรื่อยๆ อาเจียนบ่อย 5. อํากํารกระวนกระวําย สังเกต...... 0 พฤติกรรม เคลื่อนไหวปกติ 1 กระวนกระวายกว่าปกติ 4 กระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่ง 7 เดินไป-มาขณะตอบคาถาม ผุดลุกผุดนั่ง/ อยู่กับที่ไม่ได้ 2. กํารสั่น ทดสอบให้เหยียดแขนตรงกํางมือ ออก สังเกต... 0 ไม่มีอาการสั่น 1 ไมเ่ หน็ แตร่ สู้ กึ วา่ ปลายนวิ้ แตล่ ะนวิ้ มอี าการสนั่ 4 สั่นปานกลาง พบว่าสั่นขณะผู้ป่วยเหยียด แขนตรง 7 สั่นรุนแรง เห็นแม้ขณะไม่เหยียดแขน 6. กํารรบั สมั ผสั ผดิ ปกติถําม“คณุ รสู้ กึ คนั ยบุ ยบิ เป็นเหน็บชํา ปวดแสบปวดร้อน/รู้สึกเหมือนมี แมลงมําไต่ หรือไชอยู่ตํามผิวหนังบ้ํางไหม?” 0 ไม่มี 1 คันยุบยิบ เป็นเหน็บชา ปวดแสบปวดร้อน ปวดแปลบๆ เป็นน้อยมาก 2 คันยุบยิบ ปวดแสบปวดร้อน ปวดแปลบๆ 3 คันยุบยิบปานกลาง ปวดแสบปวดร้อน ปวดแปลบๆ 4 คันยุบยิบปานกลาง มีอาการประสาทหลอน ทางสัมผัส 5 มีอาการประสาทหลอนรุนแรง 6 มีอาการประสาทหลอนรุนแรงมาก 7 มีอาการประสาทหลอนรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา 3. กํารขับเหงื่อ สังเกต กํารขับเหงื่อเป็นพักๆ 0 ไม่มีเหงื่อ 1 ไม่ค่อยเห็นว่ามีเหงื่อ แต่ฝ่ามือชื้น 4 เหน็ เหงอื่ ออกเปน็ เมด็ ๆ เหน็ ชดั บรเิ วณหนา้ ผาก 7 เหงื่อออกทั้งตัว 4. วติ กกงั วล ถําม “คณุ รสู้ กึ วติ กกงั วลไหม ? ” สังเกต..... 0 ไม่กังวล ผ่อนคลาย 1 กังวลเล็กน้อย 4 กังวลปานกลาง หรือปิดบังทาให้สงสัยว่าจะ มีความกังวล 7 หวาดกลัวรุนแรง คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 117 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

7. กํารรับรู้ทํางเสียงผิดปกติ ถําม “คุณรู้สึก พะวงกับเสียงรอบๆ ตัวมํากกว่ําเดิมไหม ? เสียงนั้นเป็นเสียงที่ทําให้คุณรู้สึกระคํายหู/ หยําบ เสียงนั้นทําให้คุณกลัวไหม ? เสียงนั้น รบกวนคุณไหม ? สิ่งที่ทําไห้เกิดเสียงนั้น คุณรู้ ว่ํามันไม่มีอยู่จริงใช่ไหม ?” 0 ไม่มี 1 มีเสียงระตายหูเล็กน้อยทาให้เกิดอาการกลัว เล็กน้อยมาก 2 มีเสียงระคายหู ทาให้เกิดอาการกลัวน้อย 3 มีเสียงระคายหู ทาให้เกิดอาการกลัว ปานกลาง 4 มีอาการหูแว่ว 5 มีหูแว่วรุนแรง 6 มีหูแว่วรุนแรงมาก 7 มีอาการหูแว่วรุนแรงตลอดเวลา 9. ปวดศรี ษะ ถําม “มอี ํากํารปวดมนึ ศรี ษะบํา้ ง ไหม ? รู้สึกเหมือนมีอะไรมํารัดรอบศีรษะไหม ? ไม่รวมถึงอํากํารวิงเวียน มึนงง สังเกตตําม ควํามรุนแรงของอํากําร” 0 ไม่มี 1 มีน้อยมาก 2 มีอาการน้อย 3 มีอาการปานกลาง 4 มีอาการรุนแรงปานกลาง 5 มีอาการรุนแรง 6 มีอาการรุนแรงมาก 7 มีอาการรุนแรงที่สุด 10. กํารรบั รเู้ วลํา สถํานที่ ถําม “วนั นวี้ นั อะไร ? ขณะนี้คุณอยู่ที่ไหน ? คุณกําลังคุยกับใคร ?” 0 ตอบได้ถูกต้องตรงคาถาม 1 ตอบได้ไม่แน่นอน เรื่องวัน 2 ตอบผิดพลาดไม่เกิน 2 วัน 3 ตอบวันผิดมากกว่า 2 วัน 4 ตอบผิดทั้งสถานที่ และ/หรือบุคคล รวมคะแนน 8. กํารรับรู้ทํางตําผิดปกติ ถําม “คุณรู้สึกว่ํา แสงไฟที่เห็นจ้ําเกินปกติไหม ? สีเปลี่ยนไปจําก เดิมไหม? ทําให้คุณรู้สึกแสบตําไหม ? คุณเห็น สิ่งที่มันแปลกๆบ้ํางไหม ? สิ่งที่คุณเห็นคุณรู้ว่ํา มันไม่มีจริงใช่ไหม ?” 0 ไม่มี 1 ไวต่อแสงกว่าปกติน้อยมาก 2 ไวต่อแสงกว่าปกติน้อย 3 ไวต่อแสงกว่าปกติปานกลาง 4 มีอาการประสาทหลอนทางตาปานกลาง 5 มีอาการประสาทหลอนทางตารุนแรง 6 มีอาการประสาทหลอนทางตารุนแรงมาก 7 มอี าการประสาทหลอนทางตาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง/ ตลอดเวลา ควํามรุนแรง คะแนน Mild 1-7 Moderate 8-14 Severe 15-19 Very Severe >20 118 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

แบบประเมินอํากํารขําดสุรํา Clinical institute Withdrawal Assessment of Alcohol Scale, Revised (CIWA-Ar) ชื่อ................................................อายุ...................ปี HN.............................AN......................... วันที่ ชีพจร (เต็ม 1 นาที) ความดันโลหิต อัตราการหายใจ 1. คลื่นไส้ – อาเจียน 2. การสั่น 3. การขับเหงื่อ 4. อาการวิตกกังวล 5. อาการกระวนกระวาย 6. การรับสัมผัสผิดปกติ 7. การรับรู้ทางเสียงผิดปกติ 8. การรับรู้ทางตาผิดปกติ 9. อาการปวดศีรษะ 10. การรบั รเู้ วลา สถานที่ บคุ คล คะแนนรวม พยาบาลผู้ประเมิน กํารรักษํา - คะแนน CIWA-Ar = 10 – 18 และ B.P. Systolic มากกว่า 110 mmHg. ให้ Diazepam 5 mg. IV ซ้าได้ทุก 15 นาที และประเมินซ้าทุก 15 นาที - คะแนน CIWA-Ar = 19 – 24 และ B.P. Systolic มากกว่า 110 mmHg. ให้ Diazepam 10 mg. IV ซ้าได้ทุก 15 นาที และประเมินซ้าทุก 15 นาที - คะแนน CIWA-Ar มากกว่า 24 และ B.P. Systolic มากกว่า 110 mmHg. ให้ Diazepam 20 mg. IV ซ้าได้ทุก 15 นาที และประเมินซ้าทุก 15 นาที หมํายเหตุ ในการให้ยา Diazepam ต้องรายงานแพทย์ก่อนและหลังให้ยาทุกครั้ง ในกรณีผู้ป่วยมีอาการแทรกซ้อนทางกาย คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 119 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ภาคผนวก แบบประเมินพฤติกรรม การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในชุมชน คําช้ีแจง แบบสมั ภาษณฉ์ บบั นจ้ี ดั ทา ขนึ้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ประเมนิ พฤตกิ รรมการดมื่ สรุ าหรอื เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ของประชาชนคนไทยกลุ่มวัยทางาน ด้านการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่ มีแอลกอฮอลล์ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้างเสริมสุขภาพให้เหมาะสมในพื้นที่ต่อไป โปรดตอบสัมภาษณ์ทุกข้อ เพื่อความสมบูรณ์ของข้อมูลและขอขอบคุณที่ให้ความ ร่วมมือมา ณ โอกาสนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป คําชี้แจง โปรดทาเคร่ืองหมายลงในหรือเติมข้อความลงในช่องว่างท่ีตรงกับความเป็น จริงของท่าน 1. เพศ แบบสัมภําษณ์ มี 2 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป จานวน 9 ข้อ ตอนที่ 2 : พฤติกรรมการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ จานวน 5 ข้อ ชาย 2. อายุ 15-29 ปี 40-49 ปี 3. ท่านนับถือศาสนาอะไร พุทธ อิสลาม หญิง 30-39 ปี 50-59 ปี คริสต์ อ่ืนๆ ระบุ ................................... 120 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

4. สถานภาพ  โสด  หย่าร้าง 5. ระดับการศึกษาสูงสุด  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาต้น  ปวช./ปวส.  ปริญญาโท อ่ืนๆ ระบุ................................. 6. อาชีพหลัก  รับราชการ พนักงานบริษัทเอกชน/รัฐวิสาหกิจ  รับจ้าง 7. ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว  ขัดสนมีรายได้ไม่เพียงพอ สมรส อื่นๆ ระบุ................................. มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญาตรี ปริญญาเอก นักเรียน/นักศึกษา เกษตรกรรม อื่นๆ ระบุ................................................... พอมี พอกิน แต่ไม่เหลือเก็บ พอมี พอกิน และเหลือเก็บ 8. ท่านมีน้าหนักตัว.............กิโลกรัม (ช่ังน้าหนักมาแล้วไม่เกิน 1 เดือน) ท่านมีส่วนสูง ...............เซนติเมตร ท่านมีรอบเอว ...............เซนติเมตร หรือ ..................นิ้ว 9. ท่านมีโรคประจาตัวหรือไม่ ไม่มี มี ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ เบาหวาน ความดันโลหิต มะเร็ง หัวใจ หลอดเลือด ไขมันสูง อ่ืน......... คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 121 สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)

ตอนท่ี 2 พฤติกรรมกํารด่ืมสุรําหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ คําชี้แจง โปรดทาเครื่องหมายลงในหรือเติมข้อความลงในช่องว่างที่ตรงกับความเป็น จริงของท่าน 1. ใน 1 ปีท่ีผ่านมา ท่านด่ืมสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือไม่  ไม่ด่ืม ด่ืม (ตอบคาถามข้อต่อไป) 2. ใน 1 สัปดาห์ท่ีผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์บ่อยคร้ังเพียงใด ไม่ดื่มใน 1 สัปดาห์ ด่ืม 1-2 วัน ดื่ม 3-4 วัน ด่ืม 5-6 วัน  ด่ืมทุกวัน 3. กรณีที่ดื่ม ท่านด่ืมสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ชนิดใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 122 คู่มือการดําาเนินงานบริการป้องกันและบําาบัดรักษาผู้มีปัญหาการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เหล้า เบียร์ ไวน์ ยาดอง กระแช่/สาโท อื่นๆ (ระบุ)............................................... 4. การดื่มแต่ละครั้งท่านดื่มมากน้อยเพียงใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) เหล้า เบียร์ ไวน์ ยาดอง กระแช่ สาโท อื่นๆ ดื่ม....................แก้ว หรือ........กั๊ก หรือ......แบน หรือ.....กลม (........กี่คน?) ด่ืม....................แก้ว หรือ........กระป๋อง หรือ........ขวดเล็ก หรือ........ขวดใหญ่ ดื่ม....................แก้ว หรือ........แก้วไวน์ ดื่ม....................เป๊ก หรือ........ก๊ัก ดื่ม....................แก้ว หรือ........ไห หรือ........ขวด ด่ืม....................แก้ว หรือ........ขวด ระบุ ................ ดื่ม....................แก้ว 5. ในปัจจุบัน ท่านเคยคิดเลิกดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์บ้างหรือไม่ ไม่เคย เคย สําหรับโรงพยบลส่งเสริมสุขภพตําบล (รพ.สต.)